Transcript Slide 1

ความเป็ นมา/พัฒนาการ ของ EU
- 1952 จัดตั้งประชาคมถ่ านหินและเหล็กกล้ าแห่ งยุโรป
(European Coal and Steel Community–ECSC) มีสมาชิก 6
ประเทศ ได้ แก่ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์ แลนด์ เบล
เยีย่ ม และลักเซมเบิร์ก
- 1958 ประเทศยุโรป 6 ประเทศกลุ่มเดิมได้ ก่อตั้งประชาคม
พลังงานปรมาณู (European Atomic Energy Community
Euration) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European
Economic Community / EEC) โดยลงนามทีก่ รุง Rome
The
European Union
The European Union
ความเป็ นมา/พัฒนาการ ของ EU
สหภาพยุโรป
EU
- 1952 จัดตัง้ ประชาคม
ถ่านหินและเหล็กกล้า
แห่งยุโรป (European
Coal and Steel
Community–ECSC)
มีสมาชิก 6 ประเทศ
ได้แก่ ฝรัง่ เศส เยอรมนี
อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบล
เยี่ยม และลักเซมเบิรก์
ความเป็ นมา/พัฒนาการ ของ EU
- 1958 ประเทศยุโรป 6
ประเทศกลุม่ เดิมได้กอ่ ตัง้
ประชาคมพลังงานปรมาณู
(European Atomic Energy
Community : Euration)
และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป
(European Economic
Community / EEC) โดยลง
นามที่กรุง Rome
ความเป็ นมา/พัฒนาการ ของ EU
- 1968 EEC บรรลุเป้ าหมายพัฒนาเป็ นสหภาพศุลกากร (Custom
Union) และก้าวเข้าสูก่ ารเป็ นตลาดร่วม (Common Market)
- 1986 ลงนาม ในกฎหมาย ยุโรปเดียว (Single European Act)
เพือ่ พัฒนา EEC ให้เป็ นตลาดร่วมหรือตลาดเดียวใน 1 มกราคม
1993 และเรียกชื่อใหม่ว่าประชาคมยุโรป (European
Community) หรือ EC เพิม่ เป็ น 12 ประเทศ โดยมี สเปน และ
โปรตุเกส เพิม่ เข้ามา
ความเป็ นมา/พัฒนาการ ของ EU
- 1992 ประชาคมยุโรป(EC)บรรลุเป้ าหมายการรวมกันเป็ นตลาด
เดียว (Single European Market) สนธิสญั ญามาสทริชท์
ประชาคมยุโรป (EC) -------- > สหภาพยุโรป ( EU)
โครงสร้ างอานาจทั้งสี่ ของสหภาพยุโรป
1) สภายุโรป (European Parliament): เสียงจากประชาชน
พรรคประชาชนยุโรป (European’s People Party) และพรรค
ประชาธิปไตยยุโรป (European Democrats) ตามมาด้วยกลุม่
สังคมนิ ยม เสรีนิยม และอนุ รกั ษ์ธรรมชาตินิยม (Greens)
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
สภายุโรป (European Parliament): เสียงจากประชาชน
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
ทาการรัฐสภายุโรปตัง้ อยู่ในสองเมืองคือ
-บรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยียม
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
ทาการรัฐสภายุโรปตัง้ อยูใ่ นสองเมืองคือ
-บรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยียม
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
ทาการรัฐสภายุโรปตัง้ อยู่ในสอง
เมืองคือ
- บรัสเซลส์ (Brussels)
ประเทศเบลเยียม
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
บรัสเซลส์ (Brussels)
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
ที่ทำกำรรัฐสภำยุโรปตัง้ อยู่ในสองเมืองคือ
- สตรำสบูรก์ (Strasbourg) ประเทศฝรังเศส
