18การระดมสมอง (BRAINSTORMING)

Download Report

Transcript 18การระดมสมอง (BRAINSTORMING)

เมื่อจบบทเรียนนีแ้ ล้ ว ผู้เข้ ารับการฝึ กอบรมควรจะสามารถ
1. อธิบายความหมายและความสาคัญของการ
ระดมสมองได้
2. ระบุขนั ้ ตอนของการสอนแบบการระดมสมองได้
3. ดาเนินการสอนแบบระดมสมองได้
4. นาวิธีการสอนแบบระดมสมองไปใช้ ในการ
ฝึ กอบรมผู้กากับลูกเสือได้ อย่ างเหมาะสม
การระดมสมอง (BRAINSTORMING)
เทคนิคนี ้ เปิ ดโอกาสให้ ทุกคนภายในกลุ่มได้ เสนอ
ความคิดอย่ างเสรี เพื่อแก้ ปัญหาหรื อปรั บปรุ ง สิ่ง
หนึ่งสิ่งใด กิจกรรมอย่ างหนึ่งอย่ างใด
โดย
ปราศจากข้ อจากัดหรื อกฎเกณฑ์ ใด ๆ ทัง้ สิน้ ไม่ มี
การอภิปรายหรื อประเมินผลความคิดเห็นนัน้ ใน
ระหว่ างการเสนอความคิด ซึ่งอาจจะกระทาได้
ภายหลังการระดมสมองสิน้ สุดลง
 เลขานุการต้ องบันทึกความคิดเห็นเอาไว้ ทงั ้ หมด
โดยไม่ คานึงถึง ข้ อผิด-ถูก ดี-ไม่ ดี เหมาะสม-ไม่
เหมาะสม ควร-ไม่ ควร ความคิดทุกอย่ างจะต้ อง
ได้ รับการยอมรั บจากกลุ่มทัง้ สิน้ และ ผู้เข้ าร่ วม
ระดมสมองจะต้ องไม่ หวั เราะเยาะหรื อเย้ ยหยัน
ความคิดเห็นใด แม้ ความคิดนัน้ จะเป็ นความคิดที่
มีลักษณะประหลาดก็ตาม การขัดแย้ งต่ อความคิดที่
ถูกเสนอจะไม่ เกิดขึน้ แต่ สามารถที่จะขยาย
เพิ่มเติมโดยคนอื่นได้ และบุคคลที่จะเสนอความ
คิดเห็นเพิ่มเติมนัน้ จะต้ องกล่ าวคาว่ า “ผมเห็นด้ วย
กับความคิดเห็นของคุณ…และขอเสริมว่ า….”
คาถามที่ใช้ ในการระดมสมอง ไม่ ควรเลือก
คาถามที่ต้องการคาตอบยาว เพราะ
ต้ องการความคิดเห็นในสิ่งที่จะทา (What)
ส่ วนวิธีการที่จะทาอย่ างไร (How) นัน้
ควรจะได้ พจิ ารณาภายหลัง
1. เตรี ยมสถานที่ท่ ขี นาดพอเหมาะกับจานวนคน จัดที่
นั่งเป็ นรู ปวงกลมหรื อวงรี กไ็ ด้ ให้ สมาชิก ทุกคนเห็น
หน้ ากัน
2. แบ่ งกลุ่มสมาชิกมีขนาด 6 - 8 คน ให้ มีประธานและ
เลขานุการลุ่ม ถ้ าเห็นว่ าเลขานุการคนเดียวอาจจดไม่
ทันก็อาจเพิ่มเลขานุการขึน้ อีกหนึ่งคนก็ได้
3. ประธานจะต้ องอธิบายให้ สมาชิกทราบหัวข้ อ
สาระสาคัญ กติกาเงื่อนไขต่ าง ๆ และเวลาที่กาหนด
(ไม่ ควรเกิน 15 นาที)
4.เริ่มดาเนินการ
 ประธานถามเป็ นรายคนตามลาดับอย่ างต่ อเนื่อง และรวดเร็ว
 ทุกคนต้ องตอบเมื่อถูกถาม
 ถ้ ามีคาตอบให้ ตอบ
 ถ้ าไม่ มีคาตอบให้ กล่ าวคาว่ า “ผ่ าน”
 ถ้ าต้ องการเสริมคาพูดอื่น ให้ ใช้ คาว่ า (Hitch hike) “ผมเห็นด้ วย
กับความคิดเห็นของคุณ......และขอเสริมว่ า......”
 ประธานจะถามต่ อไปจนครบรอบที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 และต่ อไป จน
