การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

Download Report

Transcript การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

การจัดการความรู ้
(Knowledge Management)
21th Century (2001 – 2100)
สั งคมความรู้ (Knowledge Society)
ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้
(Knowledge-Based Economy)
เน้ นนวัตกรรม (Innovation)
บุคลากรเป็ นผู้สร้ าง และใช้ ความรู้
(Knowledge Worker)
2
From Data to Wisdom
ภูมิปัญญา พืน้ ความรู้ของปวงชนในสั งคมนั้น ๆ
และปวงชนในสั งคมยอมรับรู้ เชื่อถือ เข้ าใจ ร่ วมกัน
ความรู ้ เป็ นขั้นตอนจากการใช้ประโยชน์
จากสารสนเทศในเชิงผลิต และประยุกต์
Knowledge
Information
Data
Wisdom
สารสนเทศ เป็ นการประมวลผลข้อมูล และนาเอา
ข้อมูลมาเรียบเรียงให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย
ข้อมูล เป็ นหนทางของการถ่ายทอดหรือบรรยายสิง่ ต่างๆ
3
ความรู ้ (Knowledge)
กรอบของการประสมประสานระหว่างสถานการณ์
ค่ า นิ ย ม ความรู ใ้ นบริ บ ท และความรู แ้ จ้ง อย่ า ง
ชัดเจน
สิ น ค้า ที่ มี อ ยู่ ท วั ่ ไปโดยไม่ มี รู ป ธรรม และไม่ มี ว ัน
หมดไป ความรู ม้ ีอยู่ทวั ่ ไปทุกหนทุกแห่ ง สามารถ
ดารงอยู่ได้ทุกสถานทีใ่ นเวลาเดียวกัน
4
คุณสมบัติของคนในระบบเศรษฐกิจฐานความรู ้
คนทีร่ กั การเรียนรู ้
ใฝ่ เรียนใฝ่ รู ้
เปิ ดใจรับฟังความคิดเห็น
มีตวั แบบความคิดทีด่ ี และถูกต้อง
คิดอย่างเป็ นระบบ
สามารถทางานเป็ นทีมได้ดี
5
พื้ นฐานการจัดการความรู ้
ความรูก้ ่อกาเนิด และฝังอยู่ในความคิดของบุคคล
ความรูไ้ ม่ถูกจากัดด้วยกฎแห่งความหาได้ยาก
(Law of Scarcity) เราสามารถนากลับมาใช้ได้ตามความ
ต้องการ
ความรูจ้ ะใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดหากนามาแบ่งปั น
ภายในองค์กร และนอกองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรเป็ นปั จจัยสาคัญทีจ่ ะผลักดันให้มีการ
นาความรูม้ าใช้ หรือถ่ายโอนความรูใ้ นองค์กร
6
ประเภทของความรู ้ (Choo. 2011)
1.
2.
3.
ความรู้ โดยนัย (Tacit or Implicit Knowledge) ได้ แก่ ความรู้ ในตัว
บุคคลที่เกิดจากประสบการณ์ การศึกษา การฝึ กอบรม ความเชื่ อ และ
เจตคติของแต่ ละบุคคล
ความรู้ทปี่ รากฏ (Explicit Knowledge) เป็ นความรู้ทถี่ ่ ายทอดจากตัว
บุคคลออกมาในรูปของบันทึกในรูปแบบต่ างๆ เช่ นหนังสื อ บทความ
ความรู้ทมี่ ีเป้าหมาย (Object-Based) เช่ นตารา
ความรู้ทเี่ ป็ นกฎเกณฑ์ (Rule-Based) เช่ นกฎหมาย
ความรู้ทเี่ กิดจากวัฒนธรรม (Culture Knowledge) เป็ นความรู้ ที่เกิด
จากความเชื่อ ศรัทธา ซึ่งจะเกิดจากผลสะท้ อนกลับของตัวความรู้ และ
สภาพแวดล้อมขององค์กร ซึ่งก็คอื วัฒนธรรมขององค์กรนั่นเอง
7
การจาแนกลักษณะของความรู้
 ความรู้หลัก (Core Knowledge)
เป็ นความรู้ในระดับพืน้ ฐานทีท่ ุกคนในองค์กรต้ องการหรือ
ต้ องรู้
 ความรู้ในระดับก้าวหน้ า (Advanced Knowledge)
เป็ นความรู้ทที่ าให้ องค์ กรไปสู่ จุดของการแข่ งขันได้ เป็ นความรู้
ทีม่ ีความเฉพาะเจาะจงซึ่งแตกต่ างจากคู่แข่ งขัน