่
โครงสร้ างอานาจทั้งสี่ ของสหภาพยุโรป
-บรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยียม
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
สตรำสบูรก์
( Strasbourg )
ประเทศฝรังเศส
่
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
บทบาทหน้าที่ - สภายุโรป
- การพิจารณาร่างกฎหมายของสหภาพซึ่งริเริ่มโดยคณะกรรมาธิการ
- การอนุ มตั งิ บประมาณของสหภาพยุโรป
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
บทบาทหน้าที่ - สภายุโรป
- ให้การรับรองความตกลงระหว่างประเทศ (สนธิสญั ญา) ของ
สหภาพยุโรปกับประเทศนอกกลุ่ม (เช่น ข้อตกลงทางการค้า
หรือ การเปิ ดรับสมาชิกใหม่)
- การให้การรับรองผูด้ ารงตาแหน่ ง
ในคณะกรรมาธิการยุโรป
(ทัง้ กรรมาธิการ และประธาน)
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
2) คณะมนตรียโุ รป : เสียงจากรัฐสมาชิก
- รัฐมนตรีหรือผูแ้ ทนรัฐบาลจากทุกประเทศสมาชิก 27 ชาติ
- เป็ นการประชุมในระดับประมุขของประเทศ โดยจะมีการ
ประชุมสุดยอด (summit) สีค่ รัง้ ต่อปี เพื่อกาหนดทิศทาง
นโยบายของสหภาพยุโรป
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
2) คณะมนตรียโุ รป : เสียงจากรัฐสมาชิก
- มีเสียงโหวตแตกต่างกันตามสัดส่วนจานวนประชากร
- การตัดสินใจส่วนใหญ่ใช้แบบเสียงข้างมาก (majority)
- ในขณะที่ประเด็นสาคัญจะใช้ระบบการโหวตแบบเอก
ฉันท์ (unanimity)
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
2) คณะมนตรียโุ รป : เสียงจากรัฐสมาชิก
- คณะมนตรีถอื เป็ นองค์กรหลักในด้านนิ ติบญั ญัติและด้านการ
ตัดสินใจชี้ขาดของสหภาพยุโรป โดยจะประสานงานกับรัฐสภา
ในการพิจารณาร่างกฎหมาย
- เป็ นผูร้ บั ผิดชอบด้านนโยบายต่างประเทศและความมัน่ คง
ร่วมกัน
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
3) คณะกรรมาธิการยุโรป : กลจักรหลักของสหภาพยุโรป
- คณะกรรมาธิการเป็ นตัวแทนและปกป้ องผลประโยชน์ของ
สหภาพยุโรป
- โดยเป็ นอิสระจากรัฐบาลของแต่ละชาติ
- คณะกรรมาธิการประกอบด้วยกรรมาธิการ 27 คน
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
3) คณะกรรมาธิการยุโรป : กลจักรหลักของสหภาพยุโรป
มีสานักงานอยู่ท่กี รุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
3) คณะกรรมาธิการยุโรป : กลจักรหลักของสหภาพยุโรป
- ได้รบั การเลือกจากรัฐบาลของประเทศสมาชิก
- ได้รบั การรับรองจากรัฐสภา
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
3) คณะกรรมาธิการยุโรป : กลจักรหลักของสหภาพยุโรป
หน้าที่หลัก
- การเสนอร่างกฎหมาย และดูแลการบริหารงบประมาณ
ของสหภาพยุโรป
- กรรมาธิการแต่ละคนมีหน้าที่รบั ผิดชอบคนละด้าน
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
4) ศาลยุติธรรมแห่งยุโรป : อานาจตุลาการ
- องค์คณะผูพ้ พิ ากษาประกอบด้วยผูพ้ พิ ากษาจากแต่ละประเทศ
สมาชิกรวม 27 คน
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
ศาลยุติธรรมแห่งยุโรป
มีสานักงานอยู่ท่ี
ประเทศลักเซมเบิรก์
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
