นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา (ครัง้ ที่ ๔) วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชัน้ ต้น  วิธพี จิ ารณาคดีมโนสาเร่  คดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยาก  การพิจารณาโดยขาดนัด  อนุ ญาโตตุลาการ.

Download Report

Transcript นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา (ครัง้ ที่ ๔) วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชัน้ ต้น  วิธพี จิ ารณาคดีมโนสาเร่  คดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยาก  การพิจารณาโดยขาดนัด  อนุ ญาโตตุลาการ.

นายชยกมล เกษมสันต์ ณ อยุธยา
(ครัง้ ที่ ๔)
วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชัน้ ต้น
 วิธพี จิ ารณาคดีมโนสาเร่
 คดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยาก
 การพิจารณาโดยขาดนัด
 อนุ ญาโตตุลาการ
วิธพี จิ ารณาคดีมโนสาเร่
ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๘๙
“คดีมโนสาเร่ คือ
(๑) คดีทม่ี คี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ไม่เกินสามแสน
บาทหรือไม่เกินจานวนทีก่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา
(๒) คดีฟ้องขับไล่บุคคลใดๆออกจากอสังหาริมทรัพย์ อันมีคา่ เช่าหรืออาจให้เช่า
ได้ในขณะทีย่ น่ื คาฟ้องไม่เกินเดือนละสามหมืน่ บาทหรือไม่เกินจานวนทีก่ าหนดในพระ
ราชกฤษฎีกา”
.
จากบทบัญญัตดิ งั กล่าวจะเห็นได้วา่ คดีมโนสาเร่นนั ้ เป็ นกรณีท่เี กิดขึน้ โดย
ลักษณะของประเภทคดีตามทีก่ ฎหมายกาหนดไว้ โดยแบ่งเป็ นสองประเภท คือ
(๑) คดีทม่ี คี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ อัน
หมายถึง คดีทม่ี คี าขอบังคับรียกร้องเอาเงินหรือทรัพย์สนิ มาเป็ นของโจทก์ ซึง่ ถือว่ามี
ทุนทรัพย์ทพ่ี พิ าทกันไม่เกินสามแสนบาท
กรณีน้ีหมายถึงว่าคดีนนั ้ จะต้องไม่มคี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั ไม่อาจ
คานวณเป็ นราคาเงินได้ หรือมีคาขอลักษณะคดีไม่มที ุนทรัพย์รวมอยูด่ ้วย
ส่วนทีบ่ ญ
ั ญัตวิ า่ หรือไม่เกินจานวนทีก่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา เพือ่
ความสะดวกในภายหน้าให้สามารถเปลีย่ นแปลงได้โดยไม่จาต้องแก้ไข ป.ว.พ.
(๒) คดีฟ้องขับไล่บุคคลใดๆออกจากอสังหาริมทรัพย์ อันมีคา่ เช่าหรืออาจ
ให้เช่าได้ในขณะทีย่ น่ื คาฟ้องไม่เกินเดือนละสามหมืน่ บาทหรือไม่เกินจานวนทีก่ าหนด
ในพระราชกฤษฎีกา คดีทม่ี คี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั ไม่อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้
หรือคดีไม่มที ุนทรัพย์อย่างอืน่ ย่อมไม่ใช่คดีมโนสาเร่ตามมาตรา ๑๘๙ (๒) นี้
.
การฟ้องขับไล่น้ีมคี วามเห็น ๒ ฝา่ ย ฝา่ ยแรกเห็นว่าต้องเป็ นการฟ้องขับ
ไล่บุคคลออกจากอสังหาริมทรัพย์เท่านัน้ จึงจะเป็ นคดีมโนสาเร่ได้ ทัง้ นี้ การ
ขับไล่บุคคลนัน้ อาจเป็ นการฟ้องขับไล่ผเู้ ช่า ฟ้องขับไล่ผอู้ าศัย หรือฟ้องขับ
ไล่ผลู้ ะเมิดเข้ามาในอสังหาริมทรัพย์กไ็ ด้
แต่อกี ฝา่ ยหนึ่งเห็นว่าการฟ้องขับไล่หมายความรวมถึงการฟ้องขอให้
บังคับตัวบุคคล และการขนย้ายทรัพย์สนิ กับรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างด้วย
(ฎ.๖๒๓/๒๕๐๖,ฎ.๑๗๖๗/๒๕๔๘,ฎ.๘๐๑๙/๒๕๕๑)
ข้อสังเกต
คำว่ำ “ค่ำเช่ำ” หมำยถึง ค่ำเช่ำตำมสัญญำเช่ำในกรณีทฟี ่ ้ องขับไล่ผเู้ ช่ำ
นันเอง
่ หำกข้อเท็จจริงปรำกฏว่ำคูส่ ญ
ั ญำมีกำรจ่ำยเงินกินเปล่ำ หรือเงินช่วย
ค่ำก่อสร้ำงด้วยแล้ว ต้องถือว่ำเงินนี้เป็นส่วนหนึง่ ของค่ำเช่ำทีช่ ำระไว้
ล่วงหน้ำ ดังนัน้ จึงต้องนำมำคำนวณเฉลีย่ กับระยะเวลำกำรเช่ำเพือ่ คิดเป็น
ค่ำเช่ำทีแ่ ท้จริงด้วย (ฎ.๓๘๓๐/๒๕๔๐,ฎ.๑๐๖๑/๒๕๔๙)
.
