THE DEVELOPMENT OF GRADUATES ACCORDING TO TQF FOR

Download Report

Transcript THE DEVELOPMENT OF GRADUATES ACCORDING TO TQF FOR

การวิพากษ์ งานวิจัย เรื่อง จริยธรรมของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
ETHICS OF ADMINISTRATORS OF PRIVATE HIGHER
EDUCATION INSTITUTIONS
ประทีป มากมิตร
ดุษฎีนิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2550
1. การวิพากษ์ ชื่องานวิจัย
จริ ยธรรมของผู้ บริ ห ารสถาบั นอุ ดมศึ กษาเอกชน เป็ นการศึ กษาวิเ คราะห์
แนวคิดทฤษฎีการศึกษาจริยธรรมของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยศึกษา
กลุ่มตัวอย่ างจากสถาบันอุดมศึ กษาเอกชนทั่วประเทศ จานวน 63 สถาบัน ผลที่
เกิดขึน้ จากการวิจัยคือสามารถเป็ นแนวทางในการส่ งเสริ มจริ ยธรรมของผู้บริหาร
ระดับหัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปประยุกต์ ใช้ ในกระบวนการ
บริ หารงานของสถาบัน เพื่อสรุ ปภาพรวมของรู ปแบบและความถูกต้ องเหมาะสม
ของแต่ ละองค์ ประกอบ
2. การวิพากษ์ ภูมิหลัง
การอุ ด มศึ ก ษา เป็ นระบบหลั ก ระบบหนึ่ ง ที่ มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมากต่ อ ระบบ
การศึ กษาของชาติในโลกยุคสั งคมแห่ งการเรี ยนรู้ การศึกษาในระดับอุดมศึกษาจึง
เป็ นเครื่องมือสาคัญในการเสริมสร้ างศักยภาพในการแข่ งขันกับนานาประเทศ จาก
การเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ตลอดจนการหลั่งไหลของธุรกิจการศึกษา
ของโลกตะวันตกเป็ นเหตุผลให้ อุดมศึกษาไทยต้ องทบทวนบทบาทและพันธกิจเพือ่
ปรับทิศทางการดาเนินงานให้ เกิดความเหมาะสมทันยุคทันสมัย สร้ างความเชื่อมั่น
ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและสามารถก้ าวสู่ การแข่ งขันในระดับภูมิภาคและ
ระดับสากลได้ ในอนาคตอันใกล้ การปรับเปลี่ยนทิศทางการดาเนินงานให้ เกิ ดความ
เหมาะสมและสอดคล้ องกับการปฏิรูปการศึ กษาตลอดจนความต้ องการทางสั งคม
ปั จจุ บันต้ องมีผ้ ูนาหรื อผู้บริ หารอุดมศึ กษาที่มีความสามารถที่จะนาพาบุ คลากร
และจัดการทรัพยากรทีม่ อี ยู่ให้ บรรลุเป้ าหมายทีว่ างไว้ ได้ ผู้บริหารอุดมศึกษาใน
2. การวิพากษ์ ภูมิหลัง
แต่ ละระดับจึ งจ าเป็ นต้ องมีความสามารถที่จ ะจั ดการต่ อปั ญหาต่ างๆ ได้ และมี
ความสามารถในการปกครองสามารถตัดสิ นใจได้ อย่ างเหมาะสมและสอดคล้ องกับ
การปฏิ รูปการศึ กษา ตลอดจนความต้ อ งการทางสั งคม ปั จ จุ บันและอนาคตจึ ง
จาเป็ นต้ องมีผ้ ูนาหรือผู้บริหารอุดมศึกษาที่มีความสามารถที่จะนาพาบุคลากร และ
จัดการทรั พยากรที่มีอยู่ให้ บรรลุเป้ าหมายที่วางไว้ ได้ ผู้บริ หารอุดมศึ กษาในแต่ ละ
ระดั บ จึ ง จ าเป็ นต้ อ งมี ค วามสามารถที่ จ ะจั ด การต่ อ ปั ญ หาต่ า งๆ ได้ และ มี
ความสามารถในการปกครอง สามารถตัดสิ นใจได้ อย่ างเหมาะสม รวดเร็วทันการ
รวมทั้ งต้ องเป็ นผู้ มี จ ริ ยธรรมในการท างานสอดคล้ องกั บ การบริ หาร
