No Slide Title

Download Report

Transcript No Slide Title

“ความรับผิดชอบต่อสังคม”
จะเป็ นมาตรฐานสากล!
ISO is to develop an
International Standard for
Social Responsibility!!
7/20/2015
Supachai
1
จาก ISO 9000, ISO 14000
แลวก็
้ มาถึง
“ความรับผิดชอบต่อสังคม”
 After establishing ground-breaking
International Standards on quality
management and then on
environmental management
 SR has been given heightened visibility and
relevancy by the Johannesburg Conference on
Sustainable Development
7/20/2015
Supachai
2
เป็ นเรื่ องของ รัฐ และ เอกชน
 Businesses, as well as governments and other
organizations, are increasingly involved with
the concept and the practices of social
responsibility
 It can be applied to all organizations!!
7/20/2015
Supachai
3
คาถามมากมาย!!??
Should the standards on this issue be
internationally standardized?
Should / shouldn’t the standards be
different country-to-countries, depending
on levels of economic development,
historical and social backgrounds etc.??
Should it be regulated? voluntary?
Third party certification? Self certification?
No certification?
Have we got anything for Thailand?
7/20/2015
Supachai
4
ลองฟังที่มา / แนวความคิดเรื่ องนี้
 You cannot have a sustainable
business in an unsustainable world!!
 You cannot build a wall high enough to
protect company operations if a
community considers you a negative to
their desire to prosper economically,
improve their environment and better their
social conditions and benefits.
7/20/2015
Supachai
5
ลองฟังที่มา / แนวความคิดเรื่ องนี้
 Multi-national corporations and businesses
of all sizes play an increasing significant
role in the lives of people and in the
exchange of goods, services and
investment.
 The public and shareholders, and
governments too, expect increased public
disclosure on the economic, social and
environmental aspects and impacts of
corporate behavior
7/20/2015
Supachai
6
ลองฟังที่มา / แนวความคิดเรื่ องนี้
Advances in communication technology and
in media have enhanced our ability to
track SR activities around the globe and to
disseminate quickly information on these
activities and on the impact they are
having to improve the lives of people, or to
improve the equity between the have and
the have-nots.
7/20/2015
Supachai
7
ลองฟังที่มา / แนวความคิดเรื่ องนี้
 Benefit to people and the quality
of their lives is the essence of
social responsibility.
 Everyone can create value
for advancing the cause of
social responsibility.
7/20/2015
Supachai
8
ISO จึงต้ องทำมำตรฐำนเพื่อ
“to raising awareness and
understanding of what SR
involves and how organizations
can contribute to making our
world, our communities and our
people better and more
sustainable”
7/20/2015
Supachai
9
UN สนับสนุน
In a recent message to ISO, United Nations
Secretary-General Mr. Kofi Annan welcomed
ISO's decision to develop a standard on social
responsibility, describing it as "an initiative
which dovetails well with the universal
principles of the UN Global Compact on
human rights, labour conditions, the
environment and anti-corruption."
7/20/2015
Supachai
10
ISO 26000 Guidance on social
responsibility
• Is to produce “a guidance document,
written in plain language which is
understandable and usable by nonspecialists” and not intended for
use
in certification(by third party) -OK
for SDoC?
7/20/2015
Supachai
11
ขอบข่าย (Scope ) ของมาตรฐาน
The standard should
 assist organizations in addressing their social
responsibilities while respecting cultural, societal,
environmental and legal differences and economic
development conditions;
 provide practical guidance related to operationalizing
social responsibility, identifying and engaging with
stakeholders, and enhancing credibility of reports and
claims made about social responsibility;
7/20/2015
Supachai
12
ขอบข่าย (Scope ) ของมาตรฐาน
• emphasize performance results and improvement; increase
confidence and satisfaction in organizations among their
customers and other stakeholders;
• be consistent with and not in conflict with existing documents,
international treaties and conventions and existing ISO
standards;
• not be intended to reduce government's authority to address
the social responsibility of organizations;
• promote common terminology in the social responsibility
field; and broaden awareness of social responsibility.
7/20/2015
Supachai
13
เนื้อหาสาระ (Content) ของมาตรฐาน
 Definitions and/or concepts of the
standard
 Core elements : Social,
Environment, Economy,
Health&Safety, Human Rights
etc.
7/20/2015
Supachai
14
การนามาตรฐานไปใช้ปฏิบตั ิ
Application of the standard
The standard should be applicable by all types of
organizations (e.g. regardless of their size, location,
the nature of their activities and products, and the culture,
society and environment in which they
carry out their activities)
Throughout the standard, the verb form “should” shall be used.
Only one standard shall be developed.
7/20/2015
Supachai
15
การนามาตรฐานไปใช้ปฏิบตั ิ
Application of the standard
The standard seeks to
 assist organizations in establishing, implementing, maintaining and
improving social responsibility frameworks;
 support organizations in demonstrating their social responsibility
through responsiveness and the effective engagement of all
stakeholders including employees, which may enhance their
confidence and satisfaction;
 facilitate credible communications on the organization’s
commitments and performance related to SR; and
 promote and maintain greater transparency and fairness in
organizations.
