การต่ อกิง่ และติดตา (GRAFTING and BUD GRAFTING or BUDDING) เทคนิคและวิธีการต่ อกิง่ (GRAFTING) ชาวจีนรู้ วธิ ีการต่ อกิง่ เป็ นครั้งแรก การต่ อกิง่ เป็ นที่ นิยมมากในยุคของจักรวรรดิโรมันและมีบันทึกอธิบาย วิธีการต่

Download Report

Transcript การต่ อกิง่ และติดตา (GRAFTING and BUD GRAFTING or BUDDING) เทคนิคและวิธีการต่ อกิง่ (GRAFTING) ชาวจีนรู้ วธิ ีการต่ อกิง่ เป็ นครั้งแรก การต่ อกิง่ เป็ นที่ นิยมมากในยุคของจักรวรรดิโรมันและมีบันทึกอธิบาย วิธีการต่

การต่ อกิง่ และติดตา
(GRAFTING and BUD GRAFTING or BUDDING)
เทคนิคและวิธีการต่ อกิง่ (GRAFTING)
ชาวจีนรู้ วธิ ีการต่ อกิง่ เป็ นครั้งแรก การต่ อกิง่ เป็ นที่
นิยมมากในยุคของจักรวรรดิโรมันและมีบันทึกอธิบาย
วิธีการต่ อกิง่ อย่ างถูกต้ อง
ประโยชน์ ของการติดตาต่ อกิง่
1. การขยายพันธุ์พชื ทีใ่ ช้ วธิ ีอนื่ แล้ วไม่ สะดวก
2. ต้ องการประโยชน์ บางอย่ างจากต้ นตอ เช่ น ระบบรากทีด่ ี
และทนสภาพแวดล้ อม ทนโรคและแมลง ผลขนาดใหญ่
ขึน้ และมีคุณภาพดี
3. เพือ่ เปลีย่ นพันธุ์พชื
4. เร่ งวัยเจริญพันธุ์ของต้ นกล้ าทีผ่ สมพันธุ์ในการปรับปรุง
พันธุ์พชื
5. เปลีย่ นรูปทรงของต้ นไม้ เช่ น แคลลัสต่ อกิง่ ได้
ต้ นไม้ รูปทรงแปลกๆ
6. ซ่ อมแซมส่ วนของพืชทีถ่ ูกทาลาย เช่ น การเสริม
ราก เปลือกลาต้ น
7. ใช้ ศึกษาเรื่องโรคไวรัส
ไวรัสสามารถถ่ ายทอดจากต้ นหนึ่งไปยังอีก
ต้ นหนึ่งได้ โดยการต่ อกิง่ แต่ บางพันธุ์มีโรคนีแ้ ต่ ไม่
แสดงอาการ จึงใช้ กงิ่ ที่สงสั ยว่ าจะเป็ นโรคหรือไวรัส
ต่ อหรือทาบบน indicator plants ซึ่งอ่ อนแอต่ อเชื้อ
ไวรัสมาก ถ้ าได้ รับเชื้อจะแสดงอาการอย่ างชั ดเจน
คาศัพท์ ที่ใช้ ในเรื่องการต่ อกิง่ และติดตา
 การต่ อกิง่ เสี ยบกิง่ เสี ยบยอด (Gragting) คือ การต่ อชิ้นเนือ้ เยื่อของพืช 2 ชิ้น
เข้ าด้ วยกันด้ วยวิธีต่างๆ เมื่อแผลเชื่อมกันสนิทแล้วจะเติบโตเป็ นต้ นเดียวกัน
 กิง่ พันธุ์ดีหรือไซออน (Scion) ประกอบตัวที่พกั ตัวมากกว่ า 1 ตาขึน้ ไป
 ต้ นตอ (stock, rootstock, understock) คือ ส่ วนรากของรอยต่ อซึ่งทาหน้ าที่
เป็ นราก ได้ มาจากการเพาะเมล็ด
 อินเตอร์ สต็อก (interstock, intermediate stock, interstem) คือ กิง่ ชิ้นกลาง
ทีใ่ ช้ ต่อระหว่ างกิง่ พันธุ์ดีกบั ต้ นต่ อ เพือ่ แก้ปัญหาการเข้ ากันไม่ ได้ ของกิง่ พันธุ์
ดีกบั ต้ นตอ
