สวัสดิการแรงงาน นางนิสา นพทีปกังวาล ผูอ้ านวยการกองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 1/1 กองสว ัสดิการแรงงาน (กสว.) Labour Welfare Division (LWD) อานาจหน้าที่ 1.

Download Report

Transcript สวัสดิการแรงงาน นางนิสา นพทีปกังวาล ผูอ้ านวยการกองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 1/1 กองสว ัสดิการแรงงาน (กสว.) Labour Welfare Division (LWD) อานาจหน้าที่ 1.

สวัสดิการแรงงาน
นางนิสา นพทีปกังวาล
ผูอ้ านวยการกองสวัสดิการแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
กระทรวงแรงงาน
1/1
กองสว ัสดิการแรงงาน (กสว.)
Labour Welfare Division (LWD)
อานาจหน้าที่
1. ก าห นดและพ ฒ
ั นารู ป แบบการจ ด
ั
สว ัสดิการแรงงาน
่ เสริม สน ับสนุน และดาเนินการให้ม ี
2. สง
การจ ัดสว ัสดิการแรงงาน
ร่างปร ัชญา
ื่ ว่า...เมือ
กสว.เชอ
่ แรงงานได้ร ับสว ัสดิการ
เหมาะสม เพีย งพอ จะเป็ นปั จ จ ย
ั ส าค ญ
ั น าไปสู่
แรงงานสมานฉ น
ั ท์ ม น
่ ั คง และปลอดภ ย
ั รวมท งั้
ครอบคร ัวปกติสข
ุ และธุรกิจยง่ ั ยืน
1/2
ร่างวิสยั ทัศน์
ก ส ว . มุ่ ง มั ่น . . . ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ
สนับสนุ นสวัสดิการแรงงานให้ครอบคลุ ม
ทุ ก กลุ่ ม เป้ าหมายทั้ง ด้า นคุ ณ ภาพชี วิ ต
เศรษฐกิจ และสังคม
1/3
ขอบข่ายงานจาแนกตามระด ับ
สว ัสดิการเพือ
่ ครอบคร ัว
ระด ับก้าวหน้า
นอกเหนือกฎหมาย
สว ัสดิการเพือ
่ แรงงาน
้ ฐาน ตามกฎหมาย
ระด ับพืน
ครม.
พ.ร.บ.คุม
้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541
- หมวด 7 สว ัสดิการ ม.92-ม.99
- หมวด 11 ค่าชดเชย ม.120
มติ ครม. ว ันที่ 20 มิ.ย.2538
้ รงงาน
จ ัดตงกองทุ
ั้
นเพือ
่ ผูใ้ ชแ
1/4
งานทีก่ องสวัสดิการแรงงานดาเนินการ
1. งานคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน
- คณะอนุ กรรมการสอบข้อเท็จจริงเพือ่ ปฏิบตั ิหน้าที่
ตามพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
- คณะอนุ กรรมการกลันกรองงาน
่
2. ศูนย์เด็กเล็กวิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัยในพระ
ราชูปถัมภ์ / โครงการศูนย์เลี้ ยงเด็กเพือ่ ผูใ้ ช้แรงงาน
2
ในสถานประกอบกิจการและชุมชน
3. คณะกรรมการกองทุนเพือ่ ผูใ้ ช้แรงงาน
- คณะอนุ กรรมการพิจารณาเงินกูก้ องทุนเพือ่ ผูใ้ ช้แรงงาน
- คณะอนุ กรรมการส่งเสริมและพัฒนากองทุนเพือ่ ผูใ้ ช้
แรงงาน
4. การดาเนินงานเพือ่ การป้องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดใน
สถานประกอบกิจการ / โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งใน
สถานประกอบกิจการ
- โครงการโรงงานสีขาว / ปรับเจตคติต่อผูเ้ สพและผูต้ ิดยา
- โครงการ TO BE NUMBER ONE
- กิจกรรมสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายในการมีส่วนร่วม
3
- กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด
5. การดาเนินการโครงการป้องกันและบริหารจัดการ
เรือ่ งเอดส์ในสถานประกอบกิจการ
6. การดาเนินการส่งเสริมการจัดตั้งโรงเรียนในโรงงาน
7. โครงการประกวดสถานประกอบกิจการดีเด่นด้าน
สวัสดิการแรงงาน
8. การดาเนินการเสริมสร้างสุขภาพของผูใ้ ช้แรงงาน /
โครงการกีฬาในโรงงาน / โครงการแรงงานแข็งแรง
โรงงานแข็งแรง
4
ภารกิจและขอบเขตของกองสวัสดิการแรงงาน
1. ส่งเสริมและดาเนินการจัดสวัสดิการในและนอกเหนือจาก