สถาบันอุดมศึกษาในยุคนี้ ซึ่งในปัจจุบันจริยธรรมทีเ่ กีย่ วข้ องของอาจารย์ และ
2. การวิพากษ์ ภูมิหลัง
ผู้ บ ริ ห ารของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน ยัง ไม่ มี ก ารจั ด ท าขึ้น อย่ า งชั ด เจน บาง
สถาบันใช้ แนวทางและหลักปฏิบัตเิ ช่ นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ บางแห่ ง
มีแนวปฏิบัติที่สืบต่ อกันมาแต่ ก็มิได้ กาหนดเป็ นลายลักษณ์ อัก ษร บางแห่ งมีการ
กาหนดจรรยาบรรณวิชาชี พอาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่สาหรั บการกาหนดจริ ยธรรม
ของผู้บริ หารโดยเฉพาะผู้ บริ หารระดับภาควิชา ยังไม่ มีปรากฏชั ดเจน ปั ญหาที่
เกิ ด ขึ้ น ยั ง มี มี ก ารศึ ก ษาหรื อมี ก ารก าหนดจริ ยธรรมของผู้ บริ หารของ
สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชนรวมถึ ง การสร้ างแนวทางที่ ส่ งเสริ ม จริ ย ธรรมของ
ผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาทีม่ ่ ุงเน้ นในระดับหัวหน้ าภาควิชา/สาขาวิชาต่ อไป
3. การวิพากษ์ ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพือ่ ทราบจริยธรรมของผู้บริหารระดับหัวหน้ าภาควิชา
ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
2. เพือ่ ทราบแนวทางในการส่ งเสริมจริยธรรมของ
ผู้บริหารระดับหัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึกษา
เอกชน
4. การวิพากษ์ สมมติฐานการวิจัย
1. จริยธรรมของผู้บริหารระดับหัวหน้ าภาควิชาของ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนควรมีลกั ษณะเป็ นอย่ างไร
2. แนวทางในการส่ งเสริมจริยธรรมของผู้บริหารระดับ
หัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ควรมีลกั ษณะ
เป็ นอย่ างไร
5. การวิพากษ์ ขอบเขตการวิจัย
ประชากรที่ใช้ ในการศึ กษาวิเคราะห์ และเก็บรวบรวมข้ อมูลของการวิจัย คือ
สถาบันอุดมศึ กษาเอกชนทุกแห่ งที่เปิ ดดาเนินการเรี ยนและมีนักศึ กษาทาการศึกษา
อยู่ โดยใช้ ข้อมูลในปี การศึกษา 2549 เป็ นเกณฑ์ ในการพิจารณา ซึ่งสถาบันอุดมศึกษา
เอกชนทั้งสิ้น 63 สถาบัน
กลุ่ ม ตั ว อย่ า ง คื อ ใช้ การสอบถามความคิ ด เห็ น ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า งจาก
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนทั่วประเทศ จานวน 63 สถาบัน จากการใช้ วิธีคานวณกลุ่ม
ตัวอย่ างที่มีความเชื่ อมั่นร้ อยละ 95 จากตารางเครซซี และมอร์ แกน (Krejcie and
Morgan) ได้ ขนาดกลุ่มตัวอย่ างของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จานวน 54 สถาบัน
5. การวิพากษ์ ขอบเขตการวิจัย
ใช้ วิธีส่ ุ มตัวอย่ างแบบแบ่ งชั้ นตามสั ดส่ วนของสถาบัน (stratified random
sampling) ซึ่งแบ่ งเป็ น 3 ระดับ คือ
1. สถาบันทีเ่ ปิ ดดาเนินการไม่ เกิน 10 ปี ได้ กลุ่มตัวอย่ างจานวน 27 สถาบัน
2. สถาบั นที่เ ปิ ดดาเนิ น การมากกว่ า 10 ปี แต่ ไ ม่ เ กิน 20 ปี ได้ กลุ่ มตั วอย่ า ง
