Slide หลักการเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript Slide หลักการเครือข่ายคอมพิวเตอร์

หน่ วยที่ 2
หลักการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
2.1 ความหมายและประเภทของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ประเภทของเครือข่ าย
เครือข่ ายทีใ่ ช้ กนั อยู่ในปัจจุบนั ในแวดวงธุรกิจและองค์ กรต่ าง ๆ มีอยู่หลายประเภท ซึ่งแต่ ละ
ประเภทก็มขี ้ อดี ข้ อเสี ย และความเหมาะสมแตกต่ างกัน เราสามารถจัดประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. เครือข่ ายเฉพาะที่ หรือเครือข่ ายท้ องถิ่น (Local Area Network : LAN)
เป็ นเครือข่ ายทีน่ ิยมใช้ กนั มากในองค์ กรธุรกิจส่ วนใหญ่ ลักษณะการเชื่อมต่ อคอมพิวเตอร์ เป็ นวง LAN
นั้นจะอยู่ในพืน้ ทีใ่ กล้ ๆ กัน เช่ น อยู่ภายในตึกเดียวกัน เป็ นต้ น
2. เครือข่ ายเมือง (Metropolitan Area Network : MAN)
เป็ นกลุ่มของเครือข่ าย LAN ทีน่ ามาเชื่อมต่ อกันเป็ นวงทีใ่ หญ่ ขนึ้ ภายในบริเวณทีใ่ กล้ เคียงกัน
เช่ น ในเมืองเดียวกัน เป็ นต้ น
3. เครือข่ ายบริเวณกว้ าง (Wide Area Network : WAN)
เป็ นเครือข่ ายทีใ่ หญ่ ขนึ้ ไปอีกระดับ โดยเป็ นการรวมเครือข่ ายทั้ง LAN และ MAN มา
เชื่อมต่ อกันเป็ นเครือข่ ายเดียว ดังนั้นเครือข่ ายนีจ้ ึงครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว้ าง บางครั้งครอบคลุมไปทัว่
ประเทศหรือทัว่ โลก เช่ น อินเทอร์ เน็ตก็จัดว่ าเป็ นเครือข่ าย WAN ประเภทหนึ่ง แต่ เป็ นเครือข่ าย
สาธารณะทีไ่ ม่ มใี ครเป็ นเจ้ าของทั้งหมด
2.2 การเชื่อมต่อระบบเครื อข่าย
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบบัส (Bus Network)
ใช้สายสัญญาณต่อเชื่อม ซึ่งเรี ยกว่า “บัส (Bus)” เป็ นทางเดินของข้อมูล
ร่ วมกัน ระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์โดยสัญญาณจะถูกกระจายไปตลอด
ทั้งเส้นทาง
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

ข้ อดีของการเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบบัส (Bus Network)
 การใช้สายส่ งข้อมูลจะใช้ร่วมกันทาให้ใช้สายส่ งข้อมูลได้อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ
ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการบารุ งรักษา
 เครื อข่ายแบบบัสมีโครงสร้างที่ง่ายและมีความน่าเชื่อถือ เนื่ องจากใช้สายส่ งข้อมูล
เพียงเส้นเดียว
 สามารถเพิ่มจุดใช้บริ การใหม่เข้าไปในเครื อข่ายได้ง่าย เนื่ องจากจุดใหม่จะใช้สาย
ส่ งข้อมูลที่มีอยูแ่ ล้วได้
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

ข้ อเสี ยของการเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบบัส (Bus Network)
การหาข้อผิดพลาดทาได้ยาก เนื่องจากในเครื อข่ายจะไม่มีศนู ย์กลางในการควบคุม
อยูท่ ี่จุดใดจุดหนึ่ ง ดังนั้นการตรวจสอบข้อผิดพลาดจึงต้องทาจากหลาย ๆ จุดในเครื อข่าย
 ในกรณี ที่เกิดการเสี ยหายในสายส่ งข้อมูล จะทาให้ท้ งั เครื อข่ายไม่สามารถทางานได้
 เมื่อมีผใู ้ ช้งานเพิ่มขึ้นอาจทาให้เกิดการชนกันของข้อมูลเมื่อมีการับส่ งข้อมูล

โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบสตาร์ (Star Network)
การเชื่อมต่อเครื อข่ายแบบสตาร์ เป็ นการเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ
เข้าสู่คอมพิวเตอร์ที่เป็ นศูนย์กลางโดยใช้ฮบั (Hub) หรื อสวิตช์ (Switch)
เป็ นจุดเชื่อมต่อและจะเรี ยกคอมพิวเตอร์ที่เป็ นศูนย์กลางนั้นว่า
“โฮสต์คอมพิวเตอร์ (Host Computer)”
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