4) ศาลยุตธิ รรมแห่งยุโรป (European Court of Justice): อานาจตุลาการ
- การบังคับใช้ และการตีความกฎหมายเพื่อพิจารณาและชี้ขาดว่ากฎหมาย
ของสหภาพยุโรปได้รบั การปรับใช้เหมือนกันในทุกประเทศสมาชิกหรือไม่
โครงสร้างอานาจทัง้ สีข่ องสหภาพยุโรป
4) ศาลยุตธิ รรมแห่งยุโรป : อานาจตุลาการ หน้าที่หน้าที่หลัก
- พลเมืองของสหภาพยุโรปสามารถยื่นเรื่องฟ้ องต่อศาลได้หากสถาบันต่างๆ
ของสหภาพยุโรปมีการดาเนิ นการที่ไม่ถกู ต้อง
สนธิสญั ญา การรวมตัว เป็ นยุโรปเดียว หรือ
ข้อตกลง / สนธิสญั ญามาสทริชท์ (Treaty of Mastricht)
สนธิสญั ญา การรวมตัว เป็ นยุโรปเดียว (Treaty of the European Union) หรือ
ข้อตกลง/สนธิสญั ญามาสทริชท์ (Treaty of Mastricht)
รวมเศรษฐกิจและการเงินของยุโรปเป็ นหนึ่ งเดียว
กาหนดแนวทางการใช้เงินสกุลเดียวภายในปี 1999
จัดตัง้ ธนาคารกลางยุโรป (European Central Bank: ECB)
กาหนดเงือ่ นไขให้ประเทศที่จะ
เข้าร่วมต้องปรับระบบ
เศรษฐกิจของแต่ละประเทศให้
อยู่ในระดับเดียวกัน
สนธิสญั ญา การรวมตัว เป็ นยุโรปเดียว (Treaty of the European Union) หรือ
ข้อตกลง/สนธิสญั ญามาสทริชท์ (Treaty of Mastricht)
เน้น “เสาหลัก” 3 ประการ คือ
1) การรวมตัวด้านเศรษฐกิจ
- ยุโรปตลาดเดียว (Single Market) ให้มี
การเคลื่อนที่ปจั จัย 4 ประการ โดยเสรี (free
movement) คือ (1) บุคคล (2) สินค้า (3) การ
บริการ (4) ทุน
- การมีนโยบายร่วม
- สหภาพเศรษฐกิจและการเงิน (EMU) EU
มีเงินสกุลเดียวคือ เงินยูโร (Euro) และมีธนาคาร
กลางของสหภาพ
สนธิสัญญา การรวมตัว เป็ นยุโรปเดียว (Treaty of the European Union)
หรือ ข้ อตกลง/สนธิสัญญามาสทริชท์ (Treaty of Mastricht)
2) นโยบายร่วมด้าน
การต่างประเทศ และ
ความมัน่ คง (CFSP)
และนโยบายด้านความ
มัน่ คงและการป้ องกัน
ประเทศ (Common
Security and Defense
Policy)
สนธิสญั ญา การรวมตัว เป็ นยุโรปเดียว (Treaty of the European Union) หรือ
ข้อตกลง/สนธิสญั ญามาสทริชท์ (Treaty of Mastricht)
3) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศ และความมัน่ คง และ
นโยบายด้านความมัน่ คงและการป้ องกันประเทศ
สมาชิกสหภาพยุโรป
ประเทศสมาชิก ของสหภาพยุโรป ปัจจุบนั นี้ มีทง้ั หมด 27 ประเทศ
สมาชิกสหภาพยุโรป ( EU Membership )
สมาชิกในอนาคต และประเทศอืน่ ๆ
- โครเอเชียและตุรกี มีกาหนดเข้ าร่ วมใน พ.ศ. 2005 (จนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. 2008 ยังไม่ ได้ เข้ าร่ วม)
- ไอซ์ แลนด์ นอร์ เวย์ และสวิตเซอร์ แลนด์ ไม่ ได้ เป็ นประเทศสมาชิก
แต่ มีข้อตกลงพิเศษกับสหภาพยุโรป
สมาชิกสหภาพยุโรป
สมาชิกสหภาพยุโรป
ปี ที่เข้ าร่ วม
ประเทศ
จานวนสมาชิก
เบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนีตะวันตก อิตาลี ลักเซมเบิร์ก
เนเธอร์ แลนด์ (สมาชิกก่อตั ้ง)
6
1 มกราคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973)
เดนมาร์ ก ไอร์ แลนด์ สหราชอาณาจักร
9
1 มกราคม พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981)
กรี ซ
10
1 มกราคม พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986)
โปรตุเกส สเปน