 ความรู้เชิงนวัตกรรม (Innovative Knowledge)
เป็ นความรู้ทจี่ ะทาให้ องค์ กรเป็ นผู้นาทางการตลาดได้
นิยามของการจัดการความรู้
การรวบรวมความรู้ ทีซ่ ึ่งมีอยู่กระจัดกระจายอยู่ในตัวคน
หรือเอกสารมาพัฒนาเป็ นองค์ ความรู้ และมีการถ่ ายทอดและ
แบ่ งปันความรู้ อย่ างเป็ นระบบเพือ่ ให้ คนสามารถ เข้ าถึงความรู้
และพัฒนาตนเองให้ เป็ นผู้ปฏิบัติงานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
การจัดการความรู ้
เป็ นกระบวนการสร้างองค์ความรู ้ เผยแพร่องค์ความรู ้ และนาเอาความรู ้
ไปใช้ประโยชน์
ประกอบด้วยการสร้างความรู ้ การประมวล การแลกเปลีย่ น
การสนับสนุ นกระบวนการเรียนรู ้ และการสร้างนวัตกรรม
10
เป้าหมายของการจัดการความรู ้
1)
บรรลุเป้าหมายของงาน
2) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
3) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็ นองค์กร
เรียนรู ้
4) บรรลุความเป็ นชุมชน เป็ นหมู่คณะ ความเอื้ อ
อาทรระหว่างกันในทีท่ างาน
(นพ.วิจารณ์ พานิช, 2556)
4/13/2015
Excellence Training Institution
11
เป้ าหมายของการจัดการความรู้
พัฒนาคน
คนที่มีความรู้
พัฒนางาน
พัฒนาองค์กร
กระบวนการทางาน
ที่มีคณ
ุ ภาพ
องค์กรแห่งการเรียนรู้
พัฒนาสังคม
สังคมความรู้
การจัดการความรูท้ ี่มีมาตรฐาน
1.
2.
3.
4.
5.
มีความสอดคล้ องกับระบบทีม่ ีอยู่เดิม (Compatibility)
เน้ นการแก้ ปัญหาได้ จริง (Problem Orientation)
นาไปใช้ ได้ อย่ างครอบคลุมทัว่ ทุกระบบในองค์ กร
(Comprehensibility)
เน้ นการปฏิบัตจิ ริง (Action Orientation)
มีเครื่องมือที่เหมาะสม (Appropriate Instrument)
13
กรอบความคิดการจัดการความรู ้
การเข้ าถึงความรู้ (Knowledge Accessibility)
การสร้ างความรู้ (Knowledge Generation)
การสะสมความรู้ (Knowledge Accumulation)
การแพร่ กระจายความรู้ (Knowledge Dissemination)
14
กรอบความคิดการจัดการความรู ้
การประยุกต์ ใช้ ความรู้ (Knowledge Application)
การธารงรักษาความรู้ (Knowledge Maintenance)
การสร้ างวัฒนธรรมความรู้ (Knowledge Culture)
15
เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุ นการจัดการความรู ้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
สามารถจัดหาสารสนเทศสาหรับบุคคลและองค์ กร การเข้ าถึงความรู้ ที่
ปรากฏชัดแจ้ ง เช่ น e-Library , Internet
สามารถเชื่อมต่ อระหว่ างคนกับคน ให้ สามารถแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกัน
ได้ เช่ น Intranet, Groupware, Video Conference.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การรวบรวมและการจัดการความรู้ทปี่ รากฏ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การเข้ าถึงความรู้ทปี่ รากฏ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การประยุกต์ ใช้ ความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการจัดการความรู้โดยนัย
16
เครือ่ งมือที่ใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบตั ิ
1.
2.
3.
4.
ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practice)
การใช้ ที่ปรึกษาหรือพีเ่ ลีย้ ง (Mentoring Programs)
การเสวนา (Dialogue)
ฐานความรู้ บทเรียนจากความสาเร็จ (Lesson Learned
and Best Practice Databases)
17
เครือ่ งมือที่ใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบตั ิ
5.
6.
7.
8.
9.
การทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action
Review)
แหล่ งผู้ร้ ู ในองค์ กร (Center of Excellence)
การเล่ าเรื่อง (Story Telling)
เพือ่ นช่ วยเพือ่ น (Peer Assist)
เวทีถาม- ตอบ (Forum)
18
Community of Practice - CoPs
เป็ นเครือ่ งมือหนึง่ ทีใ่ ช้ในการจัดการความรูท้ ีม่ ีการ
กล่าวถึง และนามาใช้กนั อย่างแพร่หลายในองค์การ
ต่างๆ ทัว่ โลก
เป็ นกิจกรรมทีเ่ อื้ อต่อการเรียนรู ้ การสร้าง แลกเปลีย่ น
และใช้ความรูข้ องคน โดยดูว่า “คน” เหล่านั้นมีการ
ปฏิสมั พันธ์ ทางาน และถ่ายทอดความรูร้ ะหว่างกัน
อย่างไร
19
คาจากัดความ CoPs
กลุ่มคนทีม่ ีความปรารถนาร่วมกันในเรือ่ งใดเรื่องหนึง่ ที่
ตนเองรู ้ มาปฏิสมั พันธ์กนั อย่างสมา่ เสมอ เพือ่ ร่วมกัน
เสริมสร้างความรู ้ ความชานาญในเรือ่ งนั้นๆ ให้มากขึ้ น
(Etienne Wenger)
กลุ่มคนทีม่ ีความสนใจร่วมกันในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ทีม่ า
รวมตัวกันเพราะต้องการทีจ่ ะแลกเปลีย่ นและเรียนรูจ้ าก
กันเกีย่ วกับปั ญหาทีม่ ีประสบการณ์ เคล็ดลับ วิธีการ และ
แนวปฏิบตั ิทีด่ ี โดยการพูดคุยกันโดยตรง หรือผ่านเวที
เสมือน
13/04/58
Excellence Training Institution
20
พัฒนาจาก CoPs ไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู ้
CoP#1
CoP#3
บ่ งชี้
ยกระดับ
สร้ าง
CoP แลกเปลีย่ น
CoP#4
CoP#5
Learning Organization
CoP#6
CoP#7
CoP#9
CoP#8
CoP#11
CoP#10
ใช้
13/04/58
CoP#2
Excellence Training Institution
21
องค์ประกอบพื้ นฐานของ CoPs
มี “สาระ” ประเด็นหรือหัวข้ อความรู้ (Knowledge Domain)
ทีส่ มาชิกมีความสนใจร่ วมทีจ่ ะพูดคุย แลกเปลีย่ นกัน
มีการปฏิสัมพันธ์ และสร้ างความสั มพันธ์ ในกลุ่ม คือเป็ น
“ชุมชน (Community)” นั่นคือสมาชิกซึ่งมาจากต่ าง
หน่ วยงานหรือองค์ กร มีความเอือ้ อาทร ช่ วยเหลือซึ่ งกัน
และกันในการแก้ ไขปัญหาและตอบคาถาม
13/04/58
Excellence Training Institution
22
องค์ประกอบพื้ นฐานของ CoPs
มี “แนวปฏิบัติ (Practice)” ทีส่ มาชิกซึ่งเป็ นผู้ปฏิบัติ งานจริง
ในเรื่องนั้นๆ นาความรู้ ทไี่ ด้ จากการปฏิบัตงิ าน เช่ น เคล็ดลับ
แนวทางแก้ ไขปัญหา และแนวปฏิบัติที่เป็ นเลิศ เป็ นต้ น มา
แลกเปลีย่ นและพัฒนา รวมทั้งสร้ างฐานข้ อมูล ความรู้ หรือ
แนวปฏิบัตริ ่ วมกัน
13/04/58
Excellence Training Institution
23
ประเภทของ CoPs
1.
2.
