PPT การตรวจสุขภาพกองทุนชุมชน - สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจันทบุรี

Download Report

Transcript PPT การตรวจสุขภาพกองทุนชุมชน - สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจันทบุรี

Financial Health Check (FHC)
ความหมาย
กองทุนชุมชน
หมายถึง
1. กองทุนชุ มชนทีเ่ กิดจากความร่ วมมือของประชาชนดาเนินการก่ อตั้ง
โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน
ได้ แก่ กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต กลุ่มอาชีพต่ าง ๆ
2. กองทุนทีเ่ กิดจากการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ
และเอกชน หรือภาคีการพัฒนาอืน่ ๆ
ได้ แก่ กองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมือง (กทบ.)
โครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน กองทุนแม่ ของแผ่ นดิน
ความหมาย
การตรวจสุขภาพ
หมายถึง
การตรวจ และการให้ คาปรึกษาโรค ตั้งแต่ ยงั ไม่ มี
อาการหรือยังไม่ พบโรค
ความหมาย
การตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
หมายถึง
- การตรวจเจาะลึกสุ ขภาพทางการเงิน
- ค้ นหาปัจจัยเสี่ ยง
- การให้ คาปรึกษาเกีย่ วกับการดาเนินงาน
ของกองทุนชุ มชนให้ มปี ระสิ ทธิภาพ เพือ่ สร้ างภูมิคุ้มกันของการเงิน
ด้ วยวิธีการตรวจ ระบบการบริหารจัดการ ระบบบัญชีและระเบียบ
รวมทั้งผลประโยชน์ ที่เกิดขึน้ แก่สมาชิก
ประโยชน์ ของการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
มี 3 ระดับ
1.ระดับปฐมภูมิ
2. ระดับทุตยิ ภูมิ
3. ระดับตติยภูมิ
1. ระดับปฐมภูมิ คือ
การรู้ เท่ าทันและป้องกันก่ อนเกิดความเสี ยหายของ
กองทุนชุมชน เช่ น
- การสร้ างความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับการจัดทาระบบบัญชี
- การวางมาตรการในการบริหารความเสี่ ยง
- การควบคุมการบริหารจัดการตามระเบียบข้ อบังคับของกองทุน
- การเฝ้ าระวังปัจจัยเสี่ ยงต่ างๆในการบริหารจัดการกองทุน
- การจัดทาแผนการพัฒนากองทุนชุมชน ฯลฯ
2. ระดับทุติยภูมิ คือ
การตรวจค้ นหาปัจจัยเสี่ ยงต่ อความบกพร่ องอันอาจจะ
เกิดขึน้ โดยไม่ ได้ ต้งั ใจ เพือ่ ให้ คาแนะนาในการป้ องกัน
หรือให้ การรักษาโรค ตั้งแต่ ในระยะยังไม่ มีอาการ ซึ่ งจะให้ ผล
การรักษาและควบคุมเหตุปัจจัยได้ ดกี ว่ า เมื่อเกิดความบกพร่ อง
หรือมีอาการแล้ ว เช่ น การจัดทาระบบบัญชีทางการเงิน
งบดุล งบกาไรขาดทุน การบริหารจัดการกองทุน ฯลฯ
3. ระดับตติยภูมิ คือ
สร้ างความมั่นคงโดยการกากับดูแลเบือ้ งต้ นและการเยียวยา
กองทุนทีม่ ีสถานการณ์ ทีเ่ พิง่ เริ่มเกิดความเสี ยหาย ซึ่งจะส่ งผลให้
เกิดความบกพร่ องในการกากับดูแลและควบคุมเยียวยาได้ ทนั การณ์ เช่ น
- การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการใหม่
- การวางมาตรการ จัดทาระเบียบข้ อบังคับที่ชัดเจนสามารถ
ปฏิบัติได้ จริง
- การเพิม่ ทางเลือกในการบริหารจัดการกองทุนให้ มปี ระสิ ทธิภาพ
ฯลฯ
1. กรมการพัฒนาชุมชน ได้ ดาเนินการส่ งเสริม
สนับสนุนการจัดตั้งกองทุนการเงินต่ าง ๆ ในชุมชน เช่ น
- กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต - กลุ่มอาชีพต่ าง ๆ
- กองทุนกลุ่มเยาวชน - โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)
และการมีส่วนร่ วมในการสนับสนุนการดาเนินงาน
- กองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมือง - สถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
มาเป็ นระยะเวลานานซึ่งมีกรอบและแนวทางชัดเจน
ในการดาเนินงานของแต่ ละกองทุน
2. กลุ่ม/กองทุน มีเงินทุนเป็ นจานวนมากและ
ขยายวงเงินเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ
3. กลุ่ม/กองทุน เกิดปัญหาในการบริหารจัดการเงินทุน
เช่ น การควบคุมการดาเนินงานให้ เกิดความโปร่ งใส
ขาดการตรวจสอบ
4. การสร้ างกลไกธรรมาภิบาลทางการเงิน
จึงมีความสาคัญในการเสริมสร้ างระบบการบริหารจัดการเงินทุน
ให้ มีประสิ ทธิภาพ เกิดประโยชน์ แก่ประชาชนอย่างแท้ จริง จึงกาหนดให้ มี
การตรวจสุ ขภาพทางการเงิน เพือ่ การจัดทาเครื่องมือ
“ปรอทวัดสุ ขภาพทางการเงิน” และเป็ นการประเมินสถานะของกองทุนชุ มชน
เพือ่ ค้ นหารู ปแบบการการส่ งเสริมกองทุนชุ มชนด้ านธรรมาภิบาล
ควบคุมการบริหารจัดการกองทุนชุ มชนให้ เกิดความโปร่ งใส ตรวจสอบได้
และเป็ นข้ อมูลในการพิจารณาและจัดสรรงบประมาณ/กิจกรรม
ทีจ่ ะพัฒนากองทุนในระดับต่ าง ๆ
1. บุคลากร
1.1. หน่ วยส่ งเสริมและสนับสนุน
1.2. หน่ วยปฏิบตั ิ (Financial Health Check Team )
2. เอกสาร (คู่มอื การตรวจสุ ขภาพ)
3. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
1. แบบประเมินการตรวจสุ ขภาพ
2. สมุดบันทึกสุ ขภาพของกองทุนชุมชน
3. แบบรายงานแผน/ผล
4. การบันทึกในระบบอิเลคทรอนิกส์ หรือ Online Real time (ถ้ ามี)
5. การบันทึกฐานข้ อมูลกองทุนชุมชนในระบบอิเลคทรอนิกส์
บทบาทของสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนและเครือข่ ายกองทุนชุมชน
ในการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
1. ร่ วมกาหนดกระบวนการ/วิธีการ/หลักเกณฑ์ การตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชนทีเ่ ป็ น
สมาชิกสถาบันฯ/ เครือข่ ายฯ กองทุนต่ าง ๆ
2. แต่ งตั้งคณะทางานตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชนในสถาบันฯ
3. ประสานภาคีการพัฒนาให้ การสนับสนุน
4. ประชาสั มพันธ์ ส่งเสริมให้ คณะกรรมการกองทุนชุ มชนเห็นความสาคัญและ
ประโยชน์ ของการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
5. ประชุ มให้ ความรู้ กระบวนการ/ขั้นตอน /วิธีการ ตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
6. หาแนวทาง กิจกรรม การพัฒนาเสริมสร้ างสุ ขภาพและทุนชุ มชนทีไ่ ม่ ผ่านเกณฑ์
7. ส่ งเสริมให้ มกี ารประกวด/ให้ รางวัลสาหรับกองทุนทีม่ ีผลการตรวจสุ ขภาพทีด่ ี
ขั้นตอนการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
ขั้นเตรียมการ
ส่ งเสริม/สนับสนุน/พัฒนา
ติดตาม/ประเมินผล
1. สร้ างเครื่องมือการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
2. จัดทาทะเบียนกองทุนในชุ มชนแยกตามประเภทกองทุน
3. คัดเลือกกองทุนเป้าหมาย
ทีจ่ ะดาเนินการตรวจสุ ขภาพทางการเงินชุ มชน
4. สร้ างทีมงานในการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
5. จัดทาคู่มือ /เอกสารสาหรับดาเนินกิจกรรมต่ าง ๆ
ในการตรวจสุ ขภาพกองทุน
6. สร้ างความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับการใช้ เครื่องมือ
7. วางแผนการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
1. การส่ งเสริม/สนับสนุน การป้องกันความเสี่ ยง
ในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน
2. การส่ งเสริม/สนับสนุน การตรวจสุ ขภาพการเงินกองทุนชุ มชน
3. การส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนา การเพิม่ ศักยภาพกองทุนชุ มชน
4. วิเคราะห์ /ประมวลผลหรือจัดทาแนวทางการพัฒนากองทุนชุ มชน
5. วางแผนการพัฒนาเพือ่ ยกระดับกองทุนชุมชน
1. สรุ ปรายงานผลการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชนให้ กรมฯทราบ
2. จัดทาสื่ อเผยแพร่ ประชาสั มพันธ์ และให้ ใบประกาศเกียรติคุณ/ให้ รางวัล /
ถอดบทเรียนกองทุนชุ มชนดีเด่ น
3. อาเภอ/จังหวัด รายงานผลความก้ าวหน้ าในการบริหารจัดการกองทุนชุ มชน
ทุกกองทุนให้ กรมฯทราบตามฐานข้ อมูลกลาง
ในเว็บไซต์ http://203.114.112.231/ cddcenter/login.php
4. บันทึกผลตามonline Real time
5. บันทึกระบบอิเลคทรอนิกส์
6. ประเมินความพึงพอใจและความไม่ พงึ พอใจ
วัตถุประสงค์ การตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
สู่ การบริหารจัดการกองทุนตามหลักธรรมาภิบาล
1. เพือ่ ส่ งเสริม/สนับสนุน การป้องกันความเสี่ ยง
ในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน
2. เพือ่ ส่ งเสริม/สนับสนุน การตรวจสุ ขภาพการเงินกองทุนชุมชน
3. เพือ่ ส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพกองทุนชุ มชน
การส่ งเสริม/สนับสนุน การป้องกันความเสี่ ยง
ในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน
1. การจัดทาคู่มอื บัญชีกองทุนชุ มชน
2. การสร้ าง ความรู้ความเข้ าใจเกีย่ วกับระบบบัญชี ให้ แก่ เจ้ าหน้ าทีพ่ ฒ
ั นาชุ มชน
คณะกรรมการบริหารกองทุนชุ มชน
3. การพัฒนาและจัดทาระบบบัญชีอเิ ลคทรอนิกส์ ให้ กบั กองทุนชุ มชนต่ าง ๆ
4. การพัฒนาโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
5. การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญสู่ ความเป็ นเลิศด้ านกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
6. การเสริมสร้ างความเข้ มแข็งกองทุนชุ มชนเพือ่ จัดตั้งสถาบันฯ
7. การขับเคลือ่ นกองทุนชุ มชนเพือ่ จัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
8. สถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนกับการพัฒนาเครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
9. การส่ งเสริมกิจกรรมการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ของสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
การส่ งเสริม/สนับสนุน การตรวจสุ ขภาพการเงินกองทุนชุมชน
1. การส่ งเสริมสุ ขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
2. การส่ งเสริมสุ ขภาพทางการเงินกองทุนโครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.)
3. การสร้ างระบบการตรวจสุ ขภาพทางการเงินกองทุนชุ มชนใน
สถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
4. การจัดทาสื่ อการบริหารจัดการสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนตาม
หลักธรรมาภิบาล
5. การจัดทาสมุด/ทะเบียน กข.คจ.
6. การพัฒนาระบบอิเลคทรอนิกส์ แก่ กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
(จานวน 5,000 เครื่อง สนับสนุนโดยธนาคารออมสิ น)
7. การพัฒนาระบบฐานข้ อมูลกองทุนชุ มชนและระบบบัญชี
ของสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน (ร่ วมมือกับ ธนาคาร ธกส.)