7/20/2015
Supachai
16
ประโยชน์ จากการนามาตรฐาน
ไปใช้ปฏิบตั ิ
It is expected that the standard will
 facilitate the establishment, implementation, maintenance
and improvement of social responsibility frameworks in
organizations thus contributing to sustainable
development;
 contribute to increasing the confidence and satisfaction in
organizations among all stakeholders (including
employees);
 increase awareness of SR through the creation of a single
standard accepted by a broad range of stakeholders;
7/20/2015
Supachai
17
ประโยชน์ จากการนา
มาตรฐานไปใช้ปฏิบตั ิ
 foster greater awareness and wider observance of agreed sets of
universal principles as expressed in United Nations conventions and
declarations including the Global Compact principles and particularly
the Universal Declaration of Human Rights, The ILO 's Declarations
on Fundamental Principles and Right at Work, The Rio Declaration
on Environment and Development and The United Nations
Convention Against Corruption.
 facilitate trade liberalization and remove trade
barriers (implement open and fair trade);and
compliment and avoid conflicts with other existing
SR standards and requirements.
7/20/2015
Supachai
18
ประเทศสมาชิก ISO ผูน้ าในการจัดทามาตรฐาน
 ISO has assigned the leadership of the working group that will
develop an International Standard giving guidelines for social
responsibility collectively to the national standards institutes of Brazil
(ABNT) and Sweden (SIS).
 This twinning of a developing country member of ISO with a
developed country is one of the measures being applied by the
organization to strengthen the participation of the developing
countries that make up 110 out its total membership of 146
7/20/2015
Supachai
19
ผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละประเทศ เข้าร่ วมได้ถึง 6 คน!
Member bodies nominate up to six experts,
one for each of the following six
categories of stakeholders: industry,
government, labour, consumers,
nongovernmental organizations and
others.
7/20/2015
Supachai
20
National "mirror committee”
 ISO expects that the member bodies who
nominate experts will also establish
national "mirror committees" and that
these will formulate national positions on
the successive drafts developed by the
working group.
7/20/2015
Supachai
21
การประชุมของ SR-WG
 ISO expects the standard to be completed for
publication in 2007.
 In 2005, two plenary meetings will be held,
 the first in Brazil 7 March to 11 March, 2005
 The second will be in Bangkok during
30 September - 7 October 2005
7/20/2015
Supachai
22
ไทยมีตน้ ทุน อะไรบ้าง?
 มาตรฐานแรงงานไทย (THAI LABOUR STANDARD)
 มรท 8001 - 2546 (TLS 8001 2003)
 ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย:
ข้อกาหนด (Thai Corporate Social Responsibility:
Specification)
 กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
7/20/2015
Supachai
23
การรับรอง
ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานเรื่ อง
หลักเกณฑ์การกาหนดระดับการรับรอง
มาตรฐานแรงงานไทย (มรท.๘๐๐๑-๒๕๔๖)
และระยะเวลาการรับรอง
7/20/2015
Supachai
24
สรุปการไปเข้ าร่ วมการประชุมคณะทางานของ ISO ว่ าด้ วย
ความรับผิดชอบต่ อสั งคม
ระหว่ างวันที่ 7-11 มีนาคม 2548
ณ เมือง Salvador ประเทศบราซิล
7/20/2015
Supachai
25
ผู้เข้ าร่ วมประชุม
ประมาณ 270 คน ประกอบดวยประธาน
รอง
้
ประธาน เลขานุการ เลขานุการร่ วม ผูช้ ่วยเลขานุการของคณะทางาน
ผูแ้ ทนจากสานักเลขาธิการ ISO ผูเ้ ชี่ยวชาญและผูส้ ังเกตการณ์ จาก
ประเทศอัลบาเนีย อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย ออสเตรี ย บราซิล แคนาดา
ชิลี จีน โคลัมเบีย คอสตาริ กา คิวบา เดนมาร์ค เอควาดอร์ ฟิ นแลนด์
ฝรั่งเศส กานา เยอรมัน อินเดีย อิหร่ าน อิสราเอล อิตาลี ญี่ปนุ่ เคนยา
เกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ ไนจีเรี ย นอรเวย์ ฟิ