Helping Communities: CoP ทีม่ ลี กั ษณะแบบเพือ่ น
ช่ วยเพือ่ นเพือ่ แก้ ปัญหาในงานประจาวัน แลกเปลีย่ น
แนวคิด ความรู้ และให้ ความช่ วยเหลือในกลุ่มสมาชิก
Best Practice Communities: CoP ทีเ่ น้ นการพัฒนา
ทวนสอบ และเผยแพร่ แนวปฏิบัติที่เป็ นเลิศ รวมทั้งนา
แนวปฏิบัติดังกล่ าวไปปฏิบัติ
13/04/58
Excellence Training Institution
24
ประเภทของ CoPs
3.
4.
Knowledge-stewarding Communities: มีวตั ถุประสงค์
เพือ่ จัดระเบียบ ยกระดับ และพัฒนาความรู้ ทสี่ มาชิกใช้
เป็ นประจา
Innovation Communities: สนับสนุนให้ สมาชิก
สร้ างสรรค์ ความคิด ความรู้ และแนวปฏิบัตแิ บบก้ าว
กระโดด โดยการผสมผสานความคิด และมุมมองที่
หลากหลายของสมาชิกข้ ามหน่ วยงานหรือองค์ กร
13/04/58
Excellence Training Institution
25
ระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิกใน CoP
แกนหลัก
ขาประจา
ขาจร
สั งเกตการณ์ ไม่ แสดงความเห็น
ดูห่างๆ
13/04/58
Excellence Training Institution
26
Learning Organization:
เป็ นองค์ ก ารซึ่ ง คนในองค์ ก ารสามารถขยาย
ขอบเขตความสามารถของเขา เพือ่ ก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่
ต้องการได้อย่างแท้จริง เป็ นที่ๆ ส่งเสริมให้เกิดและ
ขยายแนวความ คิดใหม่ๆ ออกไป สามารถแสดงออก
ทางความคิด ได้อย่างอิสระ และเป็ นที่ๆ คนจะเรียนรู ้
ด้วยกันอย่างต่อเนือ่ ง
27
Learning Organization
1.
2.
3.
4.
5.
การใฝ่ เรียนใฝ่ รู้ (Personal Mastery)
ความเชื่อฝังใจ (Mental Models)
วิสัยทัศน์ ร่วม (Shared Vision)
การเรียนรู้ ของทีม (Team Learning)
การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking)
Peter M. Senge
28
กระบวนการจัดการความรู ้
1.
2.
3.
4.
การบ่งชี้ ความรู:้ เราต้องมีความรูเ้ รือ่ งอะไร และเรามีความรูเ้ รือ่ ง
นั้นแล้วหรือยัง
การสร้างและแสวงหาความรู:้ ความรูท้ ีเ่ ราต้องการรูน้ ้นั อยู่กบั ใคร
อยู่ในรูปแบบอะไร แล้วจะนามาเก็บรวมกันได้อย่างไร โดยการ
ค้นคว้าจากตารา อินเทอร์เน็ต สัมภาษณ์ผูร้ ู ้ ผูเ้ ชี่ยวชาญ
การจัดความรูใ้ ห้เป็ นระบบ: โดยการจัดหมวดหมู่ แบ่งประเภทเพือ่
จัด ทาให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหา และใช้งาน
การประมวลและกลันกรองความรู
่
:้ นาความรูม้ าจัดทารูปแบบ
และ “ภาษา” ให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันทั้งองค์กร พร้อมทั้งเรียบ
เรียงและปรับปรุงเนื้ อหาให้ทนั สมัย
29
กระบวนการจัดการความรู ้
5.
6.
7.