การส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพกองทุนชุมชน
1. การส่ งเสริมกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตจัดสวัสดิการชุมชน
2. การประชุมเชิงปฏิบัติการการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
3. การสนับสนุนการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
4. การเพิม่ ศักยภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกับการแก้ ไขปัญหาความยากจน
5. การเพิม่ ศักยภาพเครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตกับสถาบันฯ
6. การประชุมเชิงปฏิบัติการด้ านการตรวจสอบระบบบัญชีกองทุน
7. การจัดทาสื่ อเผยแพร่ ประชาสั มพันธ์ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
กับการแก้ ไขปัญหาความยากจน
8. การจัดแสดงผลงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกับการแก้ ไขปัญหาความยากจน
9. โครงการหนึ่งจังหวัด หนึ่งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
การส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพกองทุนชุมชน
10. โครงการสรรค์ สร้ างนวัตกรรมสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนกับ
การแก้ไขปัญหาความยากจน/จัดสวัสดิการชุ มชน
11. การประกวดสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนทีม่ กี ารบริหารจัดการเงินทุน
ตามหลักธรรมาภิบาล
12. การส่ งเสริมเครือข่ ายกองทุนชุ มชนในการจัดกิจกรรมเพือ่ สั งคม
13. การจัดแสดงผลงานกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
14. การจัด Road Show 4 ภาค
15. การแถลงข่ าว “6 มีนาคม เนื่องในวันก่ อตั้งกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต”
และสั ปดาห์ รณรงค์ การประหยัดและการออม 6-8 มีนาคม ของทุกปี
16. การพัฒนาโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
1. กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
จานวน 5,000 กองทุน
2. กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน จานวน 3,400 กองทุน
เกณฑ์ การประเมิน ประกอบด้วย
1. ด้ านการจัดทาบัญชีและทะเบียน
2. ด้ านการบริหารจัดการ
3. ด้ านระเบียบข้ อบังคับ
4. ด้ านผลประโยชน์ ของสมาชิก กลุ่ม และชุมชน
ด้ าน
ด้ านการจัดทาบัญชี
และทะเบียน
( 4 ข้ อ)
เกณฑ์ การประเมิน
1.การจัดทาทะเบียน ได้ แก่ ทะเบียนสมาชิก
ทะเบียนคุมเงิน ทะเบียนลูกหนี้
ทะเบียนเงินกู้ ทะเบียนคุมทรัพย์ สิน
2. การจัดทาบัญชี ได้ แก่ บัญชีเงินสด
บัญชีรายรับ บัญชีรายจ่ าย บัญชีเงินฝาก
ธนาคาร และหลักฐานประกอบบัญชี
3. การจัดทางบการเงิน
(ประกอบด้ วย งบดุล งบกาไรขาดทุน)
4. การตรวจสอบบัญชี/หลักฐาน
ด้ าน
ด้ านการบริหารจัดการ
(10 ข้ อ)
เกณฑ์ การประเมิน
5. การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
6. การจัดทาแผนการดาเนินงานของกลุ่ม
7. การประชุมของคณะกรรมการ
8. การเข้าร่ วมประชุมของสมาชิก
9. การพิจารณาเงินกู้
10. การส่ งชาระคืนเงินกูต้ ามสัญญาของสมาชิก
11. การส่ งเงินสัจจะสะสมของสมาชิก
12. การนาเงินกูไ้ ปใช้ของสมาชิก
13.การเรี ยนรู้และการพัฒนาของคณะกรรมการ
14. การจัดสรรผลกาไร
ด้ าน
เกณฑ์ การประเมิน
15. ระเบียบข้ อบังคับ
ด้ านระเบียบข้ อบังคับ
(1 ข้ อ)
ด้ าน
ด้ านผลประโยชน์
ของ สมาชิก
กลุ่ม และชุมชน
( 4 ข้ อ)
เกณฑ์ การประเมิน
16. การมีรายได้ พ้นเกณฑ์ ยากจนตาม
เกณฑ์ จปฐ. ของสมาชิก
(ใช้ เกณฑ์ จปฐ. ปี 2555)
17. การแก้ไขปัญหาหนีน้ อกระบบ
18. การจัดสวัสดิการให้ แก่สมาชิก
19. การจัดกิจกรรมด้ าน
สาธารณประโยชน์ ของกลุ่ม
