ลัทธิของค้านท์

Download Report

Transcript ลัทธิของค้านท์

บทที่ 9
ลัทธิของค้านท์
จงทาตามหลักการ
อาจารย์ชชั วาลย์ ชิงชัย
ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์
9.1 ประวัติย่อและแนวคิดหลัก
ลัทธิ น้ ี บางทีก็เรี ยกว่า Rigorism หมายถึง ลัทธิ ที่ยึดมัน่ ใน
คุณธรรมหรื อเหตุผลอย่างเคร่ งครัด
หรื อ Moral Purism แปลว่า บริ สุทธิ์นิยมทางศีลธรรม
หรื อบางทีกเ็ รี ยกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่เป็ นหลัก
ลัทธิของค้ านท์
page 2
ลัทธิของค้ านท์
page 3
นักปรัชญาผูก้ ่อตั้งลัทธิน้ ีชื่อ เอ็มมานูเอ็ล ค้านท์ (Immanuel
Kant : 1724 -1804) เป็ นชาวเยอรมัน ชาตะและมรณะที่เมืองโค
นิกสเบิร์ก (Konigsberg) อันตั้งอยู่ ณ ภาคตะวันออกของปรัสเีีย
ตลอดชีวติ เขาไม่เคยออกจากเมืองที่อยูไ่ ปที่ไหนเลย แต่เขาก็
ติดตามความเคลื่อนไหวของโลกตลอดเวลา เขาดารงตาแหน่งเป็ น
ศาสตราจารย์สอนวิชาตรรกวิทยาและอภิปรัชญา ดารงชีวิตเป็ นโสด
กล่าวกันว่าระบบวิถีชีวิตของเขาเป็ นเหมือนตุ๊กตาไขลาน มี
ระบบชีวติ ที่เป็ นระเบียบอยูต่ ลอดเวลา ในทุก ๆ วันชาวเมืองจะบบ
ลัทธิของค้ านท์
page 4
เขาออกเดินเล่นโดยมีคนใช้เดินตาม ชาวเมืองไม่ตอ้ งมองนาฬิกาก็
ทราบได้เลยว่าขณะนั้นเป็ นเวลาอะไร?
เบราะเขาเป็ นคนตรงต่อ
เวลาเสมอ
ระบบจริ ยศาสตร์ ของเขาก็เข้มงวดและเด็ดขาดเหมือนระบบ
ชีวิตของเขา โดยวางอยูบ่ นฐานที่วา่ มนุษย์มีร่างกายทาให้ตกเป็ น
ทาสอารมณ์ อ ัน เป็ นความต้อ งการทางกายภาบในขณะเดี ย วกัน
มนุษย์กม็ ีจิตใจอันทาให้เป็ นผูท้ ี่มีเหตุผล
ลัทธิของค้ านท์
page 5
ดังนั้น ความต้องการของร่ างกายจึงขัดแย้งกับเหตุผลอยูเ่ สมอ
ศีลธรรมของเขาจึงอยูท่ ี่ การเอาชนะอารมณ์และตั้งอยูบ่ นเหตุผล
นอกจากนั้นแนวคิดหลักทางจริ ยศาสตร์ของเขาอีก 2 ข้อ คือ
1. จงทำสิ่ งที่ท่ำนจงใจให้ เป็ นกฎสำกล
2. อย่ ำใช้ มนุษย์ เป็ นบันไดไปสู่ เป้ำหมำยของตน
เบื่อความเข้าใจแนวคิดของเขา จะได้ทาการวิเคราะห์เรื่ อง
เจตนาเป็ นสิ่ งแรก ในแนวคิดของเขาก่อนสิ่ งอื่น
ลัทธิของค้ านท์
page 6
9.2 หลักกำรคือเจตนำที่ดี
แนวคิดของเขามีความเห็นตรงกันข้ามกับกลุ่มประโยชน์นิยม
โดย ค้านท์ถือว่า
เจตนาหรื อหลักการเป็ นตัวตัดสิ นการกระทา ดี ชัว่ ถูก ผิด