ทีก่ ฎหมายกาหนดให้ลูกจ้างภาคอุตสาหกรรม พาณิชกรรม
เกษตรกรรม บริการ
2. พัฒนาและจัดระบบสวัสดิการทั้งในภาคอุตสาหกรรม
พาณิชยกรรม เกษตรกรรม
3. ปฏิบตั ิงานร่วมกับหรือสนับสนุ นการปฏิบตั ิงานของ
หน่วยงานอื่น
5
สวัสดิการแรงงานคืออะไร
ความหมาย “สวัสดิการแรงงาน”
ตามพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน
พ.ศ.2542 สวัสดิการ หมายถึง การให้สิ่งเอื้ ออานวย
ให้ผูท้ างานมีชีวิตและสภาพความเป็ นอยู่ที่ดี
6
สรุปความหมายสวัสดิการแรงงาน
1. สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ทีห่ น่วยงานจัดให้แก่บุคลากร
2. เงินเดือนหรือผลประโยชน์ทีล่ ูกจ้างได้รบั เพิม่ จากค่าตอบแทนหลัก
3. ผลประโยชน์ตอนแทนชนิดใดชนิดหนึง่ ทีพ่ นักงานได้รบั เพิม่ เติม
จากการจ่ ายค่าตอบแทนพื้ นฐาน
4. สิง่ จู งใจทีจ่ ะรักษาลูกจ้างให้ทางานกับองค์กรต่อไป
5. ผลตอบแทนรูปแบบหนึง่ ทีน่ ายจ้างจัดให้ลูกจ้างเพือ่ ความ
สะดวกสบายหรือเพือ่ การกินดีอยู่ดีของลูกจ้าง
7
6. การดูแลความเป็ นอยู่ของลูกจ้าง โดยมุ่งหมาย
เพือ่ ให้ลูกจ้างมีภาวะความเป็ นอยู่ทีด่ ีตามอัตภาพ
7. สวัสดิการแรงงานเป็ นภาวะของการมีสุขภาพดี
หรือเป็ นสภาวะทีน่ ายจ้างจัดให้เพือ่ ความสะดวกสบาย
หรือการกินดีอยู่ดีของลูกจ้าง ถือว่าเป็ นภาวะทาง
ศีลธรรมของธุรกิจอุตสาหกรรมและสหภาพแรงงาน
รวมทั้งเป็ นส่วนหนึง่ ของการบริหารงานบุคคล
8
โดยสรุป
สวัสดิการแรงงาน จึงเป็ น
 บทบาทและหน้ า ที่ ข อง
นายจ้างทีจ่ ดั ให้แก่ลูกจ้าง
 ส่ ว นหนึ่ ง ของสวั ส ดิ ก าร
สัง คมซึ่ ง รั ฐ มี ห น้า ที่ ดู แ ลและจั ด ให้
ประชาชน
9
การส่งเสริมสวัสดิการแรงงาน
การดาเนินการในการให้ความรู ้ ชี้ แจง แนะนา
เกีย่ วกับการจัดสวัสดิการนอกเหนือกฎหมายกาหนด
วัตถุประสงค์
1. ให้ลูกจ้างได้รบั สวัสดิการนอกเหนือกว่ากฎหมาย
กาหนดให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
2. ลดข้อขัดแย้งและข้อพิพาทแรงงาน
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสถานประกอบกิจการ
10
คุณสมบัตขิ องผูท้ จี่ ะทาหน้าทีส่ ่งเสริมการจัดสวัสดิการ
1. มีความรู ้ ความเข้าใจเกีย่ วกับกฎหมายแรงงาน
2. มีความรู ้ ความเข้าใจในความหมาย หลักการ และแนวคิด การ
จัดสวัสดิการแรงงาน
3. มีความรู ้ ความเข้าใจเกีย่ วกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจในสถาน
ประกอบกิจการ
4. มีความเป็ นกลาง
5. มีมนุษยสัมพันธ์และความเป็ นมิตร
6. มีบุคลิกภาพทีด่ ี
11
7. มีประสบการณ์ในการทางาน
8. มีความสามารถในการสือ่ ข้อความ
9. มีศิลปะในการโน้มน้าวจู งใจ
10. มีความอดทน
11. มีความคิดสร้างสรรค์
12. มีความอดกลั้น
12
หลักทัว่ ไปในการกาหนดสวัสดิการแรงงาน
1. หลักความรับผิดชอบทางสังคม
2. หลักประชาธิปไตย / การมีส่วนร่วม
3. หลักความเหมาะสมของค่าจ้าง / ต้นทุน
4. หลักประสิทธิภาพ
5. หลักพัฒนาบุคลิกภาพ
6. หลักความรับผิดชอบร่วมกัน / เสมอภาคยุติธรรม
7. หลักการยอมรับในทุกระดับเจ้าหน้าที่
13
การจัดสวัสดิการของสถานประกอบกิจการ
ต้องคานึงถึง
1. ความต้องการที่แท้จริงของลูกจ้าง จะทาให้การจัด
สวัสดิการเหมาะสมตรงกับความต้องการของลูกจ้าง
2. สถานประกอบกิจการควรเปิ ดโอกาสให้ลูกจ้างเข้ามา
มีส่วนร่ วมในการจัดสวัสดิการได้มากยิ่งขึ้ น อาจเป็ น
ความร่วมมือระหว่างสถานประกอบกิจการและสหภาพ
แรงงาน หรือคณะกรรมการลูกจ้าง หรือคณะกรรมการ