ส่วนคำว่ำ “อำจค่ำเช่ำ” หมำยถึง กำรประมำณกำรค่ำเช่ำในกรณีฟ้องขับไล่ผอู้ ำศัยหรือผู้
ทีเ่ ข้ำไปในอสังหำริมทรัพย์โดยละเมิด ทัง้ นี้ ต้องประมำณในขณะยืน่ คำฟ้อง หำกโจทก์ระบุ
มำแล้วจำเลยไม่โต้แย้งย่อมถือว่ำเป็นรำคำทีอ่ ำจให้เช่ำได้ แต่ถำ้ จำเลยโต้แย้ง ศำลจะเป็นผูต้ ี
รำคำว่ำอำจให้เช่ำได้เพียงใด โดยพิจำรณำจำกพืน้ ที ่ สภำพ รวมถึงสถำนทีต่ งั ้ ของ
อสังหำริมทรัพย์นนั ้ (ฎ.๗๐๘๘/๒๕๓๗,ฎ.๒๘๙๗/๒๕๓๘)
สาหรับคดีคดีทม่ี คี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั อาจคานวณเป็ นราคาเงินได้ตามมาตรา
๑๘๙ (๑) การคานวณทุนทรัพย์หรือราคาทรัพย์สนิ ทีพ่ พิ าทกันย่อมเป็ นไปตามมาตรา ๑๙๐
(๑) (๒) (๓) อันมีลกั ษณะเดียวกับการคานวณทุนทรัพย์วา่ ต้องห้ามอุทธรณ์หรือฎีกาใน
ข้อเท็จจริงหรือไม่ โดยกาหนดให้พจิ ารณาในขณะยืน่ คาฟ้อง ทัง้ นี้ ให้พิจารณาตามคา
เรียกร้องของโจทก์เป็ นหลัก มิใช่พจิ ารณาจากค่าเสียหาย หรือยอดหนี้ตามสัญญาทีเ่ กิดขึน้
หากมีขอ้ สงสัยหรือข้อโต้แย้งศาลจะเป็ นผูม้ หี น้าทีใ่ นการกะประมาณ กรณีท่มี หี ลายข้อหาให้
คานวณโดยรวมราคาเข้าด้วยกันเป็ นจานวนทุนทรัพย์ เช่น ฟ้องให้ชาระหนี้เงินกูต้ ามสัญญา
หลายฉบับหรือให้รบั ผิดตามเช็คหลายฉบับ (ฎ.๒๗๒๖/๒๕๒๘,คาสังค
่ าร้องศาลฎีกาที่ ๑๐๗๖/
๒๕๑๔ ประชุมใหญ่)
.
คดีฟ้องขอให้เพิกถอนนิตกิ รรมเนื่องจากการฉ้อฉลตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา ๒๓๗ เป็ นกรณีทเ่ี จ้าหนี้ฟ้องขอให้เพิกถอนนิตกิ รรมการโอนทรัพย์สนิ ระหว่าง
ลูกหนี้กบั บุคคลภายนอกจึงเป็ นคดีทม่ี คี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั ไม่อาจคานวณราคาเป็ นเงิน
ได้ (ฎ.๙๑๙/๒๕๐๘ ประชุมใหญ่) แต่การฟ้องขอเพิกถอนนิตกิ รรมระหว่างโจทก์กบั จาเลยเป็ น
คดีทม่ี คี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั อาจคานวณราคาเป็ นเงินได้ อย่างไรก็ตามทุนทรัพย์จะเป็ น
คดีมโนสาเร่หรือไม่เป็ นอีกเรือ่ งหนึ่ง
ฎ.๓๐๕๐/๒๕๕๑ แม้คาขอท้ายฟ้องจะขอให้เพิกถอนนิตกิ รรมคือสัญญากูเ้ งิน และขอ
เรียกเงินคืน ๒๗๕,๙๕๗ บาท อันเป็ นจานวนไม่เกินสามแสนบาทก็ตาม แต่เมือ่ จาเลยให้การ
ต่อสูว้ า่ โจทก์ยงั คงค้างชาระต้นเงินตามสัญญาดังกล่าว ๔๔๕,๕๐๒.๕๐ บาท ดังนี้ การทีโ่ จทก์
ฟ้องขอให้เพิกถอนสัญญาดังกล่าว ผลของคาพิพากษาก็คอื เมือ่ ชนะคดีทาให้โจทก์ไม่ตอ้ ง
ชาระเงินทีค่ า้ ง ๔๔๕,๕๐๒.๕๐ บาท จึงเป็ นคดีทม่ี คี าขอให้ปลดเปลือ้ งทุกข์อนั อาจคานวณ
ราคาเป็ นเงินได้เกินกว่าสามแสนบาท ศาลแขวงไม่มอี านาจพิจารณาพิพากษาตามพระ
ธรรมนูญศาลยุตธิ รรม มาตรา ๑๗ และ ๒๕ วรรคหนึ่ง
.