เป็ นค่าทางศีลธรรมที่มีความตายตัว
ตัวอย่าง เช่น การบูดความจริ ง เป็ นความดีก็จะดีทุกเวลา
ทุกสถานที่ และทุกสิ่ งแวดล้อม เหมือน 1 + 1 = 2
เป็ นความจริ งที่ตายตัวอยูเ่ สมอ
ลัทธิของค้ านท์
page 7
สิ่ งที่ ใ ช้ เ ป็ นตั ว ตั ด สิ นค่ า ทางศี ล ธรรมว่ า เป็ นสิ่ งที่ ถู ก
คือ เจตนาที่ดี โดยค้านท์ได้ให้คาตอบไว้วา่
ไม่ มีอะไรในโลกนีห้ รือนอกโลก ที่เรำจะคิดว่ ำดีโดยปรำศจำก
เงื่อนไข นอกจำกเจตนำดี
เจตนาเป็ นตัวการให้เกิดการกระทา ไม่วา่ การกระทานั้น จะ
ก่อให้เกิดผลที่ดีหรื อชัว่ ก็ตาม ทั้งหมดนั้นล้วนมาจากเจตนาเป็ นตัว
สัง่ การ
ลัทธิของค้ านท์
page 8
ดังนั้น สิ่ งสาคัญที่สุดก็คือเจตนา
สาหรับค้านท์ เขาถือว่าการกระทาที่ถูกต้องคือการกระทาที่
เกิดจากเจตนาที่ดี
สิ่ งที่ตอ้ งทาความเข้าใจก็คือคาว่า เจตนาดี คืออะไร?
ลัทธิของค้ านท์
page 9
9.3 เจตนำทีด่ คี อื กำรกระทำตำมหน้ ำที่
คาว่าเจตนาที่ดีน้ นั สาหรับค้านท์ หมายถึง การกระทาตาม
หน้าที่โดยไม่มีอารมณ์ท้ งั บวกและลบมาเกี่ยวข้อง
การที่ เบชฌฆาตเหนี่ ยวไกปื น ทาการประหารชี วิตนัก โทษ
ทั้ง ๆ ที่เขาอาจมีความเห็นใจนักโทษประหาร แต่เขาต้องฝื นใจ
โดยสลัดอารมณ์แห่ งความเห็นใจและตั้งอยูบ่ นเหตุผลคือ การทา
หน้าที่ประหารนักโทษ
ลัทธิของค้ านท์
page 10
ค้านท์ถือว่านั้นคือ การทาหน้าที่ที่ถูกต้อง
ต ารวจท าการจับ บิ ด าผู้เ ป็ นโจร ก็ ถื อ ว่ า ท าหน้ า ที่ ที่ ดี อี ก
เหมือนกัน
เบราะตารวจจะต้องเกิ ดความขัดแย้งระหว่างความ
สงสารบ่อกับหน้าที่ของความเป็ นตารวจ
บางครั้งอารมณ์ฝ่ายบวก เช่น ความกรุ ณา ความสงสาร
อาจมาตรงกับสิ่ งที่เป็ นหน้าที่กไ็ ด้ แต่เราก็ไม่ถือว่าเป็ นหน้าที่
ลัทธิของค้ านท์
page 11
ตัวอย่ าง เช่ น ค้านท์ถือว่าเป็ นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะต้อง
ช่วยเหลือกัน ถ้านายสมศักดิ์ฐานะล้มละลาย มาขอความช่วยเหลือ
จากเรา เราเกิดความสงสารจึงช่วยเหลือ
การช่ ว ยเหลื อ ของเรานั้น เป็ นการช่ วยเหลื อเพราะความ
สงสารอันเป็ นอารมณ์ฝ่ายบวก แต่ไม่ใช่เป็ นหน้าที่ เพราะถ้าเรา
ไม่สงสาร เราอาจไม่ช่วยเหลือก็ได้
ลัทธิของค้ านท์
page 12
แต่ถา้ เราถือว่าเป็ นหน้าที่ของมนุษย์ที่จะต้องช่วยเหลือกัน แม้