ข้ อดีของการเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบสตาร์ (Star Network)
่ ี่จุดเดียวทาให้ง่าย
 เครื อข่ายแบบสตาร์ จะมีโฮสต์คอมพิวเตอร์ อยูท
ในการติดตั้งหรื อจัดการกับระบบ
 จุดใช้งาน 1 จุด ต่อกับสายส่ งข้อมูล 1 เส้น เมื่อเกิดการเสี ยหายของ
จุดใช้งานใดในเครื อข่าย จะไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานของ
จุดอื่น ๆ
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

ข้ อเสี ยของการเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบสตาร์ (Star Network)
 เนื่ องจากแต่ละจุดจะต่อโดยตรงกับโฮสต์คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้อง
ใช้สายส่ งข้อมูลจานวนมาก ทาให้ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
ในการติดตั้งและบารุ งรักษา
 การเพิม
่ จุดใหม่เข้าในระบบจะต้องเดินสายจากโฮสต์คอมพิวเตอร์
ออกมาส่ งผลให้การขยายระบบทาได้ยาก
ั โฮสต์คอมพิวเตอร์ ถ้าโฮสต์คอมพิวเตอร์
 การทางานขึ้นอยูก่ บ
เกิดเสี ยหายขึ้นก็จะไม่สามารถใช้งานเครื อข่ายได้
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบริง (Ring Network)
การเชื่อมต่อเครื อข่ายแบบริ ง มีการต่อเชื่อมกันเป็ นวงแหวน (Ring Network)
การรับส่ งข้อมูลจะเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน การติดต่อสื่ อสารจะใช้ “โทเค็น
(Token)” เป็ นสื่ อกลางในการติดต่อภายในเครื อข่าย
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

ข้ อดีของการเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบริง (Ring Network)
 ใช้สายส่ งข้อมูลน้อย ความยาวของสายส่ งข้อมูลจะใกล้เคียงกับแบบบัส
แต่จะน้อยกว่าแบบสตาร์ ทาให้เพิ่มความน่าเชื่อถือของการส่ งข้อมูลมากขึ้น
ั เคเบิลเส้นใยแก้วนาแสง เนื่องจากจะช่วยให้ส่งข้อมูล
 เหมาะสาหรับใช้กบ
ได้ดว้ ยความเร็ วสูง ข้อมูลในวงแหวนจะเดินทางเดียว ในการส่ งแต่ละจุด
จะเชื่อมกับจุดติดกันด้วยสายส่ งข้อมูล ทาให้สามารถเลือกได้วา่ จะใช้สายส่ ง
ข้อมูลแบบไหนในแต่ละส่ วนของระบบ เช่น เลือกใช้เคเบิลใยแก้วนาแสง
ในส่ วนที่ใช้ในโรงงานซึ่งมีปัญหาด้านสัญญาณไฟฟ้ ารบกวนมาก เป็ นต้น
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

ข้ อเสี ยของการเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบริง (Ring Network)
 การส่ งข้อมูลบนวงแหวนจะต้องผ่านทุก ๆ จุดที่อยูใ่ นวงแหวน ดังนั้นหากมี
จุดใดจุดหนึ่งเสี ยหาย ทั้งเครื อข่ายก็จะไม่สามารถติดต่อกันได้ จนกว่าจะนา
จุดที่เสี ยหายออกไป หรื อแก้ไขให้ใช้งานได้
 ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจต้องทดสอบระหว่างจุดกับจุดถัดไป เพือ่ หา
ดูวา่ จุดใดเสี ยหาย ซึ่งเป็ นเรื่ องที่ยากและเสี ยเวลามาก
 ยากต่อการเพิม
่ จุดใช้งานใหม่
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