แต่หากเป็ นกรณีจาเลยหลายคนซึง่ มูลความแห่งคดีมคี วามเกีย่ วข้องกันตาม
มาตรา ๕๙ แล้ว จะคานวณจากทีเ่ รียกร้องเอากับจาเลยคนหนึ่งๆ ว่าเป็ นคดีมโนสาเร่
หรือไม่ นอกจากนี้คดีทม่ี โี จทก์หลายคนซึง่ สามารถแยกสิทธิเรียกร้องแต่ละคนออกจาก
กันได้ การคานวณทุนทรัพย์กพ็ จิ ารณาส่วนของแต่ละคนเช่นกัน (ฎ.๓๖๐๑/๒๕๓๐,
ฎ.๑๘๙๗-๑๘๙๙/๒๕๔๗)
อย่างไรก็ตามหากเป็ นกรณีจาเลยหลายคนถูกฟ้องให้รบั ผิดในฐานะลูกหนี้รว่ มแล้ว
การคานวณราคาทุนทรัพย์ยอ่ มต้องคิดเสมือนเป็ นจาเลยคนเดียวกันโดยนาทุนทรัพย์
ทุกข้อหาเข้าด้วยกัน
ข้อสังเกต
คดีมโนสำเร่ตำมมำตรำ ๑๘๙ (๑) อยูใ่ นอำนำจศำลแขวง แต่คดีมโนสำเร่ตำม
มำตรำ ๑๘๙ (๒) อยูใ่ นอำนำจศำลจังหวัด แต่หำกจำเลยต่อสูค้ ดีในเรือ่ งกรรมสิทธิจ์ งึ
กลำยเป็ นคดีมที ุนทรัพย์ซงึ ่ ถ้ำเกินกว่ำสำมแสนบำทจะกลำยเป็ นคดีมโนสำเร่ตำม
มำตรำ ๑๘๙ (๑) ศำลจังหวัดต้องสังโอนคดี
่
ไปยังศำลแขวงตำมพระธรรมนูญศำล
ยุตธิ รรม
.
ฎ.๑๙๖๕/๒๕๕๐ โจทก์ยน่ื ฟ้องต่อศาลจังหวัดลพบุรขี อให้ขบั ไล่จาเลยออกจากทีด่ นิ พิพาท
จาเลยให้การว่า จาเลยอยูใ่ นทีด่ นิ ดังกล่าวโดยอาศัยสิทธิของผูร้ อ้ งสอด ซึง่ ถือไม่ได้วา่ จาเลยต่อสู้
กรรมสิทธิจึ์ งเป็ นคดีไม่มที ุนทรัพย์ แต่เมือ่ ผูร้ อ้ งสอดยืน่ คาร้องสอดโดยอ้างว่า ทีด่ นิ พิพาทเป็ นของผูร้ อ้ ง
สอดมอบหมายให้จาเลยดูแลทาประโยชน์ตลอดมา ผูร้ อ้ งสอดมีความจาเป็ นทีจ่ ะต้องขอเข้ามาเป็ น
คูค่ วามในคดีตามมาตรา ๕๗ (๑) ขอให้พพิ ากษาห้ามโจทก์เข้าเกีย่ วข้องหรือกระทาการใดๆ ศาล
จังหวัดลพบุรมี คี าสังอนุ
่ ญาต คาร้องสอดถือเสมือนเป็ นคาให้การและฟ้องแย้งโจทก์อยูใ่ นตัว จึงมีผล
เปลีย่ นคดีจากคดีไม่มที ุนทรัพย์เป็ นคดีมที ุนทรัพย์ เมือ่ ทีด่ นิ พิพาทมีราคา ๒๒๕,๐๐๐ บาท จึงอยูใ่ น
อานาจของศาลแขวงลพบุรตี ามพระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม มาตรา ๑๗ ประกอบมาตรา ๒๕ (๔) ศาล
จังหวัดลพบุรจี งึ ไม่มอี านาจพิจารณาพิพากษา ชอบทีจ่ ะมีคาสังโอนคดี
่
ไปยังศาลแขวงลพบุรตี ามพระ
ธรรมนูญศาลยุตธิ รรม มาตรา ๑๖ วรรคสี่
คดีมโนสาเร่ถอื เป็ นคดีทม่ี ที ุนทรัพย์หรือคดีฟ้องขับไล่ทม่ี รี าคาค่าเช่าไม่สงู มากนัก จึงมีวธิ ี
พิจารณาทีค่ อ่ นข้างจะทาให้คดีแล้วเสร็จไปโดยรวดเร็ว มาตรา ๑๙๐ ทวิ จึงบัญญัตใิ ห้ศาลดาเนิน
กระบวนพิจารณาไปตามหมวด ๑ แห่งลักษณะ ๒ ต่างหากจากคดีสามัญ ทัง้ นี้ เรือ่ งใดทีไ่ ม่ได้บญ
ั ญัติ
ไว้กใ็ ห้นาบทบัญญัตอิ น่ื ใน ป.ว.พ. มาใช้โดยอนุ โลมตามมาตรา ๑๙๕
.