จานวน 11 สถาบัน
3. สถาบันทีเ่ ปิ ดดาเนินการมากกว่ า 20 ปี ได้ กลุ่มตัวอย่ าง จานวน 16 สถาบัน
5. การวิพากษ์ ขอบเขตการวิจัย
การกาหนดขอบข่ ายเนือ้ หาสาระของเรื่องที่ทาการวิจัย ดังนี้
1. การก าหนดกรอบแนวคิ ด ในการวิ จั ย โดยศึ ก ษาแนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ
จริยธรรมและจริยธรรมทางการบริหาร กาหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
2. การสร้ างองค์ ประกอบคุณลักษณะทางจริยธรรมผู้บริหาร
3. การศึ กษาคุ ณ ลักษณะทางจริ ยธรรมของผู้ บริ ห ารระดับ ภาควิชาจากกลุ่ ม
ตัวอย่าง
4. การศึกษาแนวทางการส่ งเสริมจริยธรรมของผู้บริหารระดับหัวหน้ าภาควิชา/
สาขาวิชา
5. จัดทารายงานการวิจัยและนาเสนอ
6. การวิพากษ์ นิยามศัพท์
1. ผู้ บริ ห าร สถา บั น อุ ด ม ศึ กษ าเ อ กชน ห มาย ถึ ง ผู้ บริ ห าร ข อ ง
สถาบันอุด มศึ กษาเอกชนที่ไ ด้ รับแต่ งตั้งให้ ดารงตาแหน่ งหั วหน้ าภาควิชา
และหรื อ ต าแหน่ ง บริ ห ารที่ มี ชื่ อ เรี ย กอย่ า งอื่ น ที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ หมื อ นกั บ
หัวหน้ าภาควิชา
2. จริ ยธรรมของผู้บริหาร หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติที่ดีต่อ
ตนเอง ต่ อ นั ก ศึ ก ษา ต่ อ ผู้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา ต่ อ องค์ ก ร และต่ อ สั ง คม เพื่ อ
ประโยชน์ สุขของตนเองและส่ วนรวม
7. การวิพากษ์ ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
1. จริ ยธรรมของผู้บริ หารระดับหัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึ กษาเอกชน
และแนวทางในการส่ งเสริ มจริ ยธรรมของผู้บริ หารระดับหัวหน้ า/ภาควิชาของ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนไปประยุกต์ ใช้ ในกระบวนการบริหารงาน ซึ่งจะช่ วยให้
เกิดความมั่นใจในการปรั บปรุ งและพัฒนาให้ สถาบันการศึ กษาของตนเองไปสู่
สถาบันทีม่ มี าตรฐานและคุณภาพด้ านจริยธรรมอย่ างแท้ จริง
2. การนาจริยธรรมเข้ าเป็ นส่ วนหนึ่งที่สาคัญในการบริหารทรัพยากรบุคคล
3. ดาเนินงานตามภารกิจของมหาวิทยาลัยที่กาหนดไว้ อย่ างเต็มศั กยภาพ อาทิ
การเรียนการสอนทีไ่ ด้ คุณภาพตรงตามเป้ าหมายให้ บริการวิชาการแก่ สังคม
8. การวิพากษ์ เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
ความหมายของจริ ยธรรม คือ หลักการที่มนุ ษย์ ในสั งคมยอมรั บว่ าดีงามและ
เห็นควรยึดถือปฏิบัติ เพือ่ การอยู่ร่วมกันอย่ างเป็ นสุ ขในสั งคม
จริ ยธรรมของผู้บริ หาร ประกอบด้ วย ทฤษฎีทางจริ ยศาสตร์ พุทธจริ ยศาสตร์
ทฤษฎีต้นไม้ จริยธรรม จริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมในการจัดการ จรรยาบรรณ
วิชาชีพ บทบาทและหน้ าที่ของหัวหน้ าภาควิชา ค่ านิยมสร้ างสรรค์ จริยธรรมใน
องค์ กร แนวทางส่ งเสริมจริยธรรม
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