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
14
3. สถานประกอบกิจการทุกแห่งควรร่วมมือกันสารวจ
ข้อมูลสวัสดิการแต่ละประเภท เนือ่ งจากสถานประกอบ
กิจการแต่ละแห่งมีประสบการณ์ดา้ นการบริหารจัดการ
สวัสดิการแรงงานแต่ละด้านแตกต่างกัน น่าจะเป็ น
ประโยชน์แลกเปลีย่ นความรู ้ ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
4. สถานประกอบกิจการต้องวางแผนใช้งบประมาณในการ
จัดสวัสดิการแต่ละประเภท
5. สถานประกอบกิจการควรนารูปแบบของสวัสดิการแบบ
ยืดหยุ่นมาใช้ และทาให้ลูกจ้างได้รบั สวัสดิการตรงกับ
ความต้องการ
15
ความจาเป็ นหรือมูลเหตุจงู ใจให้นายจ้าง
จัดสวัสดิการ
1. เป็ นสิง่ จูงใจให้แก่ลูกจ้าง
2. เป็ นความต้องการหรือความจาเป็ นของนายจ้าง
3. เป็ นผลเนือ่ งมาจากการเจรจาต่อรองกับสหภาพ
แรงงาน
4. กฎหมายบังคับ
16
คณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการมาจากไหน
ความเป็ นมา
รัฐ ให้ก ารส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น
และด าเนิ น การให้มี ก ารจั ด สวัส ดิ ก าร
แรงงาน
17
เพือ่ ลดปั ญหา
 ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
 ความแตกต่างในรูปแบบวิธีการจัด
สวัสดิการตาม
 ลักษณะงาน
 วิธีการทางาน
 ประเภทกิจการ
 ผลเสียต่อสถานประกอบกิจการสภาพและ
เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ
18
พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
ประกาศใช้เมือ่ วันที่ 19 สิงหาคม 2541
จึ งได้กาหนด
หมวด 7 สวัสดิการ
19
มาตรา 92
ให้มีคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน ประกอบด้วย
- ปลัดกระทรวงแรงงาน
เป็ นประธาน
- กรรมการผูแ้ ทนฝ่ ายรัฐบาล
4 คน
- กรรมการผูแ้ ทนฝ่ ายนายจ้าง
5 คน
- กรรมการผูแ้ ทนฝ่ ายลูกจ้าง
5 คน
- ข้าราชการกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานเป็ น
เลขานุ การคณะกรรมการ
โดยรัฐมนตรีแต่งตั้ง
20
มีอานาจหน้าทีต่ ามมาตรา 93
(1) เสนอความเห็ นต่ อรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบาย แนวทาง
และมาตรการด้านสวัสดิการแรงงาน
(2) เสนอความเห็ น ต่ อ รัฐ มนตรี ใ นการออกกฎกระทรวง
ประกาศ หรื อ ระเบีย บเกี่ย วกับ การจัดสวัส ดิ ก ารในสถานประกอบ
กิจการ
(3) ให้คาแนะนาในการจัดสวัสดิการแรงงานสาหรับสถาน
ประกอบกิจการแต่ละประเภท
(4) ติ ดตามประเมินผล และรายงานผลการดาเนินการต่ อ
21
รัฐมนตรี
(5) ออกค าสัง่ ให้ น ายจ้ า งจ่ ายเงิ น
ค่าชดเชยพิเศษหรือค่าชดเชยพิเศษแทนการ
บอกกล่าวล่วงหน้าตามมาตรา 120
( 6 ) ป ฎิ บั ติ ก า ร อื่ น ใ ด ต า ม ที่
พระราชบัญ ญัติ นี้ หรื อ กฎหมายอื่ น บัญ ญัติ
ให้ เ ป็ นอ านาจหน้า ที่ ข องคณะกรรมการ
สวั ส ดิ ก ารแรงงานหรื อ ตามที่ ร ั ฐ มนตรี
22
มอบหมาย
กาหนดให้รฐั มนตรี
มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดให้
- นายจ้างต้องจัดสวัสดิการใน เรื่องใด
- ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนด
(มาตรา 95)
23
กาหนดให้นายจ้างจัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบ
กิจการประกอบด้วย
 สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่หา้ สิบ คนขึ้ นไป
 มาจากผูแ้ ทนฝ่ ายลูกจ้างอย่างน้อยห้าคน
 มาจากการเลือกตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีที่อธิบดีกาหนด
 ประกาศกรมสวัส ดิ ก ารและคุ ้ม ครองแรงงานเรื่ อ ง
หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบ
กิจการ ประกาศวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2545
 ถ้ามีคณะกรรมการลูกจ้างตามกฏหมายแรงงานสัมพันธ์
ให้ท าหน้า ที่ ค ณะกรรมการสวัส ดิ ก ารในสถานประกอบกิ จ การ
(มาตรา 96)
24
อานาจหน้าที่
ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
(1) ร่วมหารือกับนายจ้างเพือ่ จัดสวัสดิการแก่ลูกจ้าง
(2) ให้คาปรึกษาหารือและเสนอแนะความเห็นแก่นายจ้าง
ในการจัดสวัสดิการสาหรับลูกจ้าง
(3) ตรวจตรา ควบคุม ดูแล การจัดสวัสดิการที่นายจ้าง จัด
ให้แก่ลูกจ้าง
(4) เสนอข้อคิดเห็นและแนวทางในการจัดสวัสดิการที่เป็ น
ประโยชน์สาหรับลูกจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน
25
(มาตรา 97)
กาหนดให้นายจ้าง
จัดให้มีการประชุมกับคณะกรรมการ
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
 อย่างน้อยสามเดือนต่อหนึง่ ครั้ง
 กรรมการเกินกึง่ หนึง่
โดยมีเหตุผล
อันสมควร
 สหภาพร้องขอ
(มาตรา 98)
26
นายจ้างต้องปิ ดประกาศ
การจัดสวัสดิการตามกฎ
กระทรวงที่ออกตามมาตรา 95
 ตามที่มีขอ้ ตกลง
(มาตรา 99)
ณ
สถานที่
ทางาน
โดย
เปิ ดเผย
27
คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
หมายถึง
 ใคร?
 ทาอะไร?
 ที่ไหน?
 อย่างไร?
28
คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
หมายถึง
ตัวแทนของลู กจ้างในสถานประกอบกิจการที่
จะร่ วมปรึ กษาหารือกับนายจ้างเพื่อจัดสวัสดิการให้แก่
ลูกจ้าง
เป็ นสื่อกลางที่จะถ่ายทอดความต้องการด้าน
สวั ส ดิ ก ารของลู ก จ้ า งให้ น ายจ้ า งทราบ และร่ ว ม
ปรึกษาหารือให้ขอ้ เสนอแนะ ตลอดจนตรวจสอบ ดู แล
29
การจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
โครงสร้างของคณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
จาแนกออกได้ 2 ลักษณะ คือ
 คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบ
กิจการที่มาจากการเลือกตั้ง
 คณะกรรมการลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วย
แรงงานสัมพันธ์ ทาหน้าที่เป็ นคณะกรรมการสวัส ดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
30
ลักษณะที่ 1
คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
ทีม่ าจากการเลือกตัง้
ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 50 คนขึ้ นไป
ให้เ ลื อ กตั้ง คณะกรรมการสวัส ดิ ก ารแรงงานได้ห นึ่ ง คณะ
ซึ่ งถ้ า สถานประกอบกิ จ การแห่ งนั้ นมี ส านั ก งานสาขา
หรื อ หน่ วยงานของนายจ้า งแต่ ล ะแห่ งที่ต้ งั อยู่ ภ ายนอก และ
แต่ ล ะแห่ งมี ลู ก จ้ า งตั้ งแต่ 50 คนขึ้ นไป ก็ ใ ห้ ส าขาหรื อ
หน่ ว ยงานนั้น ๆ เลื อ กตั้ง คณะกรรมการสวัส ดิ ก ารแรงงาน
ในสถานประกอบกิจการขึ้ นด้วย
31
ลักษณะที่ 2
คณะกรรมการลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์
ทาหน้าทีเ่ ป็ นคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 96 กาหนดว่า
สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 50 คนขึ้ นไป
จัดให้มีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการอย่างน้อย 5 คน
ตัวแทนลูกจ้าง
คณะกรรมการลูกจ้างตาม พ.ร.บ.
ที่มาจากการเลือกตั้ง
แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
หน้าที่ของคณะกรรมการ
32
คณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
ควรทาอะไร?