ข้อแตกต่างจากคดีสามัญ
- ศาลมีอานาจทีจ่ ะย่นหรือขยายระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ได้ตามมาตรา
๑๙๐ ตรี
- การเสียค่าขึน้ ศาลในศาลชัน้ ต้น มาตรา ๑๙๐ จัตวา หากเป็ นคดีมที ุน
ทรัพย์เป็ นไปตามตาราง ๑ ข้อ ๑ (ก) อัตราร้อยละ ๒ แต่ไม่เกินหนึ่งพันบาท
ในศาลชัน้ ต้น ส่วนชัน้ อุทธรณ์หรือฎีกาย่อมเสียตามทุนทรัพย์อย่างปกติ
สาหรับคดีฟ้องขับไล่เป็ นไปตามตาราง ๑ ข้อ ๒ คือ จานวน ๒๐๐ บาท
- การยืน่ คาฟ้องอาจทาเป็ นหนังสือหรือแถลงข้อหาเป็ นวาจาก็ได้ตาม
มาตรา ๑๙๑ ทัง้ นี้ คดีสามัญต้องคาฟ้องต้องทาเป็ นหนังสือเท่านัน้ (มาตรา
๑๗๒) นอกจากนี้คดีมโนสาเร่หากฟ้องเป็ นหนังสือแล้วศาลเห็นว่าไม่ถูกต้อง
หรือขาดสาระสาคัญบางเรือ่ ง ศาลมีอานาจให้โจทก์แก้ไขให้ถกู ต้องหรือ
ชัดเจนได้ ซึง่ ในคดีสามัญศาลไม่อาจกระทาได้ อย่างไรก็ตามศาลยังคงมี
อานาจสังคื
่ นฟ้องให้ไปทามาใหม่ตามมาตรา ๑๘ วรรคสองอยูเ่ ช่นกัน
.
- ฟ้องคดีมโนสาเร่หากมิใช่คดีมโนสาเร่หรือเกิดกรณีทไ่ี ม่ใช่คดีมโนสาเร่ต่อไปต้องดาเนินการตาม
มาตรา ๑๙๒ ดังนี้
ก. ถ้าศาลเห็นว่าไม่ใช่คดีมโนสาเร่และศาลนัน้ ไม่มอี านาจพิจารณาพิพากษาต้องสังไม่
่ รบั ฟ้อง
หรือคืนคาฟ้องให้โจทก์นาไปยืน่ ต่อศาลทีม่ เี ขตอานาจตามมาตรา ๑๘ วรรคสาม
ข. ถ้าศาลเห็นว่าไม่ใช่คดีมโนสาเร่และศาลนัน้ มีอานาจพิจารณาพิพากษาอย่างคดีสามัญ ก็ให้
ศาลมีคาสังให้
่ โจทก์ยน่ื คาฟ้องอย่างคดีสามัญและดาเนินคดีอย่างคดีสามัญต่อไปตามมาตรา ๑๙๒วรรค
หนึ่ง
ค. ถ้าศาลเห็นว่าคดีนนั ้ ไม่เป็ นคดีมโนสาเร่ต่อไป เนื่องจากมีคาฟ้องเพิม่ เติมต้องดาเนินการตาม
มาตรา ๑๙๒ วรรคสองและวรรคสาม เช่น คดีมโนสาเร่ทศ่ี าลแขวงรับฟ้องไว้เดิม หากโจทก์ขอแก้ไข
เพิม่ เติมฟ้องโดยเพิม่ ทุนทรัพย์จนเกินสามแสนบาทหรือเพิม่ ข้อหาอันไม่มที ุนทรัพย์ ศาลแขวงอาจมี
คาสังไม่
่ อนุ ญาตให้แก้ไขเพิม่ เติมฟ้องก็ได้ หรืออาจมีคาสังอนุ
่ ญาตโดยสังให้
่ คนื ฟ้องเพือ่ ให้โจทก์ไปยืน่
ต่อศาลจังหวัดทีม่ เี ขตอานาจก็ได้ ในทางกลับกันหากเดิมเป็ นคดีมโนสาเร่ตามมาตรา ๑๘๙ (๒) ทีศ่ าล
จังหวัดรับฟ้องไว้เดิม หากมีการแก้ไขคาฟ้องเพิม่ คาขอเรียกทุนทรัพย์เกินกว่าสามแสนบาทอันยังคงอยู่
ในอานาจของศาลจังหวัดเช่นเดิม ศาลจังหวัดย่อมสามารถมีคาสังอนุ
่ ญาตแล้วดาเนินคดีอย่างคดีสามัญ
ต่อไปได้
.