ลิปินส์ โปรตุเกส เซเนกัล สิ งคโปร์ อัฟริ กาใต้ เสปน สวีเดน
สวิตเซอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริ กา อุรุกวัย เวเนซูเอลา
และประเทศไทย รวมทั้งผูแ้ ทนจาก ILO และองค์กรอิสระอื่นๆ
7/20/2015
Supachai
26
มีมติ ตั้งคณะย่อย เพื่อช่วยทางาน
กลุ่มที่ปรึ กษาประธานคณะทางาน (Chair’s Advisory Group - CAG)
ประธานและเลขานุการคณะทางาน. ประธาน (Convenor) ของ
คณะทางานย่อย (Task Groups) คณะต่างๆ. ผูแ้ ทนจากกลุ่มผูม้ ี
ส่ วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholders) จานวน 6 กลุ่มๆ ละ 2 คน
ผูแ้ ทนเพิ่มเติม (ในกรณี จาเป็ นเพื่อให้เกิดความสมดุลของ
ตัวแทนกลุ่มต่างๆ) ผูแ้ ทนจากองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ
(International Labour Organization - ILO)
อานาจหน้าที่ ให้การสนับสนุ นการทางานของ
ประธานและเลขานุการคณะทางานในด้านการประสานงาน การ
วางแผน และให้คาแนะนาประธานและเลขานุการคณะทางานในเรื่ องที่
เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ การจัดสมดุลผูแ้ ทนในคณะทางานย่อย และเรื่ อง
7/20/2015
Supachai
27
อื่นๆ
คณะทางานย่อยคณะที่ 1 (Task Group 1 Funding
and stakeholder engagement)
อานาจหน้าที่ กาหนดมาตรการในการ
จัดสรรทุนภายใต้คาแนะนาของสานักเลขาธิการ ISO เพื่อ
กระตุน้ ให้ประเทศกาลังพัฒนาและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยเข้าร่ วม
ทางานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ส่ งเสริ มให้ประเทศสมาชิก
ISO ขอรับทุนสนับสนุนจากรัฐบาลและหน่วยงานอื่นด้วย
ตนเอง จัดทาหลักเกณฑ์ในการขอรับและให้การสนับสนุน
เงินทุน
ประสานงานกับคณะกรรมการด้านกิจกรรมของประเทศกาลังพัฒนา
(Committee on developing countries matters - DEVCO) เพื่อให้
เกิดความร่ วมมือในด้านนี้
7/20/2015
Supachai
28
คณะทางานย่อยคณะที่ 2 (Task Group 2
Communication)
อานาจหน้าที่ จัดทาขอมู
้ ลของ
คณะทางานสาหรับการเผยแพร่ จัดทาสื่ อที่จะนาข้อมูล
ออกเผยแพร่ ให้การสนับสนุนการทางานของ
คณะทางานย่อยคณะอื่นๆ ในเรื่ องการสื่ อสารระหว่างกัน
จัดทาแผนการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
 นายศุภชัย เทพัฒนพงศ์ ผูอ้ านวยการกองกิจกรรมมาตรฐานระหว่าง
ประเทศ สมอ. ได้รับความเห็นชอบให้ทางานหน้าที่เลขานุการของ
คณะทางานย่อยคณะนี้
7/20/2015
Supachai
29
คณะทางานย่อยคณะที่ 3 (Task Group 3 Operating
procedures)
อานาจหน้าที่ ให้คาแนะนาเรือ
่ งการ
ตีความและการนาระเบียบวิธีปฏิบตั ิไปใช้ จัดทา
ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุ งระเบียบวิธี
ปฏิบตั ิเสนอประธานคณะทางานเพื่อนาเสนอที่
ประชุมให้การรับรอง ดูแลรับผิดชอบระเบียบวิธี
ปฏิบตั ิของคณะทางานทั้งหมด
7/20/2015
Supachai
30
คณะทางานย่อยคณะที่ 4-6 (Task Groups 4-6)
คณะทางานย่อยคณะที่ 4 (Task group 4 Stakeholder
identification/engagement/communication) รับผิดชอบงาน
ที่เกี่ยวข้องกับความร่ วมมือของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย/การสื่ อสาร
คณะทางานย่อยคณะที่ 5 (Task group 5 Social
Responsibility/Core context) รับผิดชอบเนื้อหาหลักของ
มาตรฐานเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม
คณะทางานย่อยคณะที่ 6 (Task group 6 Understanding and
Application)รับผิดชอบงานที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการนามาตรฐานไป
ใช้
7/20/2015
Supachai
31
กลุ่มทางานย่อย (Task Force -TF) Translation
รับผิดชอบในการแปลเอกสารของคณะทางานที่
สมาชิกพิจารณาว่าจาเป็ นต่อการร่ วมทางานกับ
คณะทางานนี้ รวมทั้งร่ างมาตรฐานและมาตรฐาน
เรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคมเป็ นภาษาเสปน
(Spanish Translation Task Force)
7/20/2015
Supachai
32
บรรณาธิการ (Editing Committee)
อานาจหน้าที่ รับผิดชอบการ
ตรวจสอบร่ างมาตรฐานขั้นตอนต่างๆ ก่อนการ
จัดพิมพ์รวบรวมร่ างมาตรฐานขั้นตอนต่างๆ ที่
จัดทาโดยคณะทางานย่อย เสนอรายงานผลการ
ตรวจสอบให้คณะทางานย่อยทราบก่อนจะนาเสนอ
ฝ่ ายเลขานุการของ คณะทางาน
7/20/2015
Supachai
33
Last words!!
“ถ้าThailand รอเป็ น standard taker ในเรื่ องนี้
-- BIG PROBLEM!!”
7/20/2015
Supachai
34
End of presentation
Thank you
7/20/2015
Supachai
35