 แคมเบียม (vascular cambium) คือ เนือ้ เยื่อบางๆระหว่ างเปลือกไม้ กบั เนือ้ ไม้
เป็ นเชลล์ที่กาลังเจริญสามารถแบ่ งเซลล์และสร้ างเซลล์ใหม่ การต่ อกิง่ ต้ อง
วางเนือ้ เยือ่ แคมเบียมของกิง่ พัน์ุดีแนบกับแคมเบียมของต้ นตอ
 แคลลัส (callus) เป็ นกลุ่มเซลล์พาเรนไคมาทีเ่ กิดบริเวณรอบๆเนือ้ เยือ่ พืชที่
เป็ นแผล การประสานกันของเนือ้ เยื่อแคลลัสเป็ นขั้นตอนสาคัญในการสมาน
รอยต่ อของกิง่ พันธุ์ดแี ละต้ นตอ
การเกิดรอยต่ อของกิง่

การเชื่อมกันของกิง่ พันธุ์ดกี บั ต้ นตอเหมือนกับการสมาน
แผล เวลาต่ อกิง่ ติดตาต้ องจับประกบกันแล้ วมัดให้ แน่ น เซลล์
บริเวณแคมเบียมของแผลจะสร้ างเซลล์พาเรนไคมาจานวนมาก
เป็ นแคลลัส และจะเปลีย่ นแปลงเป็ นแคมเบียม ซึ่งต่ อมาจะสร้ างท่ อ
นา้ และท่ ออาหาร

การสมานแผลของรอยต่ อนั้น ชิ้นส่ วนของพันดีและต้ นตอ
ที่เตรียมและนามาแนบกันสนิทไม่ ได้ เคลือ่ นทีห่ รือเติบโตเข้ าหากัน
แต่ เกิดจากเซลล์ ที่เกิดขึน้ หลังการต่ อกิง่ และในบริเวณรอยต่ อไม่ มี
การคละกันระหว่ างส่ วนประกอบของเซลล์ เซลล์ ที่เกิดจากกิ่งพันธุ์
ดีและต้ นตอต่ างมีลกั ษณะจาเพาะของตนอยู่อย่ างครบถ้ วน
ความสั มพันธ์ ของกิง่ พันธุ์ดกี บั ต้ นตอ
การต่ อกิง่ และติดตา จะทาให้ พชื ทีม่ ีลกั ษณะทางพันธุกรรม
แตกต่ างกันเข้ าด้ วยกันทาให้ มีนิสัยการเติบโตที่ผดิ ไปจากพันธุ์ดี
บางครั้งก็มีคุณค่ าทางพืชสวน และบางครั้งก็ไม่ เป็ นลักษณะที่
ต้ องการ นิสัยการเติบโตที่เปลีย่ นไปคือ
ก . พืชทั้งสองเข้ ากันไม่ ได้
ข . กิง่ พันธุ์ดหี รือต้ นตอมีคุณสมบัตพิ เิ ศษทีไ่ ม่ พบในอีกฝ่ าย
เช่ น ต้ านทานโรค แมลง หรือไส้ เดือนฝอย ทนต่ อสภาพอากาศหรื อ
ดินที่ไม่ เหมาะสม
ค . มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างกิง่ พันธุ์ดแี ละต้ นตอจะเปลีย่ นขนาด
การเจริญเติบโต ผลผลิตคุณภาพของผล
อิทธิพลของต้ นตอ
อิทธิพลของต้ นตอทีม่ ีต่อกิง่ พันธุ์ดี
ขนาดและนิสัยการเติบโต
อิทธิพลทีส่ าคัญทีส่ ุ ดของต้ นตอที่ต่อกิง่ พันธุ์ดี คือ เปลีย่ นขนาดรวมทั้งรู ปทรง
การเจริญเติบโตของต้ นพืช เนื่องจากต้ นตอเปลีย่ นแปลงความแข็งแรงของกิง่ พันธุ์ดี และ
อาจมีอทิ ธิพลต่ อการให้ ผล เช่ น ให้ ผลเร็ว เกิดดอก ติดผล และจานวนผลผลิต
ขนาด คุณภาพ และการแก่ ของผล
อิทธิพลของต้ นตอทีม่ ีต่อลักษณะผลของกิง่ พันธุ์ดมี ีความแตกต่ างกันไปตาม
ชนิดของพืช แต่ ในต้ นทีต่ ่ อกิง่ จะไม่ มกี ารถ่ ายทอดคุณสมบัตผิ ลของต้ นตอไปยังผลของ
