การสื่อสารข้อมูล และระบบเครือข่าย

Download Report

Transcript การสื่อสารข้อมูล และระบบเครือข่าย

่
การสือสารข้อมูล
และระบบเครือข่าย
1
การสือ่ สารข้อมูล
• หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมู ลระหว่ าง
สองอุปกรณ์ผ่านตัวกลางส่งข้อมูล ที่ใช้ใน
การสือ่ สาร เช่น สายเคเบิล คลืน่ วิทยุ
2
องค์ ประกอบพืน้ ฐานในการสื่ อสารข้ อมูล
3
องค์ ประกอบพืน้ ฐานในการสื่ อสารข้ อมูล
1. ข่ าวสาร (Massage) : ข้ อความ ตัวเลข รู ปภาพ เสี ยง วีดโี อ
2. ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ ส่งข้ อมูล (Sender) : คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้ อง
วีดโี อ จานดาวเทียม จานไมโครเวฟ
3. ผู้รับหรืออุปกรณ์ รับข้ อมูล (Receiver) : คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ วิทยุ
โทรทัศน์ เครื่องพิมพ์ จานดาวเทียม จานไมโครเวฟ
4. สื่ อกลางหรือตัวกลางในการนาส่ งข้ อมูล (Medium) : สายเคเบิล
สายโทรศัพท์ สายไฟ คลืน่ ไมโครเวฟ คลืน่ ดาวเทียม คลืน่ วิทยุ
5. โปรโตคอล (Protocol) : เป็ นกฎหรือข้ อตกลงที่ใช้ สาหรับในการ
สื่ อสารข้ อมูล เพือ่ ให้ การสื่ อสารระหว่ างอุปกรณ์ มคี วามเข้ าใจใน
ภาษาเดียวกัน และสามารถสื่ อสารกันได้ เช่ น TCP/IP
4
ประเภทของสั ญญาณ
มี 2 ลักษณะ คือ....
5
1. สั ญญาณอนาลอก (Analog Signal)
เป็ นสั ญญาณต่ อเนื่อง เมือ่ ส่ งสั ญญาณไปไกลอาจทาให้
สั ญญาณอ่ อนตัวลง จึงต้ องใช้ เครื่องขยายสั ญญาณ เรียกว่ า
amplifier เป็ นสั ญญาณทีถ่ ูกสั ญญาณอืน่ รบกวนได้ ง่าย การส่ ง
ข้ อมูลอาจเกิดความผิดพลาดได้
6
2. สั ญญาณแบบดิจิตอล (Digitals signal)
เป็ นสั ญญาณที่มีระดับสั ญญาณเพียง 0 หรือ 1 (on / off ) หรือ
ระดับสู งสุ ดและตา่ สุ ด เป็ นสั ญญาณทีใ่ ช้ ในระบบคอมพิวเตอร์
ซึ่งมีความน่ าเชื่อถือสู ง เป็ นสั ญญาณทีส่ ่ งไปไกล ๆ อาจ
ผิดเพีย้ นหรือจางหายได้ ง่าย จึงต้ องใช้ อุปกรณ์ ในการทบทวน
สั ญญาณ เรียกว่ า repeater
7
ตัวกลางในการส่ งข้ อมูล
– ตัวกลางส่ งข้ อมูลแบบมีสาย(Guide Media)
– ตัวกลางส่ งข้ อมูลแบบไร้ สาย(Wireless)
8
ตัวกลางส่ งข้ อมูลแบบมีสาย
– สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair)
• สายคู่บิดเกลียว แบบมีฉนวนโลหะหุ้ม
(Shield Twisted Pair: STP)
• สายคู่บิดเกลียว แบบไม่ มฉี นวนโลหะหุ้ม
(Unshield Twisted Pair: UTP)
– สายโคแอกเชียล (Coaxial)
– สายไฟเบอร์ ออปติก (Optical Fiber)
9
สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Wire)