เราจะจาได้วา่ นายสมศักดิ์เคยมายืมเงินแล้วไม่เคยใช้เงินคืนให้เรา
เลยทั้งต้นทั้งดอก ในขณะนั้น เราคิดจะไม่ให้ความช่วยเหลือ
แต่เกิดความสานึ กทางศีลธรรม โดยเห็นแก่มนุษยธรรมจึงฝื น
ความรู้สึกที่เกลียด แล้วให้ความช่วยเหลือไป อย่างนี้ ถือว่าเป็ น
หน้าที่ในทัศนะของค้านท์
ศีลธรรมจะเกิดขึน้ ได้ ก็ต่อเมื่อ ความสานึกในหน้ าที่ฝืนต่ อ
แรงผลักดันของอารมณ์
ลัทธิของค้ านท์
page 13
การกระทาตามหน้าที่ ไม่ใช่การกระทาที่คาดหวังผลสิ่ งใด ๆ
มนุษย์มีแรงผลักดันในการกระทา 2 อย่าง คือ
1. อารมณ์ ความรู้สึก ความปรารถนา ที่มาจากผัสสะ หรื อ
สภาพแวดล้อมภายนอก ซึ่ งความรู้สึกนี้เป็ นไปตามกฎจักรกลนิ ยม
ทาให้ไม่เป็ นอิสระ
2. เหตุผลบริ สุทธิ์อนั มาจากกฎทางศีลธรรม
ลัทธิของค้ านท์
page 14
การกระทาตามหน้าที่เป็ นเรื่ องเดียวกับการกระทาด้วยเจตนา
ที่ดี
ค้านท์รังเกี ยจอารมณ์ ทุกชนิ ดไม่ว่าจะเป็ นอารมณ์ ฝ่ายบวก
หรื อฝ่ ายลบ
เขาเล็งเห็นว่า อารมณ์เป็ นเรื่ องของความรู้สึก ไม่ได้ต้ งั อยู่
บนฐานของเหตุผล
ดังนั้นอารมณ์ทุกอย่างไม่วา่ จะเป็ น
เมตตา สงสาร ถือว่าใช้ไม่ได้ท้ งั นั้น
ลัทธิของค้ านท์
page 15
อารมณ์รัก
เกลียด
เช่น ผูบ้ ิบากษาเห็นจาเลย บีบน้ าตา มีเสี ยงสั่นเครื อ ในการ
สารภาบความผิด แล้วเกิดความสงสาร บิบากษายกฟ้ องจาเลย
ลัทธิของค้ านท์
page 16
ลัทธิของค้ านท์
page 17
ลัทธิของค้ านท์
page 18
ในทัศนะของเขา ไม่วา่ จะเป็ นอารมณ์ท้ งั บวกและลบ ล้วนมี
ผลกระทบต่อหน้าที่ท้ งั นั้น ดังนั้น อารมณ์จึงเป็ นสิ่ งไม่ดี
ในบางครั้ง หน้าที่อาจจะตรงกับอารมณ์ฝ่ายบวกก็ได้
ค้านท์ ไม่ได้มองว่า ความเมตตา
ความกรุ ณา ีึ่ งเป็ น
อารมณ์ฝ่ายบวกเป็ นสิ่ งไม่ดี แต่เขาถือว่ามันไม่มีค่าทางจริ ยธรรม
ลัทธิของค้ านท์
page 19
บุคคลที่มีธรรมชาติเอื้อเฟื้ อแผ่ นัน่ เป็ นเรื่ องปรกติของเขา
ไม่เห็นมีอะไรที่ควรค่าแก่การสรรเสริ ญ
แต่ถา้ เมื่อใดก็ตาม เขาีึ่งปรกติเป็ นคนขี้เหนียว แต่บยายาม
เอาชนะความตระหนี่ดว้ ยการให้ ถือว่าเขาเป็ นคนดีที่น่าสรรเสริ ญ
การกระทาตามหน้าที่ ไม่ได้มุ่งเป้ าหมายไปที่ผลลับธ์ที่จะ
เกิดขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นผลดีหรื อผลร้าย เช่น ความีื่อสัตย์ของบ่อค้า
ค้านท์จะถามว่า บ่อค้าเป็ นคนีื่อสัตย์เบราะอะไร ?