33
แนวทางการดาเนินงานคณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
1. ควรตั้งประธานกรรมการโดยการเลือกกันเองระหว่าง
กรรมการด้วยกันเพือ่ ทาหน้าที่
2. ควรแต่งตั้งเลขานุ การ เพือ่ ทาหน้าทีด่ า้ นธุรการ
3. คณะกรรมการฯ ควรกาหนดเวลาพบปะพูดคุยกันเป็ น
ครั้งคราว เพือ่ หารือปั ญหาหรือหาข้อมูลด้านสวัสดิการ
4. กรรมการทุกคนควรศึกษาถึงอานาจหน้าทีข่ องตนให้
34
เข้าใจชัดเจน
5. กรรมการทุ ก คนควรปฏิ บ ตั ิ ต นให้เ ป็ นที่ ย อมรับ
ของลูกจ้างนายจ้าง
6 . ถ้ า น า ย จ้ า ง ไ ม่ จั ด ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ ชุ ม ห า รื อ
กับ คณะกรรมการอย่ า งน้อ ยสามเดื อ นต่ อ ครั้ ง
คณะกรรมการควรสอบถามจากนายจ้างเพื่อขอให้
เปิ ดประชุมโดยเร็ว
7. คณะกรรมการและนายจ้ า งควรวางแนวทาง
ที่จะปฏิ บตั ิ ต่อกันและกาหนดแบบแผนการประชุม
35
ให้แจ้งชัด
8. เมือ่ มีการหารือกันแล้วควรนาผลการหารือ
ไปปฏิบตั ิ
 สรุปบันทึกการประชุม
 ประชาสัมพันธ์
 กาหนดหน้าที่
 ปฏิบตั ิตามอานาจหน้าที่
 ติดตามผล (มติที่ประชุม)
36
9. ควรประชาสัมพันธ์ผลสรุปหรือมติของการประชุม
ให้ลูกจ้างทุกคนทราบ
10. คณะกรรมการควรใช้ดุลพินิจถึงความเหมาะสม
ในการขอให้นายจ้างจัดสวัสดิการ
11. อาจเสนอแนะแนวทางการจัดสวัสดิการให้
คณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน
37
คณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการควรทา
ทีไ่ หน? อย่างไร?
38
ข้อควรคานึงในการปฏิบตั ิงาน
ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
 ปฏิบตั ิงานเป็ นตัวอย่างอันดีแก่ลูกจ้างทัว่ ไป
 การหารือของกรรมการควรหารือนอกเวลาทางาน
หากหารือในเวลางานควรขออนุญาตจากนายจ้างก่อน
 ต้องมีความรับผิดชอบและพร้อมเสมอที่จะปฏิบตั ิงาน
ทั้งสองสถานะ
 ต้องมีความเสียสละอย่างสูงทั้งกาลังความคิด กาลังกาย
และความสะดวกสบายต่าง ๆ
 การปรึกษาหารือร่วมกับนายจ้างเพือ่ ให้เกิดการจัด
39
สวัสดิการให้ลูกจ้าง มิใช่การยืน่ ข้อเรียกร้อง
ข้อเสนอแนะเรื่องทีจ่ ะนาเข้าประชุมฯ
1. สวัสดิการตามกฎหมาย
2. สวัสดิการนอกเหนือกฎหมายทีน่ ายจ้างจัดให้อยู่แล้ว
3. สวัสดิการทีข่ อรับการสนับสนุ นจากหน่วยราชการ
4. โครงการ/เรือ่ ง ต่าง ๆ ทีห่ น่วยราชการขอความร่วมมือ
5. สวัสดิการทีน่ ายจ้างคาดว่าจะจัดให้
6. เรือ่ งทีน่ ายจ้างเห็นควรประชาสัมพันธ์/ชี้ แจง/
หยังความคิ
่
ดเห็น
7. สวัสดิการ/เรือ่ ง ทีค่ ณะกรรมการฯ เสนอความคิดเห็น
40
ฯลฯ
บทบาทของคณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
 สร้างความเชื่อถือให้แก่นายจ้าง
 ให้ความร่วมมือในกิจกรรมอันเป็ นประโยชน์
แก่ท้ งั สองฝ่ าย
 ให้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องตามความเป็ นจริง
 เสียสละเพือ่ งานของกรรมการฯ
 เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปั ญหา
 ต้องปฏิบตั ิตามระเบียบข้อบังคับของนายจ้าง
 ติดตามเรือ่ งทีไ่ ด้มีการเสนอแนะตกลงกันไว้
 แจ้งผลการเจรจาตกลงให้ลูกจ้างทราบ
41
บทบาทของนายจ้างต่อคณะกรรมการ
สวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
ควรทาอะไร? ที่ไหน ?
เมือ่ ไหร่ ? อย่างไร ?