การเชื่อมเครือข่ ายแบบผสม (Mesh Network)
การเชื่อมต่อเครื อข่ายแบบผสม เป็ นเครื อข่ายที่ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน เครื อข่าย
แบบผสมนี้จะใช้การผสมรู ปแบบการเชื่อมต่อหลาย ๆ แบบเข้าด้วยกัน เช่น
ใช้เครื อข่ายแบบบัสผสมกับเครื อข่ายแบบสตาร์ เป็ นต้น
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบไร้ สาย (Wireless Network)
เริ่ มแรกนั้นสามารถรับส่ งข้อมูลได้ 2 Mbps (Megabits per Second) จน
พัฒนาให้สามารถส่ งข้อมูลได้ 11 Mbps ด้วยราคาที่ถูกลง ทาให้เครื อข่ายไร้สาย
ได้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งเครื อข่ายไร้สายนี้จะใช้เทคโนโลยีที่สามารถส่ งข้อมูล
ไปบนความถี่ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ ซึ่งเรี ยกว่า “Spread Spectrum” โดย
ข้อมูลที่แยกส่ งออกไปนั้นจะประกอบกันเหมือนเดิมที่ ตัวรับสัญญาณ
เครื อข่ายไร้สายจะช่วยอานวยความสะดวกและความคล่องตัวในการใช้งาน
เครื อข่าย ไม่วา่ จะอยูท่ ี่ไหนภายในบริ เวณพื้นที่ของเครื อข่ายก็สามารถเข้าถึง
ข้อมูลและใช้ขอ้ มูลได้อย่างเต็มที่เช่นเดียวกับเครื อข่ายปกติ
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบไร้ สาย (Wireless Network)
โครงสร้ างของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (ต่ อ)

การเชื่อมต่ อเครือข่ ายแบบไร้ สาย (Wireless Network)
2.3 OSI Model โปรโตคอลและชนิดของโปรโตคอล
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)



OSI Model เป็ นมาตรฐานที่ใช้อา้ งอิงถึงวิธีการในการส่ งข้อมูลจาก Computer
เครื่ องหนึ่งผ่าน Network ไปยัง Computer อีกเครื่ องหนึ่ง ซึ่ งหากไม่มีการกาหนด
มาตรฐานกลางแล้ว การพัฒนาและใช้งานที่เกี่ยวกับ Network ทั้ง Hardware และ
Software ของผูผ้ ลิตที่เป็ นคนละยีห่ อ้ อาจเกิดปั ญหาเนื่องจากการไม่ compatible กัน
OSI เป็ น model ในระดับแนวคิด ประกอบด้วย Layer ต่างๆ 7 ชั้น แต่ละ Layer จะ
อธิ บายถึงหน้าที่การทางานกับข้อมูล
OSI Model พัฒนาโดย International Organization for Standardization (ISO) ในปี
1984 และเป็ นสถาปั ตยกรรมโมเดลหลักที่ใช้อา้ งอิงในการสื่ อสาระหว่าง Computer
โดยข้อดีของ OSI Model คือแต่ละ Layer จะมีการทางานที่เป็ นอิสระจากกัน ดังนั้น
จึงสามารถออกแบบอุปกรณ์ของแต่ละ Layer แยกจากกันได้ และการปรับปรุ งใน
Layer หนึ่งจะไม่มีผลกระทบกับ Layer อื่นๆ
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)
7 Layer ของ OSI Model สามารถแบ่งได้เป็ น 2 กลุ่ม คือ upper layers
และ lower layers
 Upper layers โดยทัว่ ไปจะเป็ นส่ วนที่พฒ
ั นาใน Software Application
โดยประกอบด้วย Application Layer, Presentation Layer และ Session
Layer
 Lower Layer จะเป็ นส่ วนที่ทาหน้าที่ในการสื่ อสารข้อมูลซึ่ งอาจจะพัฒนา
ได้ท้ งั แบบเป็ น Software และ Hardware

OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

OSI Model ประกอบด้วย 7 Layer คือ
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)


ข้อมูลข่าวสารที่ส่งจาก Application บน Computer เครื่ องหนึ่ง ไปยัง Application บน Computer
จะต้องส่ งผ่านแต่ละ Layer ของ OSI Model ตามลาดับ ดังรู ป
โดย Layer แต่ละ Layer จะสามารถสื่ อสารได้กบั Layer ข้างเคียงในขั้นสูงกว่าและต่ากว่า และ
Layer เดียวกันในอีกระบบ Computer เท่านั้น
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

โดยแต่ละ Layer ของ OSI Model จะมีหน้าที่ต่างกันดังนี้
Physical Layer
ชั้น Physical เป็ นการอธิ บายคุณสมบัติทางกายภาพ เช่น คุณสมบัติทางไฟฟ้ า และ
กลไกต่างๆ ของวัสดุที่ใช้เป็ นสื่ อกลาง ตลอดจนสัญญาณที่ใช้ในการส่งข้อมูล
คุณสมบัติที่กาหนดไว้ในชั้นนี้ประกอบด้วยคุณลักษณะทางกายภาพของสาย,
อุปกรณ์เชื่อมต่อ (Connector), ระดับความตางศักย์ของไฟฟ้ า (Voltage) และอื่นๆ
เช่น อธิ บายถึงคุณสมบัติของสาย Unshield Twisted Pair (UTP)
สรุ ป Physical Layer
ทาหน้าที่ดูแลการส่ งข้อมูลที่เป็ น Bit ไปในช่องทางการสื่ อสาร
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