การเข้าถึงความรู:้ นาความรูท้ ีป่ ระมวลและกลันกรองแล้
่
วมา
เผยแพร่เพือ่ ให้คนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรูไ้ ด้อย่างสะดวก
และรวดเร็ว เช่น หนังสือเวียน บอร์ด อินทราเน็ต
การแบ่งปั นแลกเปลีย่ นความรู:้ นาความรูม้ าแบ่งปั น โดยใช้
เครือ่ งมือเช่นชุมชนนักปฏิบตั ิ เว็บไซต์ เวทีแลกเปลีย่ น
การเรียนรู:้ นาความรูม้ าใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั ิงาน
การตัดสินใจ การแก้ไขปั ญหาเพือ่ ปรับปรุงงาน หรือองค์กรให้ดีขึ้น
30
1. การกาหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ / การบ่งชี้ความรู้
 เป็ นกระบวนการค้นหา หรือกาหนดว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้าง
อยู่ในรูปแบบใด และอยู่ที่ใคร
ประเด็นประกอบการพิจารณา
สอดคล้องกับประเด็นวิสยั ทัศน์ / พันธกิจ
เป็ นความรู้ที่สาคัญและจาเป็ นต่อกระบวนการทางาน
เป็ นความรู้ที่สามารถนามาใช้เพื่อการแก้ปัญหา
www.themegallery.com
Company Logo
การกาหนดสิ่งที่ต้องเรียนรู้ (Knowledge Identification)
ยุทธศาสตร์ ของ
องค์ กรที่จาเป็ นต้ องทา
ความรู้ทตี่ อบสนอง
ยุทธศาสตร์ ขององค์ กร
Strategic gap
Knowledge gap
ขีดความสามารถของคน
ในองค์ กรที่สามารถทาได้
ความรู้ขององค์ กร
ทีม่ ีอยู่จริง
www.themegallery.com
Company Logo
รูปแบบการสร้างความรู้
 Socialization (ความรู้โดยนัย
ความรู้โดยนัย)
Brainstorming (การประชุมระดมสมอง)
Informal meeting (การประชุมอย่างไม่เป็ นทางการ)
Discussions (การอภิปราย)
Dialogues (การเสวนา)
Observation (การสังเกต)
On-the-job training (การฝึ กอบรมโดยการทางาน)
Coaching (ผูฝ้ ึ ก / ผูส้ อนงาน)
Mentoring (พี่เลี้ยง)
Company Logo
รูปแบบการสร้างความรู้
 Externalization (ความรู้โดยนัย
ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน)
Meeting (การประชุม)
Workshops (การประชุมเชิงปฏิบตั ิ การ)
Best practice exchange (การแลกเปลี่ยนแนวทางการทางาน
ที่เป็ นเลิศ)
After-action reviews (AAR) (การทบทวนหลังการปฏิบตั ิ )
Before-action reviews (BAR) (การทบทวนก่อนการปฏิบตั ิ )
Company Logo
รูปแบบการสร้างความรู้
 Combination (ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน
ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน)
Virtual Library (ห้องสมุดเสมือน)
Publications (สิ่งพิมพ์)
 Internalization (ความรู้ที่ปรากฏชัดเจน
ความรู้โดยนัย)
Knowledge zone (มุมความรู้)
Client / customer feedback review (การทบทวนข้อแนะนา)
Company Logo
2. การแสวงหาความรู้
1. การจัดหา (Acquisition)
การไปเรียนรูห้ รือลอกเลียนมาจากองค์กรอื่น แล้วนา ความรูน้ ้นั มาปรับใช้ภายในองค์กร
การเข้าไปซื้ อหรือควบกิจการ การว่าจ้างบุคลากรที่มีความรูท้ ี่ตอ้ งการเข้ามาทางานภายในองค์กร
2. การเช่า (Rental) หรือการเช่าความรู ้
การให้ทุนสนับสนุนแก่สถาบันการศึกษาเพือ่ พัฒนาความรูท้ ี่ตอ้ งการ
การจ้างที่ปรึกษาเข้ามาให้คาปรึกษาในเรือ่ งที่ตอ้ งการ
3. การพัฒนา (Development)
เป็ นการพัฒนาความรูข้ ึ้ นมาภายในองค์กรเองโดยอาจจะมีการลงทุนในด้านของการวิจยั และพัฒนา