ง. กรณีมฟี ้ องแย้งในคดีมโนสาเร่และฟ้องแย้งนัน้ ไม่ใช่คดีมโนสาเร่ หรือกรณี
ศาลมีคาสังให้
่ พจิ ารณาคดีสามัญรวมกับคดีมโนสาเร่ ศาลต้องดาเนินการต่อไป
อย่างคดีสามัญ อย่างไรก็ตามศาลอาจให้นาบทบัญญัตคิ ดีมโนสาเร่ไปใช้กไ็ ด้ตาม
มาตรา ๑๙๒ วรรคสี่
ข้อสังเกต
หำกศำลเดิมทีร่ บั คดีมโนสำเร่ไว้เป็ นศำลแขวง ศำลเดิมจะสังรั
่ บฟ้องแย้ง
ไม่ได้เพรำะเกินอำนำจศำลแขวง
ฎ.๒๔๘๓/๒๕๑๖ โจทก์ฟ้องจำเลยต่อศำลแขวง จำเลยฟ้องแย้งเรียกเงินจำก
โจทก์ ๓,๘๕๐ บำท จำนวนทุนทรัพย์ตำมฟ้องแย้งนัน้ ไม่อยูใ่ นอำนำจศำลแขวงที ่
จะรับไว้พจิ ำรณำพิพำกษำได้ตำมพระธรรมนูญศำลยุตธิ รรม มำตรำ ๑๕,๒๒ (๔)
จำเลยจึงฟ้องแย้งมำในคำให้กำรตำมประมวลกฎหมำยวิธพี จิ ำรณำควำมแพ่ง
มำตรำ ๑๗๗ ไม่ได้
.
- การกาหนดวันนัดพิจารณาโดยรวดเร็ว และออกหมายเรียกไปยังจาเลย รวมถึงสังให้
่
โจทก์มาศาลด้วย ในวันนัดศาลต้องดาเนินกระบวนพิจารณาทัง้ การไกล่เกลีย่ สอบถาม
คาให้การ และสืบพยานตามมาตรา ๑๙๓ วรรคหนึ่ง
- การไกล่เกลีย่ นัน้ เป็ นไปตามมาตรา ๑๙๓ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๒๐ และ ๒๐ ทวิ
หากตกลงกันไม่ได้กต็ อ้ งให้จาเลยให้การวันนัน้ โดยจาเลยจะให้การเป็ นหนังสือหรือให้การด้วย
วาจาก็ได้ตามมาตรา ๑๙๓ วรรคสาม ในขณะทีค่ ดีสามัญคาให้การต้องทาเป็ นหนังสือตาม
มาตรา ๑๗๗ นอกจากนี้คาให้การเป็ นหนังสือในคดีมโนสาเร่ศาลมีอานาจสังให้
่ แก้ไขให้ชดั เจน
ได้เช่นกัน
- การสืบพยานเป็ นไปโดยรวดเร็วตามมาตรา ๑๙๓ ตรี ศาลมีอานาจเรียกพยานหลักฐาน
มาสืบได้เองตามทีเ่ ห็นสมควร โดยศาลจะเป็ นผูซ้ กั ถามพยานก่อนและมีอานาจถามข้อเท็จจริง
แม้ไม่มคี คู่ วามยกขึน้ อ้าง การบันทึกคาเบิกความสามารถกระทาโดยย่อได้ตามมาตรา ๑๙๓
จัตวา
.
- ต้องนังพิ
่ จารณาคดีตดิ ต่อกันไป หากมีเหตุจาเป็ นต้องเลื่อนคดีจะเลื่อนครัง้
ละไม่เกินเจ็ดวันตามมาตรา ๑๙๓ เบญจ
- ผลของการไม่มาศาลในวันนัดพิจารณา
๑. โจทก์ไม่มาตามวันนัดตามมาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรคหนึ่งถือว่าโจทก์ไม่
ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ให้ศาลมีคาสังจ
่ าหน่ายคดี ซึง่ ต่างจากคดีสามัญตาม
มาตรา ๒๐๒ จาเลยจึงไม่มสี ทิ ธิขอให้ศาลดาเนินการพิจารณาไปฝา่ ยเดียวได้
และศาลจะต้องจาหน่ายคดีไปโดยไม่จาต้องฟงั ว่าจาเลยประสงค์จะดาเนินคดี
ต่อไปหรือไม่ (ฎ.๕๐๙๘/๒๕๕๐,ฎ.๕๒๐๔/๒๕๔๗)
.