Datalink Layer
ชั้น Datalink เป็ นชั้นที่อธิบายถึงการส่ งข้อมูลไปบนสื่ อกลาง ชั้นนี้ยงั ได้ถูกแบ่งออกเป็ นชั้นย่อย
(SubLayer) คือ Logical Link Control (LLC) และ Media Access Control (MAC) การแบ่งแยก
เช่นนี้จะทาให้ช้ นั LLC ชั้นเดียวสามารถจะใช้ช้ นั MAC ที่แตกต่างกันออกไปได้หลายชั้น ชั้น
MAC นั้นเป็ นการดาเนินการเกี่ยวกับแอดเดรสทางกายภาพอย่างที่ใช้ในมาตรฐานอีเทอร์เน็ตและ
โทเคนริ ง แอดเดรสทางกายภาพนี้จะถูกฝังมาในการ์ดเครื อข่ายโดยบริ ษทั ผูผ้ ลิตการ์ดนั้น
แอดเดรสทางกายภาพนั้นเป็ นคนละอย่างกับแอดเดรสทางตรรกะ เช่น IP Address ที่จะถูกใช้งาน
ในชั้น Network เพื่อความชัดเจนครบถ้วนสมบูรณ์ของการใช้ช้ นั Data-Link นี้
สรุ ป Data Link Layer
อธิบายการส่ งข้อมูลไปบนสื่ อกลาง เพิ่ม Header และ Trailer เพื่อใช้ในการตรวจสอบต่าง ๆ
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

Network Layer
ในขณะที่ช้ นั Data-Link ให้ความสนใจกับแอดเดรสทางกายภาพ แต่การทางานในชั้น Network จะให้
ความสนใจกับแอดเดรสทางตรรกะ การทางานในชั้นนี้จะเป็ นการเชื่อมต่อและการเลือกเส้นทางนาพาข้อมูลระหว่าง
เครื่ องสองเครื่ องในเครื อข่าย
ชั้น Network ยังให้บริ การเชื่อมต่อในแบบ "Connection Oriented" อย่างเช่น X.25 หรื อบริ การแบบ
"Connectionless" เช่น Internet Protocol ซึ่งใช้งานโดยชั้น Transport ตัวอย่างของบริ การหลักที่ช้ นั Network มีให้คือ
การเลือกส้นทางนาพาข้อมูลไปยังปลายทางที่เรี ยกว่า Routing
ตัวอย่างของโปรโตคอลในชั้นนี้ประกอบด้วย Internet Protocol (IP) และ Internet Control Message
Protocol (ICMP)
สรุ ป Network layer
แปลงข้อมูลเป็ น packet และกาหนดเส้นทาง
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

Transport Layer
ในชั้นนี้มีบางโปรโตคอลจะให้บริ การที่ค่อนข้างคล้ายกับที่มีในชั้น Network โดยมี
บริ การด้านคุณภาพที่ทาให้เกิดความน่าเชื่อถือ แต่ในบางโปรโตคอลที่ไม่มีการดูแลเรื่ องคุณภาพ
ดังกล่าวจะอาศัยการทางานในชั้น Transport นี้เพื่อเข้ามาช่วยดูแลเรื่ องคุณภาพแทน เหตุผลที่
สนับสนุนการใช้งานชั้นนี้กค็ ือ ในบางสถานการณ์ของชั้นในระดับล่างทั้งสาม (คือชั้น Physical,
Data-Link และ Network) ดาเนินการโดยผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคม การจะเพิ่มความมัน่ ใจใน
คุณภาพให้กบั ผูใ้ ช้บริ การก็ดว้ ยการใช้ช้ นั Transport นี้
"Transmission Control Protocol (TCP) เป็ นโปรโตคอลในชั้น Transport ที่มีการใช้
งานกันมากที่สุด"
สรุ ป Transport Layer
ตัดข้อมูลออกเป็ น segment ตรวจสอบความครบถ้วน ให้บริ การเรื่ อง
คุณภาพ
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)