4. การหลอมรวมกัน (Fusion)
เป็ นการนาบุคลากรที่มีความรูแ้ ละประสบการณ์ที่แตกต่างกันเข้ามาประชุม หรือทางาน
ร่วมกันเพือ่ ก่อให้เกิดความรูใ้ หม่ๆ ขึ้ น
www.themegallery.com
Company Logo
3. การจัดความรู้ให้เป็ นระบบ
 การจัดเก็บ (Storage)
เป็ นการกาหนดสิ่งสาคัญที่จะจัดเก็บไว้เป็ นองค์ความรู้ขององค์กร
ซึ่งจะต้องพิจารณาถึงวิธีการในการเก็บและการนามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ ตามความต้องการ
ข้อคานึ งในการจัดเก็บ
1. โครงสร้างและการจัดเก็บความรู้ ควรเป็ นระบบที่สามารถค้นหา
และส่งมอบได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
2. จัดให้มีการจาแนกรายการต่างๆ เช่น ข้อเท็จจริง นโยบาย หรือ
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ งานที่อยู่บนพืน้ ฐานความจาเป็ นในการเรียนรู้
3. การจัดการที่สามารถส่งมอบให้กบั ผูใ้ ช้ได้อย่างชัดเจน กระชับ
ถูกต้อง ทันเวลา และเหมาะสมตามที่ต้องการ
3. การจัดความรู้ให้เป็ นระบบ
การค้นคืน (Retrieval)
เป็ นลักษณะของการเข้าถึงสิ่งที่ผใู้ ช้ต้องการเพื่อนามาประยุกต์
ใช้ในการปฏิบตั ิ งานต่อไป องค์การควรทาให้พนักงานทราบถึง
ช่องทางหรือวิธีการสาหรับการค้นหาความรู้ต่างๆ ทัง้ ในรูปแบบ
ที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ
4. การประมวลและกลันกรองความรู
่
้
ข้ อมูลดิบ
Database
Knowledge-based
Case-based
Best-Practices
Expert
M-base
Verification
Expert
Utilization & Sharing
Web Browser
Administrator
User
5. การเข้าถึงความรู้
Knowledge Push
เป็ นการส่งมอบความรู้ไปยังผูร้ บั โดยผูร้ บั ไม่ได้ร้องขอ
หรือมีความต้องการ เป็ นการส่งมอบในลักษณะ Supply-based
Knowledge Pull
เป็ นการส่งมอบความรู้ไปยังผูร้ บั ตามความต้องการ หรือตามความ
สนใจ เป็ นการส่งมอบในลักษณะ Demand-based
6. การแบ่งปันความรู้
ชุมชนการปฏิบตั ิ (Communities of Practice - COP)
กลุ่มคนที่มีความสนใจร่วมกันมารวมกลุ่มกันอย่างไม่
เป็ นทางการ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการแบ่งปันความรู้
และแก้ปัญหาร่วมกัน ซึ่งก่อให้เกิดการถ่ายโอนความรู้
ขององค์กรหรือชุมชน
Company Logo
7. การเรียนรู้
องค์ ความรู้
การเรียนรู้ และ
นวัตกรรม
อย่างต่ อเนื่อง
การนาความรู้
ไปใช้
เกิดการเรียนรู้ และได้ รับ
ประสบการณ์ ใหม่ ๆ
วงจรการเรียนรู้
การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้เพื่อ
การพัฒนาคุณภาพคน…
และคุณภาพงาน
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพงาน
กิจกรรม... การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการทางาน
1. การเรียนรู้โดยการเน้ นการปฏิบตั ิ (Action Learning)
2. การวิเคราะห์ความผิดพลาดจากการทางาน
(Analyzing Mistakes)
3. การระดมสมองในการทางาน (Brainstorming)
4. การพัฒนาระบบพี่เลี้ยง (Coaching / Mentoring)
5. การหมุนเวียนการทางาน (Rotating jobs)
6. การพัฒนาการทางานเชิงโครงการ (Project work)
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพงาน
7. การทางานเป็ นทีม (Team working)
8. การจัดทาแฟ้ มผลงาน (Portfolios)
9. การทาสัญญาการเรียนรู้ (Learning Contracts)