ลัทธิของค้ านท์
page 20
ถ้าเขาีื่ อสัตย์ เบราะถือว่า ความีื่ อสัตย์เป็ นสิ่ งที่ดี อย่างนี้
ถือว่า บ่อค้าคนนั้นเป็ นคนดี
แต่ถา้ เขาีื่ อสัตย์ เบราะคิดว่า ด้วยความีื่ อสัตย์น้ ี จะทาให้
การค้าเจริ ญรุ่ งเรื อง ทาการค้าได้กาไร
แบบนี้ ค้านท์ถือว่า ไม่มีค่าทางศีลธรรมที่น่าสรรเสริ ญ ไม่ใช่
เป็ นการทาหน้าที่เบื่อหน้าที่ แต่เป็ นการทาหน้าที่เบื่อเป้ าหมาย
ลัทธิของค้ านท์
page 21
การกระทาตามหน้าที่ จะต้องไม่คานึ งถึงผลที่จะเกิ ดตามมา
ไม่วา่ ผลนั้น จะให้ผลดีหรื อผลร้ายก็ตาม
แบทย์มีหน้าที่ตอ้ งช่วยคนไข้
คนไข้เบื่อให้คนไข้บน้ จากความทรมาน
หน้าที่ตนเองให้ถูกต้อง
ลัทธิของค้ านท์
page 22
แต่สงสารคนไข้ ทาการฆ่า
ถือว่าแบทย์ผิดที่ไม่ทา
ลัทธิของค้ านท์
page 23
ในทางกลับกัน เบชฌฆาตมีหน้าที่ฆ่านักโทษประหาร แต่
กลับฆ่าไม่ลงเบราะสงสารนักโทษ
ลัทธิของค้ านท์
page 24
ลัทธิของค้ านท์
page 25
เนื่องจากนักโทษ
มีบอ่ แม่แก่ชราที่จะต้องคอยเลี้ยงดู
มีเมียที่ป่วยเป็ นอัมบาต
มีลูกที่ป่วยเป็ นโรคปั ญญาอ่อน ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
ถ้าเบชฌฆาตไม่ยอมประหารชีวติ นักโทษ
ค้านท์ ถือว่า เป็ นความผิด
ลัทธิของค้ านท์
page 26
9.4 หน้ ำที่กบั กฎศีลธรรม
การทาตามหน้าที่ คือ การทาตามเหตุผล ได้แก่
การทาตามกฎโดยไม่คานึงถึงความรู้สึกใด ๆ ทั้งสิ้ น
กฎในที่น้ ี หมายถึง กฎทางศีลธรรม คือ กฎที่มีลกั ษณะ
เป็ นคาสัง่ เช่น จงบูดคาสัตย์ จงอย่าทาลายชีวติ
ลัทธิของค้ านท์
page 27
คาสัง่ มี 2 แบบ คือ
1. คาสัง่ ที่มีเงื่อนไข (Hypothetical Imperative)
2. คาสัง่ เด็ดขาด (Categorical Imperative)
- คาสัง่ ที่มีเงื่อนไข เช่น ถ้าคุณขยัน คุณจะสอบไล่ผา่ น
ถ้าคุณีื่อสัตย์ คุณจะขายของได้กาไร
- คาสัง่ เด็ดขาด เช่น จงีื่ อสัตย์ เบราะความีื่ อสัตย์ เป็ น
ความดี
ลัทธิของค้ านท์
page 28
ในจริ ยศาสตร์ ของค้านท์ คาสั่งเด็ดขาด หรื อ กฎทาง
ศีลธรรมที่ตายตัว คือ
“จงทำตำมหลักซึ่งท่ ำนจงใจทีจ่ ะให้ เป็ นกฎสำกล”
“จงปฏิบัติต่อมนุษย์ โดยถือว่ ำ เขำเป็ นจุดหมำยในตัวเอง อย่ ำถือ