กิง่ พันธุ์ดี
อิทธิพลอืน่ ๆ
ต้ นตอมีอทิ ธิพลต่ อการทนทานอากาศหนาวของกิง่ พันธุ์ดี
อิทธิพลของกิง่ พันธุ์ดตี ่ อต้ นตอ
อิทธิพลทาให้ ต้นตอแข็งแรง
เช่ น ถ้ าต่ อกิง่ พันธุ์ดที แี่ ข็งแรงบนต้ นตอทีอ่ ่ อนแอจะกระตุ้นต้ น
ตอให้ แข็งแรงขึน้ และมีขนาดใหญ่ ขนึ้ กว่ าเมื่อไม่ มีการต่ อกิง่
อิทธิพลต่ อการทนทานอากาศหนาวของต้ นตอ
อิทธิพลของอินเตอร์ สต็อกทีม่ ตี ่ อกิง่ พันธุ์ดแี ละต้ นตอ
พันธุ์พชื ทีม่ ีลกั ษณะแคระบางต้ นเมื่อใช้ เป็ นอินเตอร์ สต็อก
ระหว่ างกิง่ พันธุ์ดที แี่ ข็งแรงและต้ นตอทีแ่ ข็งแรง สามารถทาให้ ได้
ต้ นเตีย้ และให้ ผลเร็ว วิธีนีใ้ ช้ ขยายพันธุ์พชื ต้ นเตีย้ เป็ นการค้ า
ด้ วย
ปัจจัยควบคุมการเจริญเติบโต
 ฮอร์ โมน IAA ซึ่งกระตุ้นการเติบโตและถูกทาลายได้ โดยเอนไซม์
 ปริมาณจิบเบอเรลลินภายในลาต้ น ซึ่งเป็ นสารกระตุ้นการเติบโตและ
มีในระดับต่ างๆ รากเป็ นผู้ผลิตจิบเบอเรลลินและปริมาณทีม่ อี ยู่ใน
Transpiration stream ก็มีพอทีจ่ ะควบคุมการเติบโตได้
 ต้ นตอเตีย้ และต้ นตอสู งมีปริมาณสารกระตุ้นการเติบโตและสาร
ยับยั้งการเติบโตต่ างกัน
วิธีการต่ อกิง่ (GRAFTING) มี 6 วิธี ได้ แก่
1. การต่ อกิง่ ไม้ เนือ้ อ่ อน (Herbaceous grafting)
เป็ นวิธีทใี่ ช้ กงิ่ ไม้ เนือ้ อ่ อน ไม้ ช่ ุมนา้ และยอดอ่ อนองไม้ เนือ้ แข็ง
ทัว่ ๆ ไป วิธีการต่ อมีอยู่ 2 วิธีดงั นี้
1.1. การต่ อกิง่ แบบฝานบวบ (Spliced grafting)
1.2. การต่อกิ่งแบบเข้าเดือย (Saddle grafting)
2. การต่ อกิง่ แบบเสี ยบเปลือก (Bark grafting)
 เป็ นวิธีการทีน่ ิยมในการต่ อยอดไม้ ผลทั้งพืชที่มเี ปลือกหนา
และเปลือกบาง
 ข้ อดี คือ เนือ้ ไม้ จะไม่ ถูกผ่ าออกจากกัน โอกาสทีร่ อยต่ อจะเน่ า
หรือถูกทาลายจากเชื้อโรคจึงมีน้อย
 ข้ อเสี ย คือ ต้ องทาการต่ อขณะทีต่ ้ นตอมีเปลือกล่ อนในระยะที่
ต้ นพืชมีการเจริญเติบโตดีเท่ านั้น
 แบ่ งออกได้ เป็ น 5 แบบ ดังนี้
2.1. การต่อกิ่งแบบเสี ยบเปลือก (Bark grafting)
2.2. วิธีเสี ยบเปลือกแปลงวิธีที่ 1 (Modified Bark grafting I)
2.3. วิธีเสี ยบเปลือกแปลงวิธีที่ 2 (Modified Bark grafting II)
2.4. วิธีเสี ยบเปลือกแปลงวิธีที่ 3 หรือวิธีเสี ยบเปลือกแบบตัว T
(Modified Bark grafting III of Modified T graft)
2.5. วิธีเสี ยบเปลือกแปลงวิธีที่ 4 (Modified Bark grafting IV)
3. การต่ อกิง่ แบบเสี ยงข้ าง (Side grafting)