8. การวิพากษ์ เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
รั ชนี หาญถาวรชั ยกิจ ได้ ทาการศึ กษาความสั มพันธ์ ระหว่ างการรั บ รู้ ความ
ยุติธรรมในองค์ กรกับจริ ยธรรมในการทางาน : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน
แห่ งหนึ่ ง ในกรุ งเทพมหานคร ได้ ใ ห้ ข้ อเสนอแนะในการวิ จั ย ให้ มหาวิ ทยาลัย
ปลู ก ฝั ง จริ ย ธรรมในการท างาน การส่ งเสริ ม ให้ บุ ค ลากรที่ อ ายุ ง านมากกว่ า
ถ่ ายทอดความรู้
ชั ย อุทัยภัตรากูร ที่ทาการศึ กษาเรื่ องจริ ยธรรมในองค์ กร : ศึกษากรณีกลุ่ม
อุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ได้ ให้
8. การวิพากษ์ เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
ชัย อุทัยภัตรากูร ที่ทาการศึกษาเรื่องจริยธรรมในองค์ กร : ศึกษากรณีกลุ่ม
อุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ในนิคมอุตสาหกรรมบางชัน ได้ ให้
ข้ อเสนอแนะเรื่องการส่ งเสริมจริยธรรมโดยเสนอแนะให้ องค์ กร รัฐ และชุ มชนให้
ความสาคัญกับกิจกรรมเพือ่ การส่ งเสริมการปลูกฝังจริยธรรม
9. การวิพากษ์ การดาเนินการวิจัย
1. รู ปแบบการวิจัย เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) และการวิจัย
เชิงพรรณนา (descriptive research) ทีม่ กี ารศึกษากลุ่มอย่ างเดียวทีศ่ ึกษา
สภาวการณ์ โดยไม่ มีการทดลอง (the one shot, non-experimental case study
design)
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ างในการศึกษา
2.1 ประชากร เป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนทุกแห่ งทีเ่ ปิ ดดาเนินการเรียนและ
มีนักศึกษาทาการศึกษาอยู่ ทั้งสิ้น 63 สถาบัน
2.2 กลุ่มตัวอย่ าง ขนาดกลุ่มตัวอย่ างของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จานวน 54
สถาบัน
9. การวิพากษ์ การดาเนินการวิจัย
ทาการสุ่ มแบบแบ่ งชั้นตามสั ดส่ วนของสถาบัน
ตัวแปรทีใ่ ช้ ในการศึกษาวิจัย คือ
1. ตัวแปรพืน้ ฐาน คือตัวแปรทีเ่ กีย่ วกับสถานภาพส่ วนตัวของผู้ให้ข้อมูล ได้ แก่
เพศ อายุ ระดับการศึกษา คณะทีศ่ ึกษา ตาแหน่ งทางวิชาการ และประสบการณ์ ใน
การทางาน
2. ตั ว แปร ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อ งค์ ปร ะ กอบ ข อง จ ริ ยธ รรมข องผู้ บ ริ ห า ร
สถาบันอุดมศึ กษาเอกชน จานวน 6 ตัวแปร ได้ แก่ จริ ยธรรมต่ อตนเอง จริ ยธรรม
ต่ อนักศึกษา จริ ยธรรมต่ อเพื่อนร่ วมงาน จริ ยธรรมต่ อผู้บังคับบัญชา จริยธรรมต่ อ
องค์ กร และจริยธรรมต่ อสั งคม
9. การวิพากษ์ การดาเนินการวิจัย
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
1. แบบสั มภาษณ์ แบบมีโครงสร้ าง (structured interview)
2. แบบสอบถามความคิดเห็น (questionnaires)
3. แบบตรวจสอบรายการ (check list)
เครื่องมือทางสถิติ ได้ แก่
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการรวบรวมข้ อมูล โดย
1. การสั มภาษณ์ ด้วยตนเอง การส่ งแบบสอบถามทางไปรษณีย์