42
หน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามกฎหมายของ
นายจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
 เมื่อ มี ลู ก จ้า งตั้ง แต่ ห ้า สิ บ คนขึ้ นไป ให้จัดให้มี ค ณะกรรมการ
สวัส ดิ ก ารฯ ประกอบด้ว ยผู ้แ ทนฝ่ ายลู ก จ้ า งอย่ า งน้อ ยห้า คน
ซึ่งได้มาจากการเลือกตั้งตามวิธีการที่อธิบดีกาหนด
 จัดให้มีการประชุมหารือกับคณะกรรมการสวัสดิการอย่างน้อย
สามเดื อ นต่ อ ครั้ง หรื อ เมื่ อ กรรมการเกิ น กึ่ ง หนึ่ง หรื อ สหภาพ
แรงงานร้องขอโดยมีเหตุผลสมควร
 ปิ ดประกาศการจัดสวัสดิการตามที่กฎหมายกาหนดหรือตามที่มี
ข้อตกลงกับลูกจ้าง
 จัดสวัสดิการตามที่กฎหมายกาหนดและตามที่มีขอ้ ตกลงกัน 43
แนวทางการดาเนินงานของนายจ้าง
ทีพ่ งึ มีต่อคณะกรรมการสวัสดิการฯ
 กาหนดตัวบุคคลที่จะเป็ นตัวแทนนายจ้างในการหารือกับ
คณะกรรมการสวัสดิการฯ
 กาหนดนโยบายและให้ความรูแ้ ก่ผูแ้ ทนฝ่ ายนายจ้าง
 ให้การยอมรับคณะกรรมการสวัสดิการฯ
 เตรียมจัดทางบประมาณ
 ให้หลักประกันความมัน่ ใจในการทางานของคณะกรรมการ
สวัสดิการฯ
 ปฏิบตั ิตามผลที่ได้มีการหารือกัน
44
 ให้ขอ้ มูลข่าวสารที่จะช่วยในการบริหารงาน
ของคณะกรรมการสวัสดิการฯ
 จัดให้มีกิจกรรมร่วมกันในด้านสังคมและ
สวัสดิการ
 เปิ ดโอกาสให้กรรมการสวัสดิการฯ หารือได้
ตลอดเวลา
 แจ้งผลการหารือให้ลูกจ้างทราบ
 ให้ความรูค้ วามเข้าใจแก่ลูกจ้างในการ
ดาเนินการตามโครงการที่ได้มีการตกลงกัน
45
ประโยชน์ของคณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
เป็ นการส่งเสริมความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดี
ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง
 เป็ นการสร้างขวัญและกาลังใจในการทางานของลูกจ้าง
 เป็ นแนวทางในการปรับปรุงสวัสดิการและ
สภาพแวดล้อมในการทางานทีด่ ียงิ่ ขึ้ น
 เป็ นการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย โดยการใช้กลไก
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 เป็ นการช่วยเพิม่ ผลผลิตและประสิทธิภาพในการทางาน
46
ของสถานประกอบกิจการ
สรุปสุดท้าย
จะต้องมีบทกาหนดโทษ
หมวด 16 บทกาหนดโทษ
มาตรา 144 นายจ้ า งผู ใ้ ดฝ่ าฝื นหรื อ ไม่ ป ฏิ บ ตั ิ ต าม
กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 95 ไม่จ่ายค่าชดเชยพิเศษตาม
มาตรา 120 วรรคหนึ่ง หรื อ วรรคสอง ต้อ งระวางโทษจ าคุ ก
ไม่ เ กิ น หกเดื อ น หรื อ ปรับ ไม่ เ กิ น หนึ่ ง แสนบาทหรื อ ทั้ งจ า
47
ทั้งปรับ
มาตรา 146 นายจ้างผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 99
หรื อไม่ บอกกล่ าวล่ วงหน้าตามมาตรา 120 วรรคหนึ่ง
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมืน่ บาท
มาตรา 152 นายจ้างผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 96
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมืน่ บาท
มาตรา 153 นายจ้างผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 98
ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหนึ่งเดือน หรื อปรับ ไม่ เกิ น
48
สองพันบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
การเลือกตัง้ คณะกรรมการสวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
49
ทีม่ า : มาตรา 96 วรรคสอง
ก าหนดให้ก รรมการสวัส ดิ ก ารในสถาน
ประกอบกิ จ การให้ ม าจากการเลื อ กตั้ ง
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกาหนด
50
อธิบดีจึงกาหนดให้มี
ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการ
สวัสดิการ
ในสถานประกอบกิจการ
ประกาศ ณ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2545
51
สาระ
ต้องเลือกตั้งภายใน 30 วัน
นับตั้งแต่วนั ทีล่ ูกจ้างครบห้าสิบคน
(ข้อ 4)
52
สถานประกอบกิจการแห่งหนึง่
เลือกหนึง่ คณะ
เว้นแต่
มีสาขาแต่ละแห่งที่มีลูกจ้าง
ตั้งแต่ 50 คนขึ้ นไป
(ข้อ 5)
53
แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเลือกตั้ง
มาจาก
ลูกจ้างที่ไม่ประสงค์จะสมัครรับเลือกตั้ง
เป็ นกรรมการสวัสดิการ
จานวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน
(ข้อ 6)
54
หน้าที่คณะกรรมการดาเนินการเลือกตั้ง
 ประกาศโดยเปิ ดเผย เรือ่ ง
 วิธีการเลือกตั้ง
 กาหนดวัน เวลา สถานที่ ระยะเวลารับสมัคร
 แจ้ง นายจ้าง
โดยเร็ว
พนักงานแห่งท้องที่
 เตรียมการเลือกตั้ง
 ดาเนินการเลือกตั้ง
 ดาเนินการนับคะแนนเสียง
(ข้อ 7)
55
ต้องดาเนินการภายใน 30 วันนับแต่
- ลูกจ้างครบ 50 คน
- กรรมการเดิมพ้นจากตาแหน่ง
(ข้อ 7)
56
หน้าที่นายจ้างต่อการเลือกตั้ง
 อานวยความสะดวก
 จัดหาอุปกรณ์
 ออกค่าใช้จ่าย
(ข้อ 7)
57
ลูกจ้างทุกคนมีสิทธิ
สมัครรับเลือกตั้ง
ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
(ข้อ 8)
58
บัญชีรายชื่อ
นายจ้างต้องจัดทาบัญชีรายชือ่ 2 ชุด
ให้คณะกรรมการดาเนินการเลือกตั้ง 1 ชุด
ก่อนวันเลือกตัง้
ปิ ดประกาศ 1 ชุด/ลูกจ้างตรวจสอบ
ก่อนวันเลือกตัง้ 3 วัน
ให้ลูกจ้างมีสิทธิตรวจสอบ/ไม่ถูกต้อง นายจ้าง
แก้ไขปิ ดประกาศก่อนวันเลือกตั้ง
59
(ข้อ 9)
วันเลือกตั้ง
คณะกรรมการดาเนินการเลือกตั้งประกาศ
 รายชื่อ
 หมายเลขประจาตัว
ณ สถานที่
เลือกตั้ง
(ข้อ 10)
60
เลือกตั้งโดย
วิธีลบั
ประกอบด้วย
บัตรเลือกตั้ง และหีบบัตรเลือกตั้ง
(ข้อ 11, 12)
61
คณะกรรมการดาเนินการเลือกตั้งต้องเก็บบัตรเลือกตั้ง
หีบบัตรเลือกตั้ง จนกว่าลูกจ้างจะได้ใช้สิทธิ
ในการลงคะแนนเสียงตามระยะเวลาทีก่ าหนด ในกรณี
 ทางานเป็ นกะ
 ทางานเวลาทีแ่ ตกต่างกัน
 ทางานต่างสถานทีก่ นั
ไม่อาจลงคะแนน
เลือกพร้อมกัน เวลา
เดียวกัน
 สภาพงานทีต่ อ้ งทาต่อเนือ่ ง
(ข้อ 12)
62
การนับคะแนนเสียง
โดยเปิ ดเผย ในทันทีตอ้ ง
ประกาศผล เรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย
 กรณีเท่ากันให้จบั สลาก
แจ้งผลให้นายจ้างทราบใน 3 วัน นับแต่วนั สิ้ นสุด
การเลือกตั้ง และมีสิทธิหน้าที่ทนั ที
(ข้อ 13, 14, 15)
63
กรรมการสวัสดิการอยู่ในตาแหน่ง
คราวละสองปี แต่
 อาจได้รบั เลือกตั้งใหม่ได้
 สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ไปพลาง
กรณีชดุ เก่าหมดวาระ/ลาออกทั้งคณะ
(ข้อ 16)
64
นายจ้างสามารถเลือกตั้งกรรมการชุดใหม่
ก่อนหมดวาระได้ แต่จะมีสิทธิหน้าที่
ในวันถัดจากชุดเดิมครบวาระ
(ข้อ 16)
65
การพ้นจากตาแหน่ง
ตาย
ลาออก
เป็ นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนคนไร้
ความสามารถ
ได้รบั โทษจาคุก โดยคาพิพากษาถึงที่สุด
ให้จาคุก เว้นแต่เป็ นโทษสาหรับความผิดโดย
ประมาท/ลหุโทษ
(ข้อ 17)
66
การพ้นจากตาแหน่ง
ตั้งผูท้ ี่มีรายชื่อถัดไปได้
หากไม่มีรายชื่อเลือกตั้งแทนตาแหน่งที่ว่าง
เลือกตั้งภายใน 30 วัน
อยู่ในวาระที่เหลืออยู่
67
ลูกจ้างลดลงเหลือน้อยกว่า 50 คน
กรรมการสวัสดิการฯ พ้นจากตาแหน่ง
ทั้งคณะ
(ข้อ 18)
68
ต้องเลือกตั้งใหม่ท้ งั คณะ
เมือ่ กรรมการพ้นจากตาแหน่ง