Session Layer
ชั้น Session ทาหน้าที่สร้างการเชื่อมต่อ, การจัดการระหว่างการเชื่อมต่อ และการตัดการเชื่อมต่อ
คาว่า "เซสชัน" (Session) นั้นหมายถึงการเชื่อมต่อกันในเชิงตรรกะ (Logic) ระหว่างปลายทางทั้งสองด้าน
(เครื่ อง 2 เครื่ อง) ชั้นนี้อาจไม่จาเป็ นต้องถูกใช้งานเสมอไป อย่างเช่นถ้าการสื่ อสารนั้นเป็ นไปในแบบ
"Connectionless" ที่ไม่จาเป็ นต้องเชื่อมต่อ เป็ นต้น
ระหว่างการสื่ อสารในแบบ "Connection-less" ทุกๆ แพ็กเก็ต (Packet) ของข้อมูลจะมีขอ้ มูลเกี่ยวกับเครื่ อง
ปลายทางที่เป็ นผูร้ ับติดอยูอ่ ย่างสมบูรณ์ในลักษณะของจดหมายที่มีการจ่าหน้าซองอย่างถูกต้องครบถ้วน
ส่วนการสื่ อสารในแบบ "Connection Oriented" จะต้องมีการดาเนินการบางอย่างเพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อ
หรื อเกิดเป็ นวงจรในเชิงตรรกะขึ้นมาก่อนที่การรับ/ส่งข้อมูลจะเริ่ มต้นขึ้น แล้วเมื่อการรับ/ส่งข้อมูลดาเนินไปจน
เสร็จสิ้นก็ตอ้ งมีการดาเนินการบางอย่างเพื่อที่จะตัดการเชื่อมต่อลง ตัวอย่างของการเชื่อมต่อแบบนี้ได้แก่การใช้
โทรศัพท์ที่ตอ้ งมีการกดหมายเลขปลายทาง จากนั้นก็ตอ้ งมีการดาเนินการบางอย่างของระบบจนกระทัง่ เครื่ อง
ปลายทางมีเสี ยงดังขึ้น การสื่ อสารจะเริ่ มขึ้นจริ งเมือ่มีการทักทายกันของคู่สนทนา จากนั้นเมื่อคู่สนทนาฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึ่งวางหูกต็ อ้ งมีการดาเนินการบางอย่างที่จะตัดการเชื่อมต่อลงชั้น Sussion นี้มีระบบการติดตามด้วยว่าฝั่งใดที่ส่ง
ข้อมูลซีงเรี ยกว่า "Dialog Management“ Simple MailTransport Protocol (SMTP), File Transfer Protocol (FTP) และ
Telnet เป็ นตัวอย่างของโปรโตคอลที่นิยมใช้ และมีการทางานครอบคลุมในชั้น Session, Presentation และ
Application
สรุ ป Session Layer
สร้างการเชื่อมต่อเชิงตรรกะระหว่างเครื่ องสองเครื่ อง ทาการ Synchronize ข้อมูลเพื่อป้ องกันปัญหาการเชื่อมต่อหลุด
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

Presentation Layer
ชั้น Presentation ให้บริ การในเรื่ องทาการตกลงกันระหว่างสอง
โปรโตคอลถึงไวยากรณ์ (Syntax) ที่จะใช้ในการรับ/ส่ งข้อมูล
เนื่องจากว่าไม่มีการรับรองถึงไวยากรณ์ที่จะใช้ร่วมกัน การทางาน
ในชั้นนี้จึงมีบริ การในการแปลข้อมูลตามที่ได้รับการร้องขอด้วย
สรุ ป
Presentation Layer
จัดการเกี่ยวกับรู ปแบบของข้อมูลโดยการแปลงข้อมูลให้อยูใ่ นรู ปแบบที่เป็ นมาตรฐานที่ทุกเครื่ อง
เข้าใจ
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

Application Layer
ชั้น Application เป็ นชั้นบนสุ ดของแบบจาลอง ISO/OSI เป็ นชั้น
ที่ใช้บริ การของชั้น Presentation (และชั้นอื่นๆ ในทางอ้อมด้วย) เพื่อ
ประยุกต์ใช้งานต่างๆ เช่น การทา E-mail Exchange (การรับ/ส่ งอีเมล์),
การโอนย้ายไฟล์ หรื อการประยุกต์ใช้งานทางด้านเครื อข่ายอื่นๆ
สรุ ป Application Layer
ประกอบไปด้วย Application Protocol ต่าง ๆ ที่มีผนู้ ิยมใช้งาน เช่น E-mail, File Transfer เป็ นต้น
OSI Model (Open Systems Interconnection Model)

จากรู ปเป็ นการเปรี ยบเทียบระหว่าง OSI Model กับการสื่ อสารของ Internet โดยจะแสดงรู ปแบบ
ข้อมูล, data และอุปกรณ์ที่ทางานอยูใ่ นแต่ละ Layer
OSI Model (Open Systems Interconnection Model) (ต่ อ)