10. การสร้างวิสยั ทัศน์ การเรียนรู้ (Visioning)
11. การมีที่ปรึกษาภายนอกองค์กร (External Consultants)
12. การสร้างเครือข่ายการทางาน (Networking)
กิจกรรมการจั
้ ้
เป้ าหมายการจัดการความรู
้
กดิ จการความรู
กรรมการจัดการความรู
พัฒนางาน
จัดทาคู่มือการทางาน
จัดทา Best Practices
จัดทา Lesson Learned
พัฒนาคน
สร้างเวทีการแลกเปลี่ยนความรู้
การเรียนรู้และฝึ กอบรม
คลังความรู้ (Knowledge Asset)
กรณี ศึกษา (Case-based)
การปฏิบตั ิ ที่เป็ นเลิศ (Best Practice)
บทเรียนการเรียนรู้ (Lesson learned)
แนวทางการแก้ปัญหาในการทางาน (Solution-based)
ทาเนี ยบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert)
พัฒนาฐานความรู้
www.themegallery.com
Company Logo
เครื่องมือทางการจัดการความรู้
Codification (Explicit)
Personalization (Tacit)
1. การจัดเก็บความรู้และ Best
Practices ไว้ในรูปของเอกสาร
1. การจัดตัง้ ทีมทางานข้ามสายงาน
2. แผนที่คนที่มีความรู้
2. ชุมชนนักปฏิบตั ิ (CoP)
3. ทาเนี ยบผูเ้ ชี่ยวชาญ
3. ระบบพี่เลี้ยง
4. ฐานความรู้
4. การหมุนเวียนเปลี่ยนงาน
5. เวทีสาหรับการแลกเปลี่ยนความรู้
www.themegallery.com
Company Logo
แผนปฏิบตั ิ งานการจัดการความรู้
1. แผนการสื่อสารการจัดการความรูท้ วทั
ั ่ ง้ องค์กร
2. แผนการสร้างความรู้
3. แผนพัฒนาคลังความรู้
4. แผนการถ่ายทอดความรู้
Click to add Title
5. แผนการพัฒนาเครือข่ายการแบ่งปันและแลกเปลี่ยน
ความรู้
แนวทางในการดาเนินงานการจัดการความรู้
1. แต่งตัง้ คณะทางาน หรือผูร้ บั ผิดชอบโครงการ
2. ให้ความรู้เรื่อง “การจัดการความรู้” แก่ผท้ ู ี่เกี่ยวข้อง
และบุคลากรในทุกระดับ
3. สื่อสารเรื่อง “การจัดการความรู้” ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ ทัง้ ที่เป็ น
ทางการและไม่เป็ นทางการ
4. จัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
Click to add Title
5. สร้างกระแสให้เกิดการใช้และการแบ่งปันความรู้ให้เกิดขึน้
ทัวทั
่ ง้ องค์กร
6. ประชาสัมพันธ์ ติดตามผล และรายงานกิจกรรมต่างๆ ให้
ผูบ้ ริหารได้รบั ทราบ
7. มีการกาหนดเกณฑ์การให้รางวัลตามความเหมาะสม
ปัจจัยแห่งความสาเร็จของการจัดการความรู้
1. ผูน้ าทุกระดับเห็นความสาคัญและให้การสนับสนุนอย่างจริงจังและต่อเนื่ อง
2. มีแผนการจัดการความรู้ที่ชดั เจน ทุกคนสามารถรับรู้และเข้าใจถึงเป้ าหมาย
ได้ตรงกัน
3. มีการนาแผนไปปฏิบตั ิ ในทุกระดับของหน่ วยงาน
4. ทาให้แผนการจัดการความรู้ฝังอยู่ในเนื้ องานประจา
5. ความมุ่งมันต่
่ อความสาเร็จของการจัดการความรู้ทกุ ระดับ
6. มีการสื่อสารความรู้ในบรรยากาศที่เป็ นมิตร เปิดเผย โปร่งใส และไว้วางใจ
ซึ่งกันและกัน
7. มีการติดตามและประเมินผลการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่ องและสมา่ เสมอ
8. การมีทีมการจัดการความรู้ที่เข้มแข็ง
สรุปกระบวนการจัดการความรู้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การบ่ งชี้ความรู้ / การกาหนดสิ่ งที่ต้องเรียนรู้
การสร้ างและแสวงหาความรู้
การจัดความรู้ ให้ เป็ นระบบ
การประมวลและกลัน่ กรองความรู้
การเข้ าถึงความรู้
การแบ่ งปันความรู้
การเรียนรู้