มีลกั ษณะคล้ ายกับสายโทรศัพท์ มีลวดทองแดงพันกัน
เป็ นคู่เพือ่ ช่ วยลดการรบกวนจากคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า
- UTP (Unshielded Twisted Pair)
- STP (Shield Twisted Pair)
10
แบบที่ 1 : UTP (Unshielded Twisted Pair)
แบบมีฉนวนหุ้มเพียงชั้นเดียว สะดวกต่ อการโค้ งงอ
ราคาถูก ติดตั้งง่ าย แต่ มคี ุณภาพตา่ ใช้ ในระยะทางจากัด
11
แบบที่ 2 : STP (Shield Twisted Pair)
แบบมีฉนวนหุ้ม เป็ นสายทีม่ สี ายดิน ป้องกันสั ญญาณ
รบกวนจากสั ญญาณอืน่ ได้ ดี มีความถูกต้ องในการส่ ง
ข้ อมูลได้ ดี แต่ มรี าคาแพง
12
สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)
มีลกั ษณะคล้ายสายทีวที ี่เชื่อมต่อไปยังเสาอากาศ
13
เส้ นใยแก้ วนาแสง (Fiber Optic)
มีความเร็ วในการส่ งสัญญาณเท่ากับความเร็ วของแสง ส่ งข้อมูล
ได้หลายประเภท มีราคาแพง ติดตั้งและบารุ งรักษายาก
14
ตัวกลางส่ งข้ อมูลแบบไร้ สาย
15
1. คลื่นวิทยุ (Radio wave)
ใช้ เสาอากาศจากเครื่องส่ ง ส่ งข้ อมูลผ่ านอากาศไปยัง
เสาอากาศของเครื่องรับประสิ ทธิภาพในการส่ งจะ
ขึน้ อยู่กบั ปัจจัยด้ านอืน่ ๆ ด้ วย เช่ น
กาลังของเครื่องส่ ง
สภาพภูมอิ ากาศ
สภาพภูมปิ ระเทศ
และความถี่ทใี่ ช้ ในการส่ งเป็ นต้ น
16
คลื่นวิทยุ (Radio wave)
17
2. คลืน่ ไมโครเวฟ
เป็ นการส่ งสั ญญาณในลักษณะ
เส้ นตรง อยู่ไม่ ไกลนัก
18
• ใช้ จานสะท้ อนรู ปพาลาโบลา
เป็ นระบบที่ใช้ วธิ ีส่งสั ญญาณที่มีความถีส่ ู ง
กว่ าคลืน่ วิทยุเป็ นทอดๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีก
สถานีหนึ่ง สถานีหนึ่งๆ จะ ครอบคลุมพืน้ ที่ที่รับ
สั ญญาณได้ 30-50 กม. ความเร็วในการส่ งข้ อมูล
200-300 Mbps
19
20
3. ดาวเทียม
ใช้ หลักการคล้ายกับระบบไมโครเวฟ
ในส่ วนของการยิงสั ญญาณจากแต่ ละสถานีต่อ
กันไปยังจุดหมายทีต่ ้ องการ โดยอาศัยดาวเทียม
ทีโ่ คจรอยู่รอบโลก
21
ดาวเทียม (Satellite)
22
Up-link
Down-link
23
ตัวกลางอื่นๆ
• อินฟราเรด (Infrared Transmission)
ใช้ เทคโนโลยีเช่ นเดียวกับ remote control
ของเครื่องรับโทรทัศน์ จะมีข้อจากัดทีต่ ้ องใช้
งานเป็ นเส้ นตรง ระหว่ างเครื่องรับ และ
เครื่องส่ ง รวมทั้งไม่ อาจมีสิ่งกีดขวางด้ วย
24
หลักเกณฑ์ ในการเลือกสื่ อกลาง
1. อัตราความเร็วในการส่ งผ่ านข้ อมูล
2. ระยะทาง
3. ค่ าใช้ จ่าย
4. ความสะดวกในการติดตั้ง
5. ความทนทานต่ อสภาพแวดล้ อม
25
ทิศทางการสื่ อสารข้ อมูล ?
26
ทิศทางการสื่ อสารข้ อมูล ?