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน เป็ นผู้รวบรวมแบบสอบถามให้ การเก็บข้ อมูลด้ วยตนเอง
จากสถานศึกษา
9. การวิพากษ์ การดาเนินการวิจัย
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล จากแบบสั มภาษณ์ ผ้ เู ชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิใช้ การ
วิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยความถี่
3. การวิเคราะห์ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้ ค่าความถี่และค่ าร้ อยละ
4. การวิเคราะห์ ค่าระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามปลายปิ ดแบบ
มาตราส่ วนประมาณค่ า 6 ระดับ ใช้ ค่าเฉลีย่ (x) และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
5. การวิเคราะห์ องค์ ประกอบ ใช้ การวิเคราะห์ องค์ ประกอบเชิงยืนยัน โดย
โปรแกรม LISREL 8.50
6. การวิเคราะห์ เพือ่ นาเสนอแนวทางการส่ งเสริมจริยธรรมของผู้บริหาร
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ใช้ การวิเคราะห์ เนือ้ หาจากการสั มภาษณ์
10. ความเหมาะสมของการสรุ ปผล อภิปราย และข้ อเสนอแนะ
ผลการวิ จั ย เรื่ อง จริ ยธรรมของผู้ บ ริ ห ารสถาบั นอุ ด มศึ กษาเอกชน พบว่ า
จริ ย ธรรมของผู้ บ ริ ห ารระดับหั ว หน้ าภาควิ ช าของสถาบั นอุ ด มศึ ก ษาเอกชน มี
องค์ ป ระกอบ 3 องค์ ป ระกอบ และสามารถแยกได้ 7 องค์ ป ระกอบย่ อ ย ได้ แ ก่
องค์ ประกอบที่ 1 มี 3 องค์ ประกอบย่ อยคือ จริ ยธรรมต่ อผู้บังคับบัญชา จริยธรรม
ต่ อองค์ กร และจริ ยธรรมต่ อสั งคม องค์ ประกอบที่ 2 มี 2 องค์ ประกอบย่ อย คือ
จริ ย ธรรมต่ อ นั ก ศึ ก ษา และจริ ย ธรรมต่ อ ผู้ ร่ วมงาน องค์ ป ระกอบที่ 3 มี 2
องค์ ประกอบย่ อยจริ ยธรรมส่ วนงาน และจริ ยธรรมส่ วนตน ส่ วนแนวทางในการ
ส่ งเสริมจริยธรรมของผู้บริหารระดับหัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
มี 8 แนวทางใหญ่ ได้ แ ก่ 1. การสนั บ สนุ น ด้ า นนโยบาย 2. มี ก ารจั ด ฝึ กอบรม
จริยธรรม 3. จัดทาประมวลจริยธรรมหรือจริยธรรมวิชาชีพในองค์ กร
10. ความเหมาะสมของการสรุปผล อภิปราย และข้ อเสนอแนะ
4. การตรวจสอบจริ ย ธรรม 5. การน าจริ ย ธรรมเข้ า เป็ นส่ วนหนึ่ ง ที่ส าคัญในการ
บริ หารทรั พยากรบุคคล 6. การเป็ นแบบอย่ างที่ดีของผู้นา 7. มีคณะกรรมการหรือที่
ปรึกษาด้ านจริยธรรม 8. การจูงใจ
สรุ ปผลการวิจัย อภิปรายผล
1. จริยธรรมผู้บริหารในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนมีองค์ ประกอบ 3 องค์ ประกอบหลัก
ซึ่ งเป็ นองค์ ประกอบในแง่ ความสั มพันธ์ ที่ผ้ ูบริ หารระดับภาควิช า/สาขาวิชามีต่อ
บุคคลต่ างๆ รวมทั้งทีม่ ตี วั เองด้ วย
2. จริยธรรมผู้บริหารในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ได้ สะท้ อนให้ เห็นถึงจริยธรรมที่มี
ในบทบาทที่ผ สมผสานระหว่ า งบทบาทของอาจารย์ ผ้ ู ส อนและบทบาทในฐานะ