เขำเป็ นเพียงเครื่ องมือ ไม่ ว่ำจะเป็ นตัวท่ ำนเองหรื อเพื่ อนมนุ ษย์
ด้ วยกัน”
ลัทธิของค้ านท์
page 29
การที่คนทาผิด เบราะไม่เป็ นอิสระ คือ ถูกกระแสอารมณ์
ความอยากผลักดันให้ทาความผิด
คนที่เป็ นอิสระ คือ คนที่หลุดบ้นจากกระแสความอยาก
เหล่านั้น มาอยูบ่ นเหตุผลหรื อปัญญา
ถ้าทุกคนมีปัญญาบริ สุทธิ์ ทุกคนจะเห็นความถูกต้องของกฎ
ศีลธรรมเหมือนกันหมด
ค้านท์ถือว่า
ลัทธิของค้ านท์
page 30
“การกระทาตามกฎศีลธรรมจะเกิดขึ้น
หลดุ พ้ นจากกระแสความร้ ูสึกมาสู่ ปัญญาเท่ านั้น”
ลัทธิของค้ านท์
page 31
เมื่อมนุษย์
การกระทาที่ถูก คือ การกระทาที่เกิดจากเจตนาดี
การกระทาที่เกิดจากเจตนาดี คือ การกระทาที่
เกิดจากการสานึกในหน้าที่
การกระทาที่เกิดจากการสานึกในหน้าที่ คือ การ
กระทาที่เกิดจากเหตุผล
ลัทธิของค้ านท์
page 32
การกระทาที่ต้งั อยู่บนเหตุผล คือ การกระทาที่
เกิดจากกฎศีลธรรม
ลัทธิของค้ านท์
page 33
9.5 วิจำรณ์ จริยศำสตร์ ของค้ ำนท์
จุดเด่น
1. สอนให้คนสานึ กในหน้าที่
โดยปรกติมนุ ษย์จะมี
ข้อบกบร่ องในหน้าที่ มักจะทาหน้าที่ได้ไม่เต็มกาลัง เบราะความ
เกียจคร้านบ้าง เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวบ้าง แต่สาหรับค้านท์ไป
ไกลกว่านั้น
ลัทธิของค้ านท์
page 34
เขาสอนให้ ม นุ ษ ย์ เ คร่ งครั ด ต่ อ หน้ า ที่ โดยไม่ ส นใจ
แม้กระทัง่ อารมณ์ฝ่ายบวก เราทาดี เบราะว่ามันเป็ นความดี แต่
ไม่ใช่ทาดีเบราะหวังผลประโยชน์
2. ไม่ให้อภิสิทธิ์ชนอยูเ่ หนือกฎศีลธรรม ทุกคนเท่าเทียมกัน
ภายใต้กฎทางศีลธรรม
แนวคิดแบบนี้ ช่วยทาให้สังคมเกิดความ
สงบอันเกิดมาจากความยุติธรรม
3. มนุษย์ทุกคนมีศกั ดิ์ศรี อย่าใช้คนเป็ นเครื่ องมือ แนวคิด
ของค้านท์ขอ้ นี้ เป็ นเครื่ องยืนยันว่า ค้านท์เคารบสิ ทธิมนุษยชน
ลัทธิของค้ านท์
page 35
มองทุกคนแบบให้เกียรติ เคารบศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์
โดยถือว่ามนุษย์ทุกคนมีเป้ าหมายในตัวเอง
บันไดไปสู่เป้ าหมาย
ลัทธิของค้ านท์
page 36
ไม่ใช้คนเป็ น
ลัทธิของค้ านท์
page 37