 เป็ นวิธีการต่ อกิง่ ไม้ ประดับทีป่ ลูกอยู่ในกระถาง เช่ น
เฟื่ องฟ้ า โกศล เล็บครุฑ ชะบา ชนิดต่ าง ๆ และต่ อกิง่ ไม้
ผลบางชนิดได้ ดี เช่ น มะม่ วง ทับทิม ลองกอง เป็ นต้ น
วิธีการต่ อกิง่ แบ่ งออกได้ เป็ น 3 แบบ ดังนี้
3.1. การต่ อกิง่ แบบเสี ยบข้ าง (Side grafting)
3.2. การต่ อกิง่ แบบเสี ยบข้ างเข้ าลิน้ (Side tongue grafting)
3.3. การต่ อกิง่ แบบเสี ยบข้ างเข้ าบ่ า (Side veneer
grafting)
4. การต่ อกิง่ แบบเสี ยบลิม่ (Cleft grafting)
 นิยมใช้ สาหรับการต่ อยอดโดยเฉพาะ ไม่ ว่ากิง่ ที่มขี นาด
ใหญ่ หรือเล็ก แต่ ขนาดของกิง่ ทีพ่ อเหมาะจะมีขนาด
เส้ นผ่ าศูนย์ กลางประมาณ 1-4 นิว้ กิง่ พันธุ์ดคี วรเป็ นกิง่ แก่
อายุประมาณ 1 ปี ขณะทาการต่ อต้ นตอควรมีเปลือกไม่
ล่ อนจากเนือ้ ไม้
 นิยมใช้ ต่อพันธุ์พชื ผลัดใบ เช่ น ทับทิม น้ อยหน่ า เป็ นต้ น
แบ่ งออกได้ เป็ น 2 แบบ ดังนี้
4.1. การต่ อแบบเสี ยบลิม่ (Cleft grafting)
4.2. การต่ อกิง่ แบบอินเลย์ (Inlay grafting)
5. การต่ อกิง่ แบบเข้ าลิน้ (Whip of Tongue grafting)
 เป็ นวิธีที่ใช้ ต่อกิง่ ขนาดเล็ก และกิง่ ต้ องมีขนาดเท่ า
ๆ กันและควรใช้ กงิ่ ที่ตรงและเรียบ แบ่ งออกได้
เป็ น 2 แบบ ดังนี้
5.1. การต่ อกิง่ แบบเข้ าลิน้ (Whip of Tongue graft)
5.2. การต่ อกิง่ แบบแชมปิ น (Champin grafting) เหมือนการต่ อ
กิง่ แบบเข้ าลิน้ ทุกอย่ าง แตกต่ างกันทีส่ อดต้ นตอและกิง่ พันธุ์ดใี ห้
ลิน้ ขัดกันจนปลายรอยเฉือนเลยแผลทีเ่ ตรียมไว้ และตัดปลาย
รอยเฉือนส่ วนทีเ่ ลยออกให้ เสมอกับแผล
6. การต่ อกิง่ คา้ ยันและการต่ อซ่ อม
ก. การต่ อกิง่ เพือ่ คา้ ยัน ส่ วนใหญ่ จะทาเพือ่ การเสริมราก เนื่องจากพืชที่
ปลูกไปแล้วมีปัญหาจากระบบราก จึงจาเป็ นต้ องหาต้ นตอทีไ่ ด้จากเพาะ
เมล็ดมาทาการต่ อกิง่ เพือ่ เป็ นการคา้ ยัน สร้ างความแข็งแรงให้ แก่ต้นพืช
ข. การต่ อกิง่ เพือ่ ซ่ อมเปลือกไม้ ของต้ นพืชทีช่ ารุดหรือถูกทาลาย
เทคนิคและวิธีการติดตา
(bud grafting budding)
 การติดตาจะใช้ เพียงตาเดียวติดเปลือกโดยลอกเนือ้ ไม้ ออก
หรือไม่ ลอกก็ได้ ควรทาเมือ่ เปลือกร่ อน สามารถแยกจาก
เนือ้ ไม้ ได้ ง่าย
 การทีเ่ ปลือกร่ อนบ่ งบอกว่ าต้ นไม้ กาลังเติบโต มีเซลล์ แคม
เบียมกาลังแบ่ งตัวและเนือ้ เยือ่ ทีส่ ร้ างใหม่ สามารถแยกออก
ง่ ายเมือ่ ลอกเปลือกออกจากเนือ้ ไม้
 ต้ นตอที่ใช้ สาหรับติดตา
ต้ นตอควรมีการเติบโตตามต้ องการ แข็งแรง ทนต่ อเชื้อโรคใน