1. การสื่ อสารแบบซิมเพล็กซ์
2. การสื่ อสารแบบฮาล์ ฟดูเพล็กซ์
3. การสื่ อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์
27
การสื่ อสารแบบซิมเพล็กซ์ ( Simplex )
เป็ นการส่ งทีอ่ นุญาตให้ ผ้ ูส่งสามารถส่ งข้ อมูล หรือ
ข่ าวสาร ไปให้ ผ้ ูรับเพียงฝ่ ายเดียว ผู้รับไม่ สามารถโต้ ตอบได้
เช่ น สถานีวทิ ยุ , สถานีโทรทัศน์
28
การสื่ อสารแบบฮาล์ ฟดูเพล็กซ์ (Half-Duplex )
การส่ งที่ผสู้ ่ งและผูร้ ับสามารถโต้ตอบกันได้
แต่ในขณะใดขณะหนึ่ง จะต้องเป็ นไปในทิศทาง
เดียวเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสาร
29
การสื่ อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์
(Full-Duplex )
การส่ งที่ท้ งั ผูส้ ่ งและผูร้ ับสามารถส่ งข้อมูล
ถึงกันได้ท้ งั สองทิศทางในเวลาเดียวกัน เช่น
โทรศัพท์
30
ประเภทของเครือข่ าย
1. ระบบเครือข่ ายระยะใกล้
(LAN – Local Area Network)
2. ระบบเครือข่ ายระดับเมือง
(MAN – Metropolitan Area Network)
3. ระบบเครือข่ ายระยะไกล
(WAN – Wide Area Network)
31
ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (LAN)
32
ระบบเครื อข่าย LAN
• เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ทเี่ ชื่อมต่ อกันเป็ นระบบ
เครือข่ ายในระยะใกล้ ๆ เช่ น ภายในอาคาร
มหาวิทยาลัย สานักงานในอาณาบริเวณเดียวกัน
• ประโยชน์ ทไี่ ด้ จากเครือข่ ายแบบ LAN
– แบ่ งเบาการประมวลผลไปยังเครื่องต่ าง ๆ เฉลีย่ กัน
ไป
– ใช้ อุปกรณ์ ต่าง ๆ ร่ วมกันได้
– ใช้ ซอฟต์ แวร์ ร่วมกันได้
– สามารถใช้ ในการติดต่ อกัน เช่ น E-mail
33
ระบบเครือข่ายระดับเมือง (MAN)
34
ระบบเครื อข่ายระดับเมือง (MAN)
• ระบบเครือข่ ายบริเวณเมืองใหญ่
เช่ นเป็ นเครือข่ ายที่เชื่อมโยงภายในเมือง หรือ
ย่ านใจกลางธุรกิจ ปกติจะเป็ นการเชื่อมโยงระหว่างตึก
ต่ าง ๆ ด้ วยการเชื่อมโยงความเร็วสู งผ่ านสายใยแก้ วนา
แสง
35
ระบบเครือข่ ายระยะไกล (WAN)
36
ระบบเครื อข่ายระยะไกล (WAN)
• เครือข่ ายที่ประกอบด้ วยเครือข่ าย LAN ตั้งแต่ 2 วง
ขึน้ ไปเชื่อมต่ อกันในระยะทางทีไ่ กลมาก เช่ นระหว่ าง
เมือง ระหว่ างประเทศ เครือข่ ายแบบ WAN จะ
เชื่อมต่ อกันด้ วยระบบเครือข่ ายสาธารณะ เช่ น
สายโทรศัพท์ ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม
37
เครือข่าย LAN ไร้สาย (Wireless LAN)
38
Bluetooth
39
Bluetooth
• เป็ นเทคโนโลยีเครือข่ ายแลนและเครือข่ ายส่ วนบุคคล
ประเภทไร้ สาย ทีใ่ ช้ ส่งข้ อมูล โดยใช้ คลืน่ วิทยุในย่ าน
ความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตช์ เชื่อมต่ อในระยะใกล้ ประมาณ
10 เมตร
40
WIFI
41
WIFI
• เป็ นมาตรฐานดิจิทัลแบบไร้ สายที่ช่วยให้ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ สามารถรับส่ งข้ อมูลความเร็วสู งและ
สามารถใช้ อนิ เทอร์ เน็ตด้ วยความเร็วในระยะทาง
ประมาณ 100 เมตร
42
HomeRF
43
HomeRF
• เป็ นมาตรฐานปิ ดที่ใช้ เชื่อมคอมพิวเตอร์ ส่วน
บุคคล จานวนประมาณ 10 ตัว และอุปกรณ์