12
เยอรมนีตะวันออกรวมกับเยอรมนีตะวันตกเป็ นเยอรมนี
12
ออสเตรี ย ฟิ นแลนด์ สวีเดน
15
ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ก เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย
ลิทวั เนีย มอลตา โปแลนด์ สโลวาเกีย สโลวีเนีย
25
1 มกราคม พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007)
บัลแกเรี ย โรมาเนีย
27
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013)
โครเอเชีย
28
25 มีนาคม พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952)
3 ตุลาคม พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990)
1 มกราคม พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995)
1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004)
สมาชิกสหภาพยุโรป
สมาชิกของสหภาพยุโรป
1951
Founding
Members
Belgium
France
Germany
Italy
Luxembourg
Netherlands
สมาชิกของสหภาพยุโรป
1973
Denmark
Ireland
United Kingdom
สมาชิกของสหภาพยุโรป
1981
Greece
สมาชิกของสหภาพยุโรป
1986
Portugal
Spain
สมาชิกของสหภาพยุโรป
1995
Austria
Finland
Sweden
สมาชิกของสหภาพยุโรป
2004
Cyprus
Czech Republic
Estonia
Hungary
Latvia
Lithuania
Malta
Poland
Slovakia
Slovenia
สมาชิกของสหภาพยุโรป
2007
Bulgaria
Romania
สมาชิกของสหภาพยุโรป
Candidate Countries
Croatia
Former Yugoslav
Republic of Macedonia
Turkey
Potential
Candidate Countries
Albania
Bosnia & Herzegovina
Montenegro
Serbia including Kosovo
under UN Security Council
Resolution 1244
การขยายสมาชิกของ EU
สมาชิกสหภาพยุโรป
การขยายสมาชิกเพิม่ 10 ประเทศ
วันที่ 1 พฤษภาคม 2004 การขยายสมาชิกภาพครัง้ ที่ใหญ่รบั
ประเทศสมาชิกใหม่ในคราวเดียวกันถึง 10 ประเทศจากภูมิภาคยุโรป
กลางและยุโรปตะวันออก ได้แก่ ไซปรัส สาธารณรัฐเชก
เอสโทเนี ย ฮังการี แลตเวีย ลิธวั เนี ย มอลต้า โปแลนด์ สโลวา
เกีย และ สโลวีเนี ย
เป็ น 455 ล้านคน มีขนาดพื้นที่เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 34 และมี
GDP เพิม่ ขึ้นจากเดิมร้อยละ 5 เป็ น 9,231 พ้นล้านยูโร
Member States pre-Enlargement
Enlargement - New Members
2004
H
C
E
L
zysa
u
p
e
n
t
cro
g
v
u
h
a
n
i
M
P
sS
rR
iL
a
a
lo
i
ye
a
lp
o
t
tu
a
v
h
a
n
e
bu
kd
a
ln
iin
สมาชิกสหภาพยุโรป
สมาชิกสหภาพยุโรป
EU Membership Distribution in Jan 2004
EU MEMBERSHIP (April 2004)
LARGE
RICH
POOR
UK
SPAIN
FRANCE
ITALY
GERMANY
SMALL
BELGIUM
PORTUGAL
LUXEMBOURG
GREECE
NETHERLANDS
IRELAND
DENMARK
SWEDEN
AUSTRIA
FINLAND
EU Membership in January 2009
EU MEMBERSHIP JANUARY 2009
LARGE
RICH
POOR
UK
SPAIN
FRANCE
POLAND
ITALY
GERMANY
SMALL
BELGIUM
PORTUGAL
LUXEMBOURG
GREECE
NETHERLANDS
ESTONIA
ROMANIA
IRELAND
HUNGARY
BULGARIA
DENMARK
CZECH REPUBLIC
SWEDEN
SLOVAKIA
AUSTRIA
SLOVENIA
FINLAND
CYPRUS
MALTA
LITHUANIA
LATVIA
สมาชิกสหภาพยุโรป
สมาชิกในอนาคต และประเทศอืน่ ๆ
- โครเอเชียและตุรกี มีกาหนดเข้าร่วมใน พ.ศ.