สมาชิกบอก “ผ่ าน” หมดทุกคน แสดงว่ า สมาชิกหมดความคิดเห็น
แล้ ว
 ประธานและเลขานุการ อาจจะเพิ่มความคิดเห็นลงไปในท้ ายนีไ้ ด้
5. หลังจากการระดมสมองแล้ ว กลุ่มจะใช้ เวลา
อีกช่ วงหนึ่งสาหรับพิจารณา วิเคราะห์ และประเมิน
คุณค่ าข้ อเสนอทัง้ หมด โดยวิธีรวบรมข้ อที่ใกล้ เคียง
กัน และอาจเพิ่มเติมให้ สมบูรณ์ ย่ งิ ขึน้ ตัดข้ อที่ไม่
เหมาะสมทิง้ ไป
6. สรุ ปและรับรองผลของกลุ่ม เพื่อเสนอหรือ
นาไปใช้ ต่อไป
การประมวลความคิด
1. ให้ กระทาหลังจากการประชุมระดมสมองแล้ ว
2. ควรตัง้ กรรมการประมวลผล 2-3 คน ที่ใกล้ ชิดและเกี่ยวข้ อง
กับเรื่องที่ระดมสมอง (เพื่อพิจารณาความคิดเป็ นรายๆ ไป)
3. การประมวลผลอาจจะกระทาในเวลาอื่น หรือสถานที่อ่ นื ใด
ก็ได้ ไม่ จาเป็ นต้ องกระทาทันที
4. วิธีการแรกต้ องตัดความคิดที่คาดว่ าเป็ นไปไม่ ได้ ทงิ ้
5. จัดรวมเอาความคิดเห็นที่ใกล้ เคียงกันเอาไว้ ด้วยกัน
6. ความคิดเห็นที่เหลือจากการกลั่นกรองแล้ ว อาจนาไปใช้ กับ
การศึกษาในขัน้ ต่ อไปได้ ควรเก็บความคิดนีไ้ ว้ เพราะความ
คิดเห็นที่ไร้ ค่าในเวลานี ้ อาจมีคุณค่ ายิ่งในโอกาสต่ อไป
ข้อดีขอ
้ จาก ัด
1. เป็ นการสร้ างงานในระบบกลุ่ม
2. เปิ ดโอกาสให้ สมาชิกยอมรั บความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
3. ช่ วยให้ เกิดแนวความคิดใหม่ และสร้ างสรรค์ แนวทาง
แก้ ปัญหาได้ ดีย่ งิ ขึน้
4. เร้ าความสนใจของสมาชิกและไม่ สนิ ้ เปลือง
5. ข้ อเสนอแนะจานวนมาก อาจมีคุณภาพน้ อย
6. ถูกจากัดเรื่ องขนาดของกลุ่มและเวลา
7. ไม่ สามารถพิจารณาปั ญหาที่กว้ างขวางมากนัก
ข้อควรคานึง
1. ชื่อของผู้เสนอความคิดเห็นนัน้ ไม่ ใช่ เรื่ องสาคัญ
ฉะนัน้ จึงไม่ มีความจาเป็ นที่จะต้ องบันทึกชื่อผู้เสนอ
ความคิดเห็นไว้ ถือว่ าเป็ นความคิดเห็นจากกลุ่ม
2. ประธานจะเป็ นผู้ตัดสินการวิจารณ์ วิเคราะห์
ประเมินความคิดเห็นใดๆ ไม่ ให้ มีการยืดเยือ้
และจะต้ องกระตุ้นให้ สมาชิกผู้ร่วมระดมสมองได้ ใช้
ความคิดอย่ างต่ อเนื่อง ไม่ ไขว้ เขวออกนอกทาง
3. เวลาเป็ นสิ่งสาคัญ ต้ องกาหนดแน่ นอน
อาจตัง้ ผู้รักษาเวลาเพื่อแจ้ งเมื่อหมดเวลาก็ได้
บทสรุป
ความสาเร็จของการระดมสมอง จะได้ มาจากความคิด เพราะ
1. ผู้ร่วม (สมาชิกกลุ่ม) ต่ างมีความรู้ท่ วั ไปเกี่ยวกับเนือ้ หาใน
เรื่องที่จะนามาระดมสมอง
2. ความคิดหลายๆ ความคิด เมื่อรวมกันและจัดเข้ าสู่
เป้าหมาย ย่ อมมีข้อดีมากกว่ าความคิดเดียว
3. คนขีอ้ ายอาจมีความคิดดี และไม่ กล้ าแสดงในที่ประชุมใหญ่
แต่ เขาก็ยินดีและยินยอมในกลวิธีนี ้
4. การระดมสมองถือว่ าเป็ นภาคปฏิบัตขิ องการทางานเป็ นหมู่
มาก