ผู้ บ ริ ห ารภาควิ ช า ดั ง นั้ น จึ ง จ าเป็ นต้ อ งมี ท้ั ง จรรยาบรรณวิ ช าชี พ อาจารย์ แ ละ
จรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วข้ องกับการบริหาร
10. ความเหมาะสมของการสรุปผล อภิปราย และข้ อเสนอแนะ
ข้ อเสนอแนะการวิจัย
1. ควรศึ ก ษาวิจั ย ในการน าข้ อ ค้ น พบคือ “จริ ย ธรรมของผู้ บ ริ ห ารระดั บ หั ว หน้ า
ภาควิชาของสถาบันอุดมศึ กษาเอกชน และแนวทางในการส่ งเสริ มจริ ยธรรมของ
ผู้บริ หารระดับหัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึ กษาเอกชน” ไปประยุกต์ ใช้ ใน
กระบวนการบริ หารงานของสถาบันเพื่อสรุ ปภาพรวมของรู ปแบบและความถูกต้ อง
เหมาะสมของแต่ ละองค์ ประกอบ
2. ควรศึกษาวิจัยในแต่ ละองค์ ประกอบเพื่อสร้ างตัวชีวัดเชิงพฤติกรรมจริ ยธรรมของ
ผู้บริหารระดับหัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนทีช่ ัดเจน
10. ความเหมาะสมของการสรุปผล อภิปราย และข้ อเสนอแนะ
ข้ อเสนอแนะการวิจัย
3. ควรศึกษาวิจัยจริยธรรมของผู้บริหารระดับหัวหน้ าภาควิชาของสถาบันอุดมศึกษา
เอกชน และแนวทางในการส่ งเสริ มจริ ยธรรมของผู้บริ หารระดับหั วหน้ า ภาควิชา
ของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ได้ ในภาพรวมหรือแต่ ละองค์ ประกอบที่ส่งผลต่ อการ
บริหารของสถาบัน
4. ควรศึ กษาวิจัยจริ ยธรรมของผู้บริ หารระดับอื่นๆ ของสถาบันอุดมศึ กษาเอกชน
อาทิ ระดับคณบดี ระดับอธิการบดี เป็ นต้ น
แนวคิดนาเพือ่ นาไปสู่ การวิจยั และพัฒนาการศึกษาต่ อไป
ในระดับขององค์ กร ทาให้ สามารถกาหนดลักษณะและค่ านิยมทางจริยธรรม
ที่พึงประสงค์ ของผู้บริ หารระดับภาควิชา/สาขาวิชาได้ อย่ างชั ดเจน และสามารถหา
แนวทางในการส่ งเสริ มและพัฒนาต่ อไปได้ การกาหนดคุณค่ าหลักทางจริ ยธรรมที่
ค้ น พบเข้ า เป็ นส่ วนหนึ่ ง ที่ ส าคั ญ ในการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลโดยเริ่ ม ตั้ ง แต่
การคัดเลือกบุ คลากร การว่ าจ้ าง การพัฒนาบุ คคล การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การเลือ่ นตาแหน่ ง การเข้ าสู่ ตาแหน่ ง มีการจัดทาประมวลจริยธรรม เป็ นต้ น
บรรณานุกรม
รัชนี หาญถาวรชัยกิจ. (2547). ความสัมพันธ์ ระหว่ างการรั บร้ ู ความยตุ ิธรรมใน
องค์ กรกับจริยธรรมในการทางาน : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนแห่ งหนึ่งใน
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปะศาสตร์ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . กรุ งเทพฯ. 162 หน้ า
ชั ย อุทัยภัตรากูร. (2545). จริ ยธรรมในองค์ กร: ศึ กษากรณีกล่ ุมอุตสาหกรรม
เครื่ องใช้ ไ ฟฟ้ าและอิ เ ล็กทรอนิ กส์ ในนิ คมอุตสาหกรรมบางชั น . วิทยานิ พนธ์
พั ฒ นาแรงงานและสวั ส ดิ ก ารมหาบั ณ ฑิ ต คณะสั ง คมสงเคราะห์ ศ าสตร์ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . กรุ งเทพฯ.
Peter, R.S. and Atlanta, N.J. (1967). Ethics and Education. Scott
Foresman and Co.