ลัทธิของค้ านท์
page 38
ลัทธิของค้ านท์
page 39
ลัทธิของค้ านท์
page 40
ลัทธิของค้ านท์
page 41
ลัทธิของค้ านท์
page 42
ลัทธิของค้ านท์
page 43
ข้อบกพร่อง
1. ดูถูกควำมรู้ สึกของมนุษย์ มำกเกินไป
แนวคิดของค้านท์ ดูจะผิดธรรมดาสามัญ จากความเข้าใจ
ของมนุษย์ปรกติ
การที่คา้ นท์ไม่ให้ความสาคัญกับอารมณ์ฝ่ายลบ เช่น ความ
โกรธ ความริ ษยา ความโลภ ก็นบั ว่าสมเหตุผลอยู่
แต่ ก ารที่ ค ้านท์ ไม่ ใ ห้ค วามส าคัญ กับ อารมณ์ ฝ่ายบวกเลย
เช่น ความเมตตา ความสงสาร เป็ นต้น
ลัทธิของค้ านท์
page 44
ดูเหมือนว่า จะเป็ นสิ่ งที่ทาให้วญ
ิ ญูชนทาใจให้ยอมรับได้ยาก
มารดาทาการเลี้ยงลูกด้วยความสานึ กในหน้าที่
โดยไม่มี
ความรักให้แก่ลูกเลย ฉันจะทาหน้าที่ของแม่อย่างเดียว ท่านคิดว่า
โลกนี้จะเป็ นอย่างไร
ลัทธิของค้ านท์
page 45
ลัทธิของค้ านท์
page 46
ลัทธิของค้ านท์
page 47
ลัทธิของค้ านท์
page 48
ค้านท์ไม่ให้ความสาคัญแก่ความรู ้สึกของมนุษย์ เน้นความ
ดี ตรงที่การต่อสู ้กนั ระหว่าง ความสานึกในหน้าที่กบั ความรู้สึก
คนเลวที่สานึ กผิดแล้วกลับตัวมาเป็ นดี
สรรเสริ ญ
ชาวโลกยกย่อง
แต่สาหรับค้านท์ถือว่าหมดโอกาสทาดี
เรามีเบื่อนอยู่ 2 คน คนหนึ่งทาดีกบั เราเป็ นประจา แต่อีก
คนหนึ่ง จะคอยคิดฆ่าเราอยูเ่ สมอ แต่บยายามหักห้ามใจ
ลัทธิของค้ านท์
page 49
ถ้าจะให้ท่านเลือกคบท่านจะเลือกคบคนไหน ? แต่สาหรับ
ค้านท์ คงจะต้องคบคนหลังอย่างแน่นอน
ลัทธิของค้ านท์
page 50
2. เป็ นจริยศำสตร์ ที่มีควำมเถรตรงมำกเกินไป
แนวคิดนี้ ก่อให้เกิดความขัดแย้งกันเอง เช่น อาจารย์มี
หน้าที่ตอ้ งสอนนิสิต
แต่ก่อนจะไปสอนหนังสื อ ลูกชายเกิดป่ วยกระทันหัน ต้อง
รี บนาไปส่ งโรงพยาบาล
ถ้า ตัด สิ น ใจไปสอนนิ สิ ต ก็ จ ะได้รั บ การยกย่อ งว่ า เป็ น
อาจารย์ที่ดี แต่จะบกพร่ องในหน้าที่ของความเป็ นพ่อที่ดี
ลัทธิของค้ านท์
page 51
แต่ถา้ เลือกความเป็ นพ่อที่ดี รี บพาลูกชายไปส่ งโรงพยาบาล
จะบกพร่ องในหน้าที่ของความเป็ นอาจารย์ที่ดี
ถ้าค้านท์อยู่ในสภาวะขัดแย้งในหน้าที่แบบนี้
แก้ปัญหานี้อย่างไร ?