2005 (จนถึงปัจจุบนั พ.ศ. 2009 ยังไม่ได้เข้าร่วม)
- ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ ไม่ได้
เป็ นประเทศสมาชิก แต่มีขอ้ ตกลงพิเศษกับสหภาพ
ยุโรป
Who will be next? Potential
members
The Map of Europe
ระบบสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน
European Economic and Monetary Union (EMU)
ให้ประเทศภายในกลุม่ หันมาใช้ระบบเงินสกุล
เดียวและนโยบายการเงินเดียวกัน เพือ่ กาจัดต้นทุนที่เกิด
จากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และได้รว่ มลง
นามในสนธิสญั ญา Maastricht ในปี 1992 โดยกาหนด
คุณสมบัตขิ องประเทศที่จะเข้าร่วม ขัน้ ตอนและ
ตารางเวลาการเข้าสูร่ ะบบ EMU ไว้อย่างละเอียด
ระบบสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน
European Economic and Monetary Union (EMU)
- สนธิสญั ญา การรวมตัว เป็ นยุโรปเดียว (Treaty of the
European Union) หรือ สนธิสญั ญามาสทริชต์ (Maastricht
Treaty) ในปี 1992
- สมาชิก 12 ประเทศ ได้ให้สตั ยาบัน (รับรอง) สนธิสญั ญา ดังกล่าว
ส่งผลให้ "ประชาคมยุโรป“(EC) --- > "สหภาพยุโรป" (EU) ตัง้ แต่
วันที่ 1 พฤศจิกายน 1993
ระบบสหภาพเศรษฐกิจและการเงิน
European Economic and Monetary Union (EMU)
- การประสาน นโยบาย ทางการเงิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่อง ของ
อัตรา แลกเปลีย่ น เพือ่ สู่ เป้ าหมาย เงินตราสกุลเดียว (Single
Currency) คือ ECU (European Currency Unit) หรือ ชื่อ
ทางการว่า “ เงินสกุลยูโร (Euro) " ในปี 1999
- ธนาคารกลาง ของสหภาพยุโรป (European Central Bank :
ECB) ด้วย ซึ่ง ในปัจจุบนั ตัง้ อยู่ แฟรงก์เฟิ ร์ต ประเทศ เยอรมนี มี
หน้าที่ในการกาหนด นโยบาย ด้านการเงิน ที่สาคัญ
The Single
European Currency
tutor2u™
เงินยูโร (The Euro)
1
มกราคม 2002 เริ่ม
นาธนบัตรและ
เหรียญกษาปณ์ออก
ใช้ในตลาด และ
เงินยูโรมีผลบังคับใช้
ใน 12 ประเทศที่เข้า
ร่วม
เงินยูโร (The Euro)
- เป็ นสกุลเงินที่ประเทศใน
กลุม่ สหภาพยุโรป 16
ประเทศ
- โดยรวมเรียกกันว่า ยูโร
โซน (Eurozone – เขตยูโร)
เงินยูโร ( The Euro )
1 มกราคม 1999 สมาชิก EU
ได้กาหนดอัตราแลกเปลี่ยนตายตัว
ระหว่างสกุลเงินของประเทศ
สมาชิก อันทาให้การกูย้ มื เงิน
ภาครัฐเปลี่ยนไปใช้เงินยูโรแทน
(สาหรับการทา ธุรกรรมต่างๆใน
สหภาพยุโรป)
เงินยูโร ( The Euro )