เกินกึง่ หนึง่
(ข้อ 19)
69
นายจ้างปิ ดประกาศรายชื่อหน้าที่
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
เมือ่
 มีการเลือกตั้ง
 เปลีย่ นแปลงกรรมการ
(ข้อ 20)
เป็ นภาษาไทย
โดยเปิ ดเผย ภายใน
30 วัน ณ สปก. โดย
ปิ ดตลอดเวลา
70
แจ้งพนักงานตรวจแรงงาน
แห่งท้องทีภ่ ายใน 7 วัน
(ข้อ 20)
71
ขัน้ ตอนการเลือกตัง้ คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
นายจ้างแต่งตัง้ ลูกจ้างทีไ่ ม่ประสงค์จะสมัครรับเลือกตัง้
เป็ นกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ
จานวนไม่ตา่ กว่า 5 คน เป็ นคณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้
คณะกรรมการดาเนินการเลือกตั้ง
นายจ้าง
- กาหนดจานวนคณะกรรมการฯ
- เตรียมการเลือกตั้ง
ประกาศวิธีการเลือกตั้ง
กาหนดวัน เวลา สถานทีเ่ ลือกตั้ง
อานวยความสะดวก จัดหาอุปกรณ์
สาหรับหาเสียง-ลงคะแนนเสียง และ
ออกค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเลือกตั้ง
72
กาหนดระยะเวลารับสมัครผูท้ ี่จะสมัคร
รับเลือกตั้งเป็ นกรรมการฯ
แจ้งนายจ้างและพนักงานตรวจแรงงาน
รับสมัครผูป้ ระสงค์จะสมัครรับเลือกตั้ง
เป็ นกรรมการฯ
จัดทาบัญชีรายชื่อลูกจ้าง จานวน 2 ชุด
ปิ ดประกาศบัญชีรายชื่อลูกจ้าง
ก่อนวันเลือกตั้งไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน
ส่งบัญชีรายชื่อลูกจ้างให้คณะกรรมการ
ดาเนินการเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้ง
- ดาเนินการเลือกตั้ง
- นับคะแนนเสียง
จัดทาบัญชีรายชื่อตามลาดับ
คะแนนเสียง
แจ้งผลการเลือกตั้งให้นายจ้างทราบ
ภายใน 3 วัน
ปิ ดประกาศชื่อและหน้าที่
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการฯ
ภายใน 3 วัน โดยปิ ดไว้ตลอด
ส่งสาเนาประกาศฯ ให้พนักงานตรวจ
แรงงานภายใน 7 วัน
73
การพ ัฒนาการบริหาร กสว. ปี 2553-2554
EP
Electronics
CP
Competency
สมรรถนะ
อีเล็คทรอนิคส์
4 Principles
CINEP
IP
Inteqrated
บูรณาการ
NP
Networking
เครือข่าย
74
4 Principles : CINEP
หล ักการ
เหตุผล
CP
เจ้าหน้าทีใ่ หม่
พ ัฒนางาน
ึ ษาดูงาน KM
ศก
IP
ขอบข่ายงาน
ั ันธ์ก ัน
สมพ
พ ัฒนาทีมงาน
ื่ มโยงงาน
เชอ
NP
ทร ัพยากรจาก ัด
สร้างความเข้มแข็ง
เครือข่าย
EP
ิ ธิภาพ
เพิม
่ ประสท
E-Services
E-Offices
วิธก
ี าร
75
ผลล ัพธ์ภารกิจสว ัสดิการ
สว ัสดิการสุขภาพ
ระด ับกอง
สว ัสดิการเศรษฐกิจ
คกส.
ั
สว ัสดิการสงคม
ศูนย์พ ัฒนาเด็ก
ื่ มโยงสนับสนุน
เชอ
คุม
้ ครองแรงงาน
ระด ับกรม
ั ันธ์
แรงงานสมพ
ความปลอดภ ัยฯ
76
แนวทางการพัฒนางาน
แผนทีม่ ีอยู่แล้วจะทบทวนอย่างไร
วางแผนเชิงกลยุทธ์
ทบทวนเป็ นย้อนกลับ
(back wards)
ใช้แผนเดิมเป็ นตัวตั้ง
ความเหมาะสมในการบรรลุ
เป้าหมายองค์กร vision mission Goals
วิเคราะห์
ความเป็ นไปได้
เป็ นแผนทีใ่ ช้จุดแข็ง (S) + โอกาส(O)
เป็ นแผนทีแ่ ก้ไข/หลีกเลีย่ ง
จุดอ่อน (W) + ความเสีย่ ง (T)
ทบทวน ปรับปรุง
77
การกาหนดกลยุทธ์การพัฒนางาน โดยใช้เทคนิค TOWS Matrix
Internal factors
External factors
Opportunities-O
S
E
P
T
Social
Economic
Politic
Technology
Threats-T
S
E
P
T
Strengths-s
Weakness-W
4 MS
Man
Machine
Material
Management
SO Strategy
WO Strategy
กาหนดกลยุทธ์จาก
จุดแข็งและโอกาส
กำหนดกลยุทธ์จำก
โอกำสและขจัดจุดอ่อน
ST Strategy
WT Strategy
กาหนดกลยุทธ์จาก
กำหนดกลยุทธ์ขจัด
จุดแข็งและเลีย่ งจุดเสีย่ ง จุดอ่อนและเลี่ยงจุดเสี่ยง
78