ดินและขยายพันธุ์ได้ ง่าย ส่ วนมากใช้ ต้นทีเ่ พาะจากเมล็ดอายุ
ประมาณ 1-2 ปี ก่ อนติดตา
 ฤดูกาลของการติดตา
วิธีการติดตาเกือบทุกวิธีทาในฤดูฝนทีต่ ้ นตอกาลังเจริญเติบโต
และเปลือกร่ อนจากเนือ้ ไม้ ได้ ง่าย
 การเลือกกิง่ ตา
กิง่ ตาควรแข็งแรงและควรเป็ นกิง่ ตาใบไม่ ใช่ กงิ่ ตาดอก ตาใบมี
ขนาดเล็กและมีลกั ษณะแหลม แต่ ตาดอกมีรูปร่ างกลมและอ้ วน
วิธีการติดตา
1. การติดตาแบบตัวที (T)
 เป็ นวิธีการติดตาทีเ่ ปิ ดปากแผลบนต้ นตอแบบตัว T สิ่ งที่
ต้ องคานึงถึงก่ อนทาการติดตาแบบนี้ คือ
- ต้ นตอต้ องสมบูรณ์ ลอกเปลือกไม้ ง่าย ไม่ เปราะหรือฉีก
ขาด และตาพันธุ์ดสี ามารถลอกแผ่ นตาออกได้ ง่าย
- ต้ นตอต้ องมีขนาดไม่ ใหญ่ เกินไป ควรมีเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง
ประมาณ 0.5 นิว้
1.1. การติดตาแบบตัวที (T-Budding)
1.2. การติดตาแบบตัวทีแปลง (Terminal Budding) เป็ น
วิธีการติดตาเหมือนการติดตาแบบตัว T แต่ แตกต่ างกันคือ
วิธีนีจ้ ะใช้ สาหรับตาทีพ่ กั ตัว
2. การติดตาแบบเพลท หรือแบบเปิ ดเปลือกไม้
(Plate Budding)
 เป็ นวิธีที่คล้ ายการติดตาแบบตัว T แต่ ขนาดต้ นตอใหญ่ กว่ า
แบบตัว T เหมาะสาหรับพืชทีม่ ีนา้ ยาง เช่ น ยางพารา ขนุน
หรือพืชที่สร้ างรอยประสานช้ า เช่ น มะขาม และที่สาคัญคือ
ต้ นตอและตาพันธุ์ดตี ้ องลอกเนือ้ ไม้ ออกจากเปลือกได้ ง่าย
 วิธีการทาแผลบนต้ นต่ อในการติดตาแบบเปิ ดเปลือกไม้
มี 4 วิธี
วิธีการทาแผลบนต้ นตอ
1. การทาแผลรู ปเข็มเย็บกระดาษ (Plate Budding)
2. การทาแผลแบบตัว H หรือสะพานเปิ ด (H Budding)
3. การทาแผลแบบเปิ ดหน้ าต่ าง 2 บาน (I Budding)
4. การทาแผลเป็ นรู ปจะงอยปากนก (Triangle Budding)
3. การติดตาแบบแพทซ์ หรือแผ่ นปะ (Patch Budding)
 เป็ นการติดตาอีกแบบหนึ่งโดยนาแผ่ นตาพันธุ์ดปี ะไปบนรอย
แผลของต้ นตอทีเ่ ตรียมไว้ เป็ นรู ปต่ าง ๆ นิยมใช้ กบั พืชทีเ่ กิดรอย
ประสานเร็วและไม่ มีนา้ ยาง เช่ น ต้ นลูกเนยและชบา เป็ นต้ น
3.1. การติดตาแบบแผ่ นปะรู ปสี่ เหลีย่ มผืนผ้ า (Patch Budding)
3.2. การติดตาแบบวงแหวน (Ring Budding)
3.3 การติดตาแบบวงแหวนแปลง (Flute Budding)
3.4. การติดตาแบบลอกเปลือกแบบรู ปโล่ (Skin Budding)
4. การติดตาแบบชิปหรือไม่ ลอกเนือ้ ไม้ (Chip Budding)
 วิธีการติดตาแบบนีน้ ิยมใช้ กบั พืชที่ลอกเปลือกไม้ ออกยาก
หรือเปลือกไม้ บางและเปราะ ขนาดต้ นตอประมาณ 0.5