Application Layer
ประกอบไปด้วย Application Protocol ต่าง ๆ ที่มีผนู ้ ิยมใช้
งาน เช่น E-mail, File Transfer เป็ นต้น
Presentation Layer
จัดการเกี่ยวกับรู ปแบบของข้อมูลโดยการแปลงข้อมูลให้อยู่
ในรู ปแบบที่เป็ นมาตรฐานที่ทุกเครื่ องเข้าใจ
Session Layer
สร้างการเชื่อมต่อเชิงตรรกะระหว่างเครื่ องสองเครื่ อง ทาการ
Synchronize ข้อมูลเพื่อป้ องกันปัญหาการเชื่อมต่อหลุด
Transport Layer
ตัดข้อมูลออกเป็ น segment ตรวจสอบความครบถ้วน
ให้บริ การเรื่ องคุณภาพ
Network layer
แปลงข้อมูลเป็ น packet และกาหนดเส้นทาง
Data Link Layer
อธิบายการส่ งข้อมูลไปบนสื่ อกลาง เพิ่ม Header และ Trailer
เพื่อใช้ในการตรวจสอบต่าง ๆ
Physical Layer
ทาหน้าที่ดูแลการส่ งข้อมูลที่เป็ น Bit ไปในช่องทางการ
สื่ อสาร
โปรโตคอล (Protocol)

โปรโตคอล คือ ระเบียบ
วิธีการ กฎ และ
ข้อกาหนดต่าง ๆ ใน
การติดต่อสื่ อสารรวมถึง
มาตรฐานที่ใช้เพื่อให้
สามารถส่ งผ่านข้อมูล
ไปยังปลายทางได้อย่าง
ถูกต้อง
โปรโตคอล (Protocol) (ต่ อ)

TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
โปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ในการสื่ อสารระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่
แตกต่างกันใช้ระบบปฏิบตั ิการที่ต่างกันและอยูบ่ นเครื อข่ายที่ต่างกันให้
สามารถสื่ อสารกันผ่านทางเครื อข่ายได้โดย TCP/IP จะประกอบไปด้วย
โปรโคตอล 2 ตัว TCP (Transmission Control Protocol) และ IP
(Internet Protocol)
โปรโตคอล (Protocol) (ต่ อ)
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol)
โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ งเว็บเพจ (Web Page) ที่อยูบ่ นเครื่ องเซิร์ฟเวอร์มาให้
เครื่ องไคลเอ็นท์ที่ทาการร้องขอไปทาให้ผใู ้ ช้งานสามารถท่องไปในเว็บไซต์ต่าง
ๆ ทัว่ โลกได้
 FTP (File Transfer Protocol )
โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ งโอนไฟล์ขอ้ มูลผ่านเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตโดยจะเรี ยก
การโอนไฟล์จากเครื่ องเซิร์ฟเวอร์มาที่เคลื่อนไคลเอ็นท์วา่ “Download” และเรี ยก
การโอนไฟล์จากเครื่ องไคลเอ็นท์ไปไว้ที่เครื่ องเซิร์ฟเวอร์วา่ “Upload”

โปรโตคอล (Protocol) (ต่ อ)
SMTP (Simple Mail Transport Protocol)
โปรโตคอลที่ใช้ในการส่ ง E-mail ไปยัง Mailbox ที่จุดหมายปลายทาง
 POP3 (Post Office Protocol – 3)
โปรโตคอลที่ใช้ในการดึง E-mail จาก Mailbox ของผูใ้ ห้บริ การมาเก็บ
ไว้ที่เครื่ องตนเองเพื่อให้สะดวกต่อการจัดการรับ E-Mail

2.4 การส่ งข้อมูลในระบบเครื อข่าย
2.4 การส่ งข้ อมูลในระบบเครือข่ าย

ทาง IEEE ได้กาหนดมาตรฐานในการส่ งข้อมูลของระบบเครื อข่าย
ท้องถิ่น (LAN) แบบบัสไว้ 2 วิธี
คือ CSMA/CD และ Token Passing โดยเทคนิคในการส่ งข้อมูลใน
ระบบเครื อข่ายท้องถิ่นมีอยูห่ ลายชนิด แต่เทคนิคในการส่ งข้อมูลที่ใช้
กับสายส่ งข้อมูลนั้นจะมีเพียง 2 ชนิดด้วยกัน คือ แบบ
เบสแบนด์ (Baseband) และแบบบรอดแบนด์ (Broadband)
1. การส่ งข้ อมูลแบบเบสแบนด์ (Baseband)