ลัทธิของค้ านท์
page 52
ค้านท์จะ
ค้านท์บอกว่า ไม่ให้ใช้มนุษย์เป็ นเครื่ องมือ การกระทา
เช่นนั้นเป็ นสิ่ งที่ดี เบราะเป็ นการให้เคารบสิ ทธิมนุษยชน
แต่ในความเป็ นจริ งมันเป็ นเรื่ องที่ทาได้ยากมาก
ถ้าค้านท์ตกอยูใ่ นสถานการณ์แบบ เีอร์ วินสตัน เชอร์ ชิลล์
อดี ตนายกรั ฐมนตรี ของอังกฤษ ในสมัยสงครามโลกครั้ งที่ 2
เหตุเกิดเมื่อ ค.ศ.1940
เชอร์ ชิลได้รับการรายงานจากหน่ วยข่าวกรองชื่ ออัลตราว่า
เยอรมันจะทาการโจมตีเมืองโคเวนทรี
ลัทธิของค้ านท์
page 53
ถ้าเขาสั่งให้อบยบชาวเมือง
เยอรมันจะต้องรู้โดยทัน ทีว่า
อังกฤษสามารถดัก ข่ าวถอดรหัส ของบวกเยอรมันได้ส าเร็ จ และ
จะต้องเปลี่ยนรหัสใหม่ ีึ่ งจะทาให้องั กฤษต้องใช้เวลาอีกนานกว่า
จะถอดรหัสได้ จะทาให้คนอังกฤษอีกมากมายต้องตาย
ในที่สุด เชอร์ ชิล ตัดสิ นใจไม่บอกให้ชาวเมืองรู้ ปรากฏว่า
ชาวเมืองโคเวนทรี ถูกบวกเยอรมันทิ้งระเบิดตายไปถึง
บาดเจ็บและไร้ที่อยูห่ ลายบันคน
ลัทธิของค้ านท์
page 54
400 คน
เชอร์ ชิล อยู่ในสภาวะที่ ลาบาก ระหว่างการบูดความจริ ง
ที่ทาให้หน่ วยข่าวกรองอัลตราหมดประสิ ทธิ ภาบกับการช่ วยชี วิต
ชาวเมืองโคเวนทรี
สุ ดท้าย เขาก็ตอ้ งยอมใช้หลักการของบวกประโยชน์นิยม
คือ การรักษาชี วิตคนอังกฤษส่ วนมากเอาไว้ ดีกว่ารักษาชี วิตของ
คนแค่เบียงเมืองเดียว
ลัทธิของค้ านท์
page 55
3. หน้ ำทีน่ ิยม เป็ นอุดมคติมำกเกินไป
โดยปรกติ ในการทาหน้าที่ มนุ ษย์จะมีอารมณ์ท้ งั บวกและ
ลบ จึงเป็ นเรื่ องธรรมดา ที่จะต้องมีอารมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง
มนุ ษย์ปุถุชนทัว่ ไป ย่อมทาหน้าที่ได้สมบูรณ์มากบ้างน้อย
บ้าง
เป็ นสิ่ งลาบากเหลือเกิน ที่จะหามนุษย์ที่ทาหน้าที่ตนเองได้
อย่างสมบูรณ์
หรื อทาโดยที่ไม่ตอ้ งมีอารมณ์ท้ งั บวกและลบมา
เกี่ยวข้อง
ลัทธิของค้ านท์
page 56
9.6 เปรียบเทียบแนวคิดของค้ ำนท์ และประโยชน์ นิยม
ควำมเหมือน
1. กฎศีลธรรมจะต้องมีลกั ษณะสากล ใครจะละเมิดมิได้
2. ไม่ให้อภิสิทธิ์แก่ผใู้ ด
3. การคานึงถึงผลประโยชน์ตนผิด
ลัทธิของค้ านท์
page 57
ความแตกต่ าง
1. กฎศีลธรรมของค้านท์ ได้มาจากเหตุผลหรื อปั ญญาที่
บริ สุทธิ์ ในฐานะที่ มนุ ษย์เป็ นสัตว์ที่มีศีลธรรม โดยไม่ตอ้ ง
คานึ งถึงความสุ ขที่จะเกิดขึ้นในโลก และเป็ นกฎที่ไม่เปลี่ยนไป
ตามกาลเวลา
2. กฎศีลธรรมของกฎประโยชน์นิยม ได้มาจากการคานึงถึ ง
ผล กฎที่ถูก คือ กฎที่ก่อให้เกิดความสุ ขมากที่สุด ถ้าทุกคนปฏิบตั ิ
ตาม สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา
ลัทธิของค้ านท์
page 58
ลัทธิของค้ านท์
page 59