นิว้ เหมาะสาหรับการติดตาองุ่น เงาะ และไม้ ผลอืน่ ที่ลอก
เปลือกไม้ ยาก
การปฏิบัติหลังจากทาการติดตา
1. ประมาณ 7-10 วัน สั งเกตดูแผ่ นตาทีต่ ดิ ไว้ ถ้ ายังสดหรือมีสีเขียว
แสดงว่ าแผ่ นตาติดและเริ่มประสานกับเยือ่ เจริญของต้ นตอ จึง
ทาการกรีดพลาสติกที่พนั ให้ ตาโผล่ ออกมา
2. กรณีที่ตาที่ตดิ ไม่ แตกยอดออกมาเป็ นยอดอ่ อนจาเป็ นต้ องทาการ
บังคับตา ซึ่งมีข้นั ตอนดังนี้
วิธีการบังคับตา
1. โน้ มยอดของต้ นตอลงมาในทิศทางตรงกันข้ ามกับส่ วนที่ติดตา
2. ควัน่ หรือบากเปลือกต้ นตอเหนือบริเวณที่ทาการติดตา ซึ่งอยู่ด้าน
เดียวกับตาที่ติด
3. ตัดยอดต้ นตอให้ ส้ั นลง โดยมีใบติด 4-5 ใบ เหนือบริเวณติดตา
4. ตัดยอดต้ นตอให้ ส้ั นชิดตาที่ติด
5. บังคับตาโดยใช้ ฮอร์ โมนป้ายที่ตาเพือ่ ให้ ตาแตกออกมาใหม่
6. การบังคับตาอาจต้ องทาหลาย ๆ วิธีช่วยกันเพือ่ ให้ ตาแตกเร็วขึน้
1. วิธีการติดตามีกแี่ บบ เมื่อแยกตามกลุ่ม
ก. 3 แบบ
ข. 4 แบบ
ค. 5 แบบ
ง. 7 แบบ
2. ต้ นตอที่ดคี วรมีลกั ษณะอย่ างไร
ก. เปลือกล่ อน ลอกเปลือกง่ าย ข. มีขนาดใหญ่
ค. เปลือกบาง
ง. เป็ นพืชต่ างวงศ์ กนั
3. ข้ อใดคือประโยชน์ ของการต่ อกิง่ และติดตา
ก. เพือ่ เปลีย่ นพันธุ์พชื
ข. ใช้ ศึกษาโรคเกีย่ วกับไวรัส
ค. ซ่ อมแซม เสริมรากแลคา้ ยันพืช ง. ถูกทุกข้ อ
4. ข้ อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะการต่ อกิง่ คา้ ยัน
ก. มีการใช้ ตะปูเข็มตอกยึด
ข. เฉือนเปลือกบริเวณปากแผลทิง้
ค. ถ้ าลมพัดแรงต้ องใช้ เชือกยึด
ง. ถูกทุกข้ อ
5. ทาไมเราจึงต้ องพันพลาสติกจากล่ างขึน้ บน
ก. เพือ่ ป้ องกันนา้ เข้ าแผล
ข. ป้ องกันการเข้ าทาลายของแมลง
ค. สะดวกในการพันแผล
ง. โรคเข้ าสู่ แผลยากขึน้
6. ปัจจัยใดที่ไม่ มีผลต่ อการสมานแผลในการติดตาและต่ อกิง่
ก. การเข้ ากันไม่ ได้
ข. ชนิดของพืช
ค. โรคและแมลง
ง. แสง
7. ข้ อใดไม่ ใช่ อทิ ธิพลที่ได้ รับจากต้ นตอ
ก. ขนาดและนิสัยการเจริญเติบโต
ข. การดูดนา้ และอาหาร
ค. การลาเลียงอาหาร
ง. กิง่ พันธุ์ดที ี่นามาติดตาหรือต่ อกิง่ มีลกั ษณะผิดไปจากเดิม
8. ปัจจัยใดที่ควบคุมการเจริญเติบโตภายในพืช
ก. อาหาร
ข. การลาเลียงอาหาร
ค. สารควบคุมการเจริญเติบโต ง. ถูกทุกข้ อ
9. Scion คืออะไร
ก. กิง่ พันธุ์ดี ประกอบด้ วยตาที่พกั ตัวอยู่
ข. ต้ นตอ
ค. กิง่ ชิ้นกลางที่ใช้ ต่อระหว่ างกิง่ พันธุ์ดกี บั ต้ นตอ
ง. กลุ่มของเนือ้ เยือ่ บางๆ ที่สมานบาดแผล