ฎ.๑๕๗๘/๒๕๔๗ การทีโ่ จทก์ไม่มาศาลในวันนัดพิจารณาอันถือว่าโจทก์ไม่
ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ศาลชัน้ ต้นต้องมีคาสังจ
่ าหน่ายคดีออกเสียจากสารบบ
ความตามมาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรคหนึ่งนัน้ ไม่มกี ฎหมายบัญญัตใิ ห้โจทก์มคี าขอให้
พิจารณาคดีใหม่ได้
ฎ.๕๒๐๔/๒๕๔๗ คดีสบื เนื่องมาจากโจทก์ฟ้องขอให้บงั คับจาเลยทัง้ สอง
ร่วมกันใช้เงินตามเช็คจานวน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมดอกเบีย้ แม้เป็ นคดีแพ่ง
สามัญ แต่เมือ่ ศาลชัน้ ต้นเห็นว่า คดีโจทก์เป็ นคดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยาก และสังให้
่ นา
บทบัญญัตวิ า่ ด้วยวิธพี จิ ารณาคดีมโนสาเร่มาใช้บงั คับแก่คดีแล้ว เมือ่ โจทก์ไม่มา
ศาลในวันนัดพิจารณา โดยมิได้รอ้ งขอเลือ่ นคดีหรือแจ้งเหตุขดั ข้องทีไ่ ม่มาศาล ซึง่
ตามบทบัญญัตวิ า่ ด้วยวิธพี จิ ารณาคดีมโนสาเร่มไิ ด้บญ
ั ญัตใิ ห้ถอื ว่าโจทก์ขาดนัด
พิจารณา จึงไม่อาจมีการพิจารณาและชีข้ าดตัดสินคดีฝา่ ยเดียวดังกรณีโจทก์ขาด
นัดพิจารณาในคดีแพ่งสามัญได้ จึงถือว่าโจทก์ไม่ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป ศาล
ชัน้ ต้นชอบทีจ่ ะมีคาสังจ
่ าหน่ายคดีโจทก์เสียจากสารบบความตามมาตรา ๑๙๖
วรรคสอง
.
ข้อสังเกต
หากโจทก์ไม่มาศาลในวันนัดพิจารณา ศาลต้องสังจ
่ าหน่ายคดี ด้วยเหตุโจทก์ไม่ประสงค์
จะดาเนินคดีต่อไป โดยไม่จาต้องพิจารณาว่าจาเลยมาศาลหรือไม่
๒. จาเลยไม่มาศาลตามกาหนดนัด
- หากได้รบั หมายเรียกให้มาศาลตามมาตรา ๑๙๓ แล้วไม่มาให้การโดยไม่ได้รบั อนุ ญาต
ให้เลื่อนคดี ถือว่าจาเลยขาดนัดยืน่ คาให้การ ให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสังโดยน
่
ามาตรา
๑๙๘ ทวิ มาใช้โดยอนุโลม
นอกจากนี้แม้จาเลยมาศาลแต่ไม่ยอมให้การ ศาลอาจถือว่าจาเลยขาดนัดยืน่ คาให้การได้
ตามมาตรา ๑๙๓ วรรคสี่ ทัง้ นี้ โจทก์ไม่จาต้องขอชนะคดีโดยจาเลยขาดนัดภายใน ๑๕ วันตาม
มาตรา ๑๙๘ วรรคหนึ่งแต่อย่างใด (ฎ.๗๘๗๗/๒๕๔๖)
.