การส่ งข้อมูลในระบบเบสแบนด์น้ นั จะมีช่องทางสื่ อสารเพียงช่องทาง
เดียว ดังนั้นจึงต้องมีเทคนิคในการจัดการข้อมูล เพื่อป้ องกันการชนกัน
ของข้อมูล ซึ่งเทคนิคที่นิยมใช้กนั คือเทคนิค CSMA/CD (Carrier
Sense Multiple Access with Collision Detection) โดยอุปกรณ์ที่จะส่ ง
ข้อมูลนั้นจะคอยตรวจสอบว่า มีอุปกรณ์อื่นกาลังส่ งข้อมูลอยู่
หรื อไม่ ถ้ามีกจ็ ะคอยก่อน ถ้าไม่มีหรื อว่าง ก็จะทาการส่ งข้อมูล
ทันที ซึงระบบเครื อข่าย LAN จะใช้วิธีการส่ งข้อมูลแบบชนิดนี้
2. การส่ งข้ อมูลแบบบรอดแบนด์ (Broadband)

การส่ งข้อมูลแบบบรอดแบนด์น้ ี จะเป็ นการส่ งข้อมูลหลายช่องทางด้วย
ความถี่ที่แตกต่างกัน โดยใช้สายสัญญาณของคลื่นวิทยุในการส่ งข้อมูล
สัญญาณเดียว หรื อหลายสัญญาณบนสายส่ งข้อมูลเส้นเดียว เช่นการส่ ง
ข้อมูลพร้อมกับเสี ยงและสัญญาณวีดิโอสายสัญญาณชนิดนี้ราคาค่อนข้าง
แพงเมื่อเทียบกับสายแบบเบสแบนด์
การแบ่ งกันใช้ สายเพือ่ ส่ งข้ อมูล

เนื่องจากในระบบเครื อข่ายนั้น จะมีสายสัญญาณชุดเดียวกัน เพื่อใช้ใน
การติดต่อส่ งข้อมูลซึ่งกันและกัน จึงต้องมีวิธีการที่จะต้องแบ่งเวลาใน
การใช้สายให้ทวั่ ถึงกัน โดยทัว่ ไปจะมีอยูด่ ว้ ยกัน 2 แบบด้วยกัน คือ
1. CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access / Collision Detection)

วิธีน้ ีจะใช้สายสัญญาณชุดเดียวกันในการส่ งข้อมูล โดยวิธีการนี้จะเป็ น
วิธีที่ให้คอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่ องคอยฟังและตรวจสอบว่า สายว่าง
หรื อไม่ (Carrier Detection) ถ้าว่างก็จะเริ่ มทาการส่ งสัญญาณออกมา และถ้า
สายว่างข้อมูลที่ส่งไปก็จะถึงผูร้ ับทันที แต่ในการเริ่ มส่ งสัญญาณนี้อาจจะตรงกับ
สถานีอื่น ๆ ก็ได้ ดังนั้นก็จะเกิดสัญญาณชนกัน ทาให้ขอ้ มูลนั้นไม่สามารถที่จะ
ส่ งไปให้ถึงผูร้ ับได้ เมื่อเกิดสัญญาณชนกันแล้ว แต่ละเครื่ องที่จะส่ งข้อมูลมานั้น
ก็จะหยุดส่ ง และรอ โดยจะทาการนับถอยหลังของเวลาที่สุ่มมาให้แตกต่างกัน
ระหว่างแต่ละเครื่ องเมื่อครบเวลาที่นบั ถอยหลังในแต่ละเครื่ องแล้ว ก็จะทาการส่ ง
ข้อมูลไปใหม่ โดยการส่ งครั้งใหม่น้ ี กจ็ ะไม่มีการชนกันระหว่างข้อมูลคู่เดิม
อีก เนื่องจากใช้เวลาในการรอส่ งข้อมูลที่แตกต่างกัน โดย CSMA/CD นี้
แพร่ หลายในระบบ LAN ทัว่ ไป โดยเฉพาะที่เป็ นเครื อข่ายแบบ Ethernet แต่
สาหรับข้อเสี ยนั้นก็คือในเรื่ องของสัญญาณชนกัน ในระหว่างส่ งข้อมูลโดยหากใน
2. Token-Passing