1 มีนาคม 2002 เป็ นต้นไป เงินยูโรจะเป็ นสกุลเดียวที่ถกู
กฎหมายในประเทศสมาชิก EU ที่เข้าร่วมใน EMU
เงินยูโร (The Euro)
ปัจจุบนั นี้ ประเทศสมาชิก
สหภาพ ยุโรปที่ยงั ไม่ได้เข้าร่วมใช้
เงินสกุลยูโรคือ เดนมาร์ก สวีเดน
สหราชอาณาจักร และประเทศ
สมาชิกใหม่อกี 11 ประเทศ
สมาชิกสหภาพยุโรปที่ใช้สกุลเงินยูโร
ประเทศสมาชิกที่
ใช้สกุลเงินยูโร
ประเทศสมาชิกที่ยงั
ไม่ใช้สกุลเงินยูโร
(ใช้เงินสกุลท้องถิ่น)
ประเทศสมาชิกที่
ใช้สกุลเงินยูโร
ประเทศสมาชิกที่ยงั
ไม่ใช้สกุลเงินยูโร
(ใช้เงินสกุลท้องถิ่น)
เงินยูโร
( EURO )
เงินยูโร ( EURO )
United in Diversity - The €uro
เงินยูโร
( EURO )
เงินสกุลหลักที่สาคัญ
ของโลก
The EU, USA and Japan
500 ล้าน
300 ล้าน
The EU, USA and Japan
Member States
1957
6
Population
174 million
Languages
4
2010
27
500 million
23
1957 ทัง้ 6 ประเทศลงนามในสนธิสญั ญากรุงโรม
ก่อตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป
(The European Economic Community )
EEC/ EC
1992 สนธิสญั ญามาสทริชท์
(The Treaty of Maastricht)
สหภาพยุโรป (European Union)
EU
1992- สนธิสญั ญามาสทริชท์ (The Treaty of Maastricht)
สหภาพยุโรป (European Union)
: EU
สมาชิก 12 ประเทศ ได้ให้สตั ยาบัน (รับรอง)
- สหภาพเศรษฐกิจและการเงิน : EMU
- " ประชาคมยุโรป " เปลี่ยนมาเป็ น "สหภาพยุโรป“ EC --- > EU
เงินสกุล ยูโร
เริ่มใช้ครัง้ แรก(เริ่มใช้ อย่างเป็ นทางการ)ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 1999 วันที่ 1
มกราคม 1999 สาหรับการทา ธุรกรรมต่างๆในสหภาพยุโรป
1 มกราคม 2002 เริ่มนาธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ออกใช้ในตลาด และ เงินยูโรมี
ผลบังคับใช้ใน 12 ประเทศที่เข้าร่วม
วันที่ 31 ธันวาคม 2001 เวลาเที่ยงคืน ถือเป็ นวันสิ้นสุดการใช้เงินเงินสกุลท้องถิ่น
ของประเทศสมาชิก
1 มกราคม 2002 เงินสกุลท้องถิ่นของ 12 ประเทศสมาชิกถูกแทนที่ดว้ ยเงินยูโร
Eurozone
ปัจจุบนั มี สมาชิกใน EU ที่ใช้เงินสกุลยูโรทัง้ หมด 16 ประเทศ
ประเทศสมาชิก EU ที่ยงั ไม่ได้เข้าร่วมใช้เงินสกุลยูโร คือ
เดนมาร์ก สวีเดน สหราชอาณาจักร (ถึงเกณฑ์แต่ยงั ไม่อยากใช้)
และประเทศสมาชิกใหม่อกี 10 ประเทศ (ยังไม่ถงึ เกณฑ์)
ประทศอืน่ ๆ ที่ไม่ได้เป็ นสมาชิก EU ที่ใช้เงินสกุลยูโร เช่น
โมนาโก ซานมารีโน นครรัฐวาติกนั อันดอร์รา