ฎ.๖๓๖/๒๕๔๗ ในวันนัดพิจารณา ศาลได้สอบถามจาเลยทัง้ สองและจาเลยทัง้
สองก็ได้แถลงข้อเท็จจริงต่างๆต่อศาล การแถลงข้อเท็จจริงดังกล่าวของจาเลยที่ ๒ ถือ
ได้วา่ เป็ นคาให้การด้วยวาจา แม้ศาลจะมีคาสังว่
่ าหากจาเลยประสงค์จะยื่นคาให้การให้
ยืน่ คาให้การภายใน ๑๕ วัน ก็ตาม ก็เพียงแต่ให้จาเลยที่ ๒ มีโอกาสยืน่ คาให้การเป็ น
หนังสือเพิม่ เติมจากทีไ่ ด้ให้การด้วยวาจาเท่านัน้ และแม้ศาลจะระบุในคาพิพากษาว่า
จาเลยที่ ๒ ไม่ยน่ื คาให้การก็หมายความว่า จาเลยที่ ๒ ไม่ยน่ื คาให้การเป็ นหนังสือตาม
คาสังของศาลเท่
่
านัน้ เมือ่ ศาลดาเนินกระบวนพิจารณาโดยให้จาเลยที่ ๒ นาพยานเข้า
สืบตามประเด็นในคาให้การแล้ว กรณีไม่มเี หตุทจ่ี ะทาให้จาเลยที่ ๒ ยืน่ คาให้การอีก
จากคาพิพากษาฎีกาข้างต้นแสดงว่า จาเลยที่ ๒ ไม่ได้ขาดนัดยืน่ คาให้การตาม
มาตรา ๑๙๓ วรรคสี่ เพราะให้การด้วยวาจาสามารถกระทาได้ เพียงแต่เมือ่ ไม่ย่นื เป็ น
หนังสือตามเวลาทีศ่ าลชัน้ ต้นกาหนดจึงทาให้หมดสิทธิจะยืน่ คาให้การเป็ นหนังสือ
เพิม่ เติมอีก
.
ฎ.๖๘๒/๒๕๕๓ ตามมาตรา ๑๙๓ กรณีจะถือว่าจาเลยขาดนัดยืน่ คาให้การ คือ
กรณีทจ่ี าเลยมาศาลตามวันทีก่ าหนดในหมายเรียกแต่ไม่ยอมให้การ และศาลมีคาสังไม่
่
ยอมให้เลือ่ นเวลาให้จาเลยยืน่ คาให้การและดาเนินกนพิจารณาต่อไป โดยศาลไม่ตอ้ งมี
คาสังว่
่ าจาเลยขาดนัดยืน่ คาให้การ เมือ่ คดีน้ีศาลชัน้ ต้นรับฟ้องเป็ นคดีมโนสาเร่ การที่
ศาลชัน้ ต้นออกหมายเรียกอย่างคดีแพ่งสามัญจึงเป็ นกระบวนพิจารณาทีผ่ ดิ ระเบียบ
และในวันนัดพิจารณาเมือ่ โจทก์และจาเลยทัง้ สองมาพร้อมกันแล้ว การทีศ่ าลชัน้ ต้น
ด่วนมีคาสังว่
่ าจาเลยทัง้ สองขาดนัดยืน่ คาให้การแล้วศาลไกล่เกลีย่ ต่อไป เมือ่ คูค่ วามไม่
อาจตกลงกันได้ ศาลชัน้ ต้นจึงมีคาสังอนุ
่ ญาตให้เลือ่ นคดีไป จึงเป็ นกระบวนพิจารณาที่
ผิดระเบียบเช่นกัน
.
ในวันนัดพิจารณาศาลชัน้ ต้นมีคาสังให้
่ เลื่อนคดีแล้ว ถือได้วา่ เป็ นการ
เลื่อนทัง้ คดี ซึง่ หมายถึงการสอบคาให้การแก้ขอ้ หาและสืบพยานโจทก์ดว้ ย
จะถือว่าจาเลยขาดนัดยืน่ คาให้การไม่ได้ ศาลชัน้ ต้นต้องกาหนดวันนัดให้
จาเลยแก้ขอ้ หาในวันนัดพิจารณาใหม่ดว้ ย (ฎ.๔๑๕๖/๒๕๔๓)
- หากจาเลยได้ยน่ื คาให้การไว้ก่อนหรือในวันนัด แต่ไม่มาในวันนัด
พิจารณาให้ถอื ว่าขาดนัดพิจารณาตามมาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรคสอง
กรณีน้ีจาเลยมีสทิ ธิขอพิจารณาคดีใหม่ได้ตามมาตรา ๒๐๖ วรรคสาม
และวรรคสี่ กับมาตรา ๒๐๗
.