ในระยะห่ างไม่ เกิน 50 เมตร
44
รูปแบบการเชื่อมต่ อเครื อข่ าย
(Topology)
1. การเชื่อมต่ อแบบบัส (Bus Topology)
2. การเชื่อมต่ อแบบดาว (Star Topology)
3. การเชื่อมต่ อแบบวงแหวน (Ring Topology)
45
การเชื่อมต่ อแบบบัส (Bus Topology)
เป็ นรู ปแบบการเชื่อมต่ อแบบเส้ นตรง
มีสายหนึ่งเป็ นแกนหลัก
คอมพิวเตอร์ ทุกตัวในเครือข่ ายจะเชื่อมต่ อกับแกนหลัก
คอมพิวเตอร์ ทอี่ ยู่ปลายทางทั้งสองด้ านจะต้ องปิ ดด้ วย
Terminator เพือ่ ดูดซับสั ญญานไม่ ให้ สะท้ อนกลับ
46
การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบบัส (Bus)
47
การเชื่อมต่ อแบบดาว (Star Topology)
การเชื่อมต่ อแบบดาวในระบบแลน จะมี ฮับ(Hub)
เป็ นศูนย์ กลาง โดยมีเครื่องสถานีหรือลูกข่ ายเชื่อมต่ อเข้ า
กับฮับ
48
Serv er
การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบดาว (Star)
49
การเชื่อมต่ อแบบวงแหวน
(Ring Topology)
การเชื่อมต่ อเป็ นลักษณะลูป (Loop)
ภายในเครือข่ ายจะประกอบด้ วยสถานีหลายสถานี
เชื่อมต่ อกัน โดยสถานีสุดท้ ายจะต่ อเชื่อมกับสถานีแรก
50
การเชื่อมต่ อเครือข่ ายวงแหวน (Ring)
51
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
1.ใช้อ ุปกรณ์รว่ มกัน
2. ใช้ซอฟต์แวร์รว่ มกัน
3. ใช้ขอ้ มูลร่วมกัน
4. การสื่อสารระหว่างบ ุคคล
52
อปุ กรณ์ พนื้ ฐานทีใ่ ช้ งานบนเครือข่ าย
53
NIC (Network Interface Card)
54
HUB
คือ อุปกรณ์ ทที่ าหน้ าทีค่ วบคุมการติดต่ อสื่ อสาร
ระหว่ างเครื่องคอมพิวเตอร์ เครือข่ ายเดียวกัน จะใช้
เชื่อมต่ อระบบแลนแบบดาว
55
56
Switch
• คล้ายๆ กับ HUB ทาหน้าที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลาย
เครื่ องเข้าด้วยกัน
57
Bridge
• บริ ดจ์ เป็ นอุปกรณ์ที่มกั จะใช้ในการเชื่อมต่อวง
แลน (LAN Segments) เข้าด้วยกันทาให้
สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่ อยๆ โดย
ที่ประสิ ทธิ ภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจาก
การติดต่อของเครื่ องที่อยูใ่ นเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูก
ส่ งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น
58
59
Router
• เราท์ เตอร์ เป็ นอุปกรณ์ ทที่ าหน้ าทีห่ าเส้ นทางในการ
ส่ งข้ อมูล และเป็ นเครื่องทบทวนสั ญญานก่ อนการ
ส่ งข้ อมูล
60
61
Gateway
• เกตเวย์ เป็ นอุปกรณ์ ฮาร์ ดแวร์ ทเี่ ชื่อมต่ อเครือข่ ายต่ างประเภท
เข้ าด้ วยกัน เช่ น
การใช้ เกตเวย์ ในการเชื่อมต่ อเครือข่ าย ทีเ่ ป็ นคอมพิวเตอร์
ประเภทพีซี (PC) เข้ ากับคอมพิวเตอร์ ประเภทแมคอิน
ทอช (MAC) เป็ นต้ น
62
modem
modem คือ อุปกรณ์ทท
ี่ าหน ้าทีใ่ นการ
ั ญาณจากสญ
ั ญาณ analog
แปลงสญ
ั ญาณ digital หรือ สญ
ั ญาณ
เป็ นสญ
ั ญาณanalog
digital เป็ นสญ
63
เครือข่ายอินเตอร์เน็ท
64
•
Internetworking
อินเตอร์เน็ตคือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ย่อยๆ จานวนมากที่เชื่อมต่อกัน ซึ่งสามารถครอบ
คุลมพื้นที่ทั่วโลกให้สามารถสื่อสารระหว่างกันได้