วิธีการนี้สามารถใช้กบั Topology หลายแบบด้วยกัน เช่น Bus, Star,
Ring โดยวิธีการนี้จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่ องเดียวในช่วงเวลาหนนึ่งที่
มีสิทธิในการส่ งข้อมูล โดยมีรหัส Token เก็บไว้ และเมื่อทาการส่ งข้อมูล
ออกไปแล้ว ก็จะทาการส่ งรหัส Token นี้ออกไปเครื่ องอื่น ๆ ตามลาดับที่
ได้กาหนดไว้ เมื่อเครื่ องใดได้รับรหัสแล้ว ถ้าเครื่ องนั้นไม่ตอ้ งการส่ ง
ข้อมูลก็จะส่ งรหัสนี้ต่อไปยังเครื่ องอื่นต่อไป ถ้าเครื่ องนั้นต้องการส่ ง
ข้อมูลก็ให้ส่งข้อมูลออกมาก่อน แล้วค่อยส่ งรหัสออกไปให้เครื่ องอื่น
ทราบตามลาดับ ซึ่งวิธีการนี้ จะทาให้ทุกเครื่ องในเครื อข่ายจะได้รับสิ ทธิ
ในการส่ งข้อมูล 1 ครั้ง ภายใน 1 รอบการทางาน ทาให้สามารถจากัด
เวลาได้วา่ จะส่ งข้อมูลออกไปได้ภายในเวลาไม่เกินกี่ millisecond
2.5 FDDI ( Fiber Distributed Data Interface )
FDDI ( Fiber Distributed Data Interface )



หลังจากที่พฒั นาการของสายเส้นใยแก้วนาแสงได้เจริ ญก้าวหน้า จนสามารถนามาใช้
ในระบบสื่ อสารได้ดี การประยุกต์ทางด้านการสื่ อสารข้อมูลระบบเครื อข่าย LAN ก็ได้มีการ
พัฒนาระบบ FDDI เป็ นระบบแรกที่มีการวางมาตรฐานที่ใช้ตวั กลางที่เป็ นสาย
เส้นใยนาแสง FDDI เป็ นเครื อข่าย LAN ที่ใช้ความเร็ว 100 เมกกะบิต ต่อ วินาที โดยได้มี
การพัฒนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1986
เครื อข่าย FDDI เป็ นเครื อข่ายที่มกั เดินเป็ นเครื อข่ายแบบแบคโบน ( Back Bone)
เหมาะสมกับเครื อข่ายขนาดใหญ่ เหมาะกับงานทางด้านการประชุมผ่านวีดีโอ (Video
Conference) และแสดงภาพมัลติมีเดีย ความยาวในการเชื่อมต่อระหว่างโหนดต่างๆ ประมาณ 2
กิโลเมตร และสามารถขยายได้ถึง 200 กิโลเมตร สนับสนุนการเชื่อมต่อของสถานีลุกข่ายได้ถึง
1,000 โหนด โดยรู ปแบบการเชื่อมต่อของ FDDI จะเป็ นแบบ Token - Passing
เครื อข่าย FDDI จะเป็ นแบบวงแหวนสองวงซ้อนกัน โดยวงที่หนึ่งจะ
เรี ยกว่า Primary Ring และอีกวงหนึ่งจะเรี ยกว่า Secondary Ring ซึ่งวงแหวนทั้งสองวงนี้จะ
วิง่ สวนทางกัน หากระบบเกิดมีปัญหาขึ้นกับโหนดใดในวงแหวน FDDI โหนดจะมีกลไกใน
การสัง่ การให้แสงวิง่ ผ่านโหนดที่มีปัญหาไปได้ หรื อทาการเปลี่ยนเส้นทางจาก Primary Ring
มายัง Secondary Ring แทน
2.6 ประโยชน์ ของระบบเครือข่ าย
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ าย










1.มีการประมวลผลแบบกระจายงาน(Distributed Processing)
คือ ตัว Workstation สามารถที่จะทาการประมวลผลด้วยตนเองซึ่งจะมีเพียงการร้องขอบริ การ
ข้อมูลจากแม่ข่ายเท่านั้น
2.สามารถใช้ทรัพยากรร่ วมกัน
เช่นใช้อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลร่ วมกัน,การใช้เครื่ องพิมพ์ร่วมกัน,การใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน
3.มีความรวดเร็วในการส่งข้อมูล
ในการส่งข้อมูลเราสามารถส่งผ่านระบบเครื อข่ายแลนได้
4.ผูใ้ ช้งานในแต่ละสถานีสามารถติดต่อสื่ อสารกันได้
5.การทางานเป็ นแบบ Multiuser
คือสามารถใช้โปรแกรมหรื อข้อมูลชุดเดียวกันได้พร้อมกันหลายคน