- คดีมโนสาเร่นนั ้ ศาลอาจมีคาสังหรื
่ อพิพากษาด้วยวาจาได้ตามมาตรา ๑๙๔ อย่างไร
ก็ตามก็ตอ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรา ๑๔๑ วรรคท้ายด้วย คือ ถ้าคูค่ วามแจ้งความจานงทีจ่ ะอุทธรณ์
หรือยืน่ อุทธรณ์เข้ามา ศาลชัน้ ต้นควรจะทาคาชีแ้ จงแสดงรายละเอียดข้อสาคัญหรือเหตุผลแห่ง
คาวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดีของคาพิพากษาเพือ่ ให้คคู่ วามได้อา้ งเหตุผลต่อสูใ้ นชัน้ อุทธรณ์ได้
ฎ.๕๒๖๕/๒๕๔๔ คดีน้ ีเนื้อหาของคาพิพากษาศาลชั้นต้นคงมีเพียงคาบังคับให้จาเลย
ชาระเงินแก่โจทก์พร้อมดอกเบี้ยและ ค่าฤชาธรรมเนียมเท่านั้น หาได้กล่าวถึงปั ญหาเรื่ องอายุ
ความอันเป็ นประเด็นแห่งคดีซ่ ึงเป็ นข้อต่อสู้ของจาเลยไม่ แม้ศาลชั้นต้นจะมีอานาจพิพากษาคดีได้
ด้วยวาจาซึ่งไม่จาต้องจดแจ้งรายการแห่งคดีหรื อเหตุผลแห่งคาวินิจฉัยไว้กต็ าม แต่กต็ อ้ งมีคา
วินิจฉัยในประเด็นแห่งคดี ตามมาตรา ๑๔๑ (๕) ด้วย มิฉะนั้นคู่ความย่อมไม่อาจอุทธรณ์ได้โดย
ชัดแจ้งเนื่องจากไม่ทราบว่าศาลชั้นต้นวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดีอย่างไร เมื่อปรากฏเหตุที่ศาล
ชั้นต้นมิได้ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติแห่ง ป.วิ.พ. ว่าด้วยคาพิพากษาและคาสัง่ จึงต้องส่ งสานวนคืนไป
ให้ศาลชั้นต้นพิพากษาคดีใหม่ตามมาตรา ๒๔๓ (๑) ประกอบมาตรา ๒๔๗
.
- คดีมโนสาเร่นนั ้ สามารถนาวิธกี ารชัวคราวก่
่
อนพิพากษาตามมาตรา ๒๕๓
และมาตรา ๒๖๔ มาใช้บงั คับในคดีได้ แต่โจทก์ไม่อาจขอคุม้ ครองชัวคราวตามมาตรา
่
๒๕๔ ได้
- ชัน้ บังคับคดี ศาลไม่จาต้องให้เวลาแก่ลกู หนี้ตามคาพิพากษาเกินกว่าสิบ
ห้าวันในอันทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามคาพิพากษาหรือคาสังตามมาตรา
่
๒๗๓
คดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยาก
คดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยากนัน้ มาตรา ๑๙๖ วรรคหนึ่งแบ่งออกเป็ นสองประเภท คือ
๑. คดีสามัญทีฟ่ ้ องขอให้ชาระเงินแน่นอนตามตั ๋วเงิน ซึง่ การรับรองหรือการชาระเงินตาม
ตั ๋วเงินได้ถกู ปฏิเสธ
๒. คดีสามัญทีฟ่ ้ องขอให้ชาระเงินแน่นอนตามสัญญาเป็ นหนังสือ ซึง่ ปรากฏในเบือ้ งต้น
ว่าเป็ นสัญญาอันแท้จริงมีความสมบูรณ์และบังคับได้ตามกฎหมาย
การเริม่ คดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยากนี้โจทก์จะต้องมีคาขอเป็ นคาร้องพร้อมกับคาฟ้องขอให้พจิ ารณา
คดีรวบรัด หรืออาจเป็ นกรณีทศ่ี าลเห็นเองโดยปรากฏในเบือ้ งต้นก็ได้
เมือ่ เป็ นคดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยากแล้วจะนาบทบัญญัตวิ ธิ พี จิ ารณาคดีมโนสาเร่มาใช้บงั คับเว้นแต่
มาตรา ๑๙๐ จัตวา ซึง่ หมายความว่า โจทก์คงต้องเสียค่าขึน้ ศาลอย่างคดีสามัญทัวไปนั
่ นเอง
่
แต่หากระหว่างการพิจารณาปรากฏว่าคดีมใิ ช่คดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยาก ศาลก็มอี านาจให้ดาเนิน
กระบวนพิจารณาต่อไปอย่างคดีสามัญได้
.
ข้อสังเกต
คำสังศำลที
่
ใ่ ห้พจิ ำรณำอย่ำงคดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยำก หรือให้พจิ ำรณำอย่ำงคดี
สำมัญเป็ นคำสังระหว่
่
ำงพิจำรณำ
ฎ.๙๑๗/๒๕๓๙ คาสังศาลชั
่
น้ ต้นทีว่ า่ คดีทโ่ี จทก์ฟ้องเป็ นคดีไม่มขี อ้ ยุง่ ยาก
ให้ดาเนินอย่างคดีมโนสาเร่เป็ นคาสังระหว่
่
างพิจารณา เมือ่ จาเลยมิได้โต้แย้งไว้ก่อน
ั
ศาลชัน้ ต้นพิพากษา จาเลยจึงไม่มสี ทิ ธิอุทธรณ์ในปญหาข้
อนี้ได้
.
จบการบรรยาย ขอให้สมหวังในการสอบเนติบณ
ั ฑิต