65
ประวัติโดยย่อของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
•
•
•
อินเทอร์เน็ตกาเนิดขึ้นในยุคสงครามเย็น (ปี
ค.ศ.1969) โดยหน่วยงานของกระทรวงกลาโหม
ประเทศสหรัฐอเมริกา
ช่วงแรกนั้นรู้จักกันในนามของ "อาร์พาเน็ต
(ARPANET)"
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเห็นถึง
ความสาคัญ จึงได้มีการนาเอาเครือข่ายของ
ตนเองที่มีอยู่มาเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอาร์
พาเน็ต ทาให้เครือข่ายขยายขนาดมากและถูก
ขนานนามว่า "อินเทอร์เน็ต (Internet)"
66
•
•
อินเทอร์เน็ตเข้ามาในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2530
โดยการเชื่อมต่อของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ไปยัง
มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(NECTEC) ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับ
มหาวิทยาลัยอีก 5 แห่ง เรียกว่า "เครือข่ายไทยสาร"
67
•
พ.ศ. 2537 การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) จึง
ได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชนเปิดบริการอินเทอร์เน็ต
ให้แก่บุคคลที่สนใจทั่วไป หรือผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ต (ISP: Internet Service Provider)
68
TCP/IP
•
คอมพิวเตอร์ที่ต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์
เครื่องอื่นๆ ใน Internet จะต้องติดต่อกันโดยใช้
Protocol เดียวกันที่ชื่อ Transmission Control
Protocol/Internet Protocol (TCP/IP)
69
ตาแหน่งของคอมพิวเตอร์
ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ท
(IP Address)
70
IP Address
•
•
•
กาหนดเป็นเลขฐานสองขนาด 32 บิต
แบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละ 8 บิต คั่นด้วย
เครื่องหมายจุด นิยมเขียนเป็นเลขฐานสิบ แต่
ละชุดจะมีค่าระหว่าง 0-255
ตัวอย่างของหมายเลขไอพี ได้แก่
202.143.154.34
71
ระบบชื่อโดเมน (DNS)
•
•
•
•
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในแต่ละเครื่องจาเป็นต้องมี
IP Address และจาเป็นต้องจา IP Address
เพื่อที่จะติดต่อกัน
หากผู้ใช้ต้องจา IP Address ของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทีต
่ ้องใช้ในการติดต่อคง
เป็นการไม่สะดวก จึงมีการกาหนดชื่อขึ้นใช้แทน
IP Address
เช่น IP Address ที่มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต
ได้รับอนุญาตให้ใช้มีชื่อเป็น rbac.ac.th
ระบบชื่อเช่นนี้ เรียกว่าระบบชื่อโดเมน (Domain
72
Name System หรือ DNS)
ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
(Internet Service Provider: ISP)
•
•
ISP คือผู้ที่ลงทุนวางโครงสร้างพื้นฐานในการ
เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต และขายบริการในการ
เข้าถึงอินเตอร์เน็ตให้กบ
ั ผู้ใช้บริการซึง่ เป็น
บุคคลทั่วไปหรือองค์กร
ในประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตหลาย
ราย เช่น TOT, Internet Thailand, True
Internet, Internet KSC, LoxInfo และอื่นๆ
73
บริการต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
•
•
•
•
FTP (File Transfer Protocol)
Email
IM (Instant Messaging)
WWW
74
FTP (File Transfer Protocol)
•
•
•
FTP คือมาตรฐานโปรโตคอลที่เกี่ยวข้องกับ
การโอนย้ายข้อมูลบนเครือข่ายแบบ TCP/IP
ลักษณะการทางานเป็นแบบ Client-Server
ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลส่งไปเก็บหรือเรียก
กลับมาจากเครื่อง Server ได้
75
Email
•
•
•
อีเมล คือการสื่อสารบน
ระบบเครือข่ายในรูปแบบ
จดหมายอีเล็คโทรนิค ซึ่ง
เป็นวิธีการสื่อสารในแบบ
Store and Forward
ผู้ส่งจะส่งจดหมายไปเก็บไว้
ยัง Mail Server ของผู้รับ
โดยระบุชื่อตาแหน่งอีเมล
เช่น [email protected]
เป็นต้น
•ผู้รับสามารถส่งต่อ
ผู้รับจะต้องเข้าไปเช็ค
จดหมายของตนบน Mail (Forward) ไปยังผู้รับราย
76
อื่นได้
Server
IM (Instant Messaging)
•
IM คือรูปแบบการสนทนาแบบ real time ระหว่าง
บุคคลหรือกลุ่มบุคคล การสนทนามักจะเป็นการส่ง
ข้อความ ภาพ หรือ สื่ออื่นๆ ระหว่างผู้สนทนา
• ผู้ให้บริการ IM
• MSN Messenger
• Yahoo Messenger
• Google Talk
• Facebook
• Camfrog
• Etc.
77
บริการWWW (World Wide Web)
•
WWW (World Wide Web)
• เอกสาร Hypertext ที่เก็บบนเครื่อง Web
Server และต้องทาการอ่านด้วย Web
Browser
• นอกจากเอกสาร Hypertext แล้วในปัจจุบัน
Web Server ยังสมารถสนับสนุนการแสดง
Multimedia และการเชื่อมต่อของโปรแกรม
(Plug-in) อื่นๆได้อีกด้วย
• Web Browser ที่ใช้ในปัจจุบัน
• Windows Internet Explorer, MozillaFirefox, Apple Safari, Google Chrome,
78
Opera
Intranet & Extranet
•
•
Intranet คือ การที่องค์กรหนึ่งนาวิธีการใช้
งาน และใช้ข้อได้เปรียบของเทคโนโลยี
อินเตอร์เน็ต มาใช้ภายในองค์กร โดยจากัด
ขอบเขตการใช้งานอยู่เฉพาะภายในเครือข่าย
ของตนเท่านั้น
Extranet คือระบบเครือข่ายซึ่งเชื่อมเครือข่าย
ภายในองค์กร หรือ อินทราเน็ต (Intranet)
เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ทอ
ี่ ยู่ภายนอกองค์กร
เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ของสาขาของผู้จัด
จาหน่าย หรือของลูกค้า เป็นต้น
79
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยี
อินเทอร์ เน็ต
80
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
•เป็ นการใช้ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ ส่งข้ อความใน
รู ปของจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ ไปยังบุคคลอืน่
81
Video conferencing
•เป็ นการสื่ อสารข้ อมูลโดยการส่ งภาพ เสี ยง และ
ภาพเคลือ่ นไหวจากฝ่ ายหนึ่งไปสู่ อกี ฝ่ ายหนึ่ง
82
Webboard : เว็บบอร์ด
เป็ นบอร์ดที่มีกระทูค้ าถาม หรื อประกาศต่าง ๆ ซึ่งส่ วน
ใหญ่จะเป็ นบอร์ดสาธารณะ
Chat Rooms : ห้องสนทนา
เป็ นการสนทนาผ่านเครื อข่ายอิเทอร์เน็ต การสนทนา
จะผ่านการพิมพ์ขอ้ ความและใช้เสี ยงสนทนาหรื อผ่าน
กล้องวีดีโอ
83