แนวทางการประเมินผล ขอให้ ประเมินตามความเป็ นจริง
โดยให้ พจิ ารณาเป็ นรายข้ อ ทั้งหมด 19 ข้ อ ดังนี้
1. ประเมินข้อ 1 ให้ถือว่า “ไม่ ผ่าน” และต้องดาเนินการแก้ไขอย่างเร่ งด่วน
2. ประเมินข้อ 2 ให้ถือว่า “ไม่ ผ่าน” และต้องดาเนินการปรับปรุ ง
3. ประเมินข้อ 3 ให้ถือว่า “ผ่าน”
4. กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตใดทีท่ าการประเมินแล้ ว
ผลปรากฏว่ า “ไม่ ผ่าน” ในเกณฑ์ การประเมินข้ อใดก็ตาม
ให้ ถือว่ า “ไม่ ผ่านเกณฑ์ การประเมินสุ ขภาพและต้ องดาเนินการแก้ ไขปรับปรุ ง”
โดยให้ จัดทาแนวทางการพัฒนา และทาการประเมินรอบ 2
ในเดือนสิ งหาคม 2555 แล้วรายงานผลให้ อาเภอ/จังหวัดทราบเพือ่ ดาเนินการต่อไป
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านการจัดทาบัญชีและทะเบียน
1) จัดทาบัญชีและทะเบียน (เช่ น ทะเบียนสมาชิก ทะเบียนคุมเงิน
ทะเบียนลูกหนี้ ทะเบียนเงินกู้ หลักฐานการเงินการบัญชี ฯลฯ)
* คาอธิบายธุรกรรมทางการเงินทีต่ ้ องผ่านระบบธนาคาร
หลักๆ คือ การฝาก การถอน การโอน การชาระเงิน
กรณีสถาบันการเงิน ธุรกรรมการทางการเงินรวมถึง
การบริการให้ ก้ยู มื เงินด้ วย
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านการจัดทาบัญชีและทะเบียน
2) การตรวจสอบบัญชี/หลักฐาน
* หลักฐานต่ าง ๆ ทีก่ ลุ่มทาธุรกรรมทางการเงินไว้
ด้ านการบริหารจัดการ
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านการจัดทาบัญชีและทะเบียน
4) มีแผนการดาเนินงานของกลุ่ม
(แผนการดาเนินงานและแผนบริหารความเสี่ ยง)
* คาอธิบายเพิม่ เติมเรื่องทุนสารอง หมายถึง
เงินทีก่ ลุ่มได้ แบ่ งปัน/ปันผลจากกาไรเพือ่ ไว้ เป็ น
หลักประกันความเสี่ ยงในการบริหารจัดการกลุ่ม
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านการจัดทาบัญชีและทะเบียน
5) การประชุ มของคณะกรรมการ
*บันทึกการประชุ มจะต้ องประกอบด้ วย วาระตามหลักการประชุ ม
ประกอบด้ วย
วาระที่ 1 เรื่องทีป่ ระธานแจ้ งให้ ทปี่ ระชุ มทราบ
วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุ ม ครั้งที่ .../....
วาระที่ 3 เรื่องสื บเนื่อง
วาระที่ 4 เรื่องเสนอเพือ่ พิจารณา
วาระที่ 5 เรื่องอืน่ ๆ (ถ้ ามี) (รายงานสถานะทางการเงิน..)
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านผลประโยชน์ ของสมาชิก และชุมชน
2) การแก้ ไขปัญหาหนีน้ อกระบบ
* คิดจากจานวนสมาชิกทีไ่ ม่ ได้ เข้ าระบบการแก้ ไข
ความยากจนกับธนาคาร
* หากไม่ มขี ้ อมูลความยากจนและหนีน้ อกระบบ
ไม่ ต้องคิดค่ าคะแนนข้ อนี้
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านผลประโยชน์ ของสมาชิก และชุมชน
3) ในรอบปี มีการจัดสวัสดิการให้ แก่สมาชิก
* ความหมายของการจัดสวัสดิการสั งคม/ชุมชน
สวัสดิการชุ มชน หมายถึง การสร้ างหลักประกันเพือ่ ความ
มั่นคงของคนในชุมชน เป็ นการช่ วยเหลือเกือ้ กูลกันในชุ มชนทีเ่ ป็ น
เรื่องเกีย่ วกับวิถีชีวติ ตั้งแต่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย รวมทั้งการการทาให้
คนในชุ มชนมีความเป็ นอยู่ทดี่ ีขนึ้
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านผลประโยชน์ ของสมาชิก และชุมชน
๏ กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตระดับ 3 มีการจัดสวัสดิการ
หมายถึง กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตระดับ 3 ที่มีการจัด
สวัสดิการแก่สมาชิกหรือชุ มชนอย่ างน้ อย 2 กิจกรรมขึน้ ไป
ได้ แก่ 1) ทุนการศึกษา 2) ทุนชดเชยค่ ารักษาพยาบาล
3) ทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ 4) ทุนสงเคราะห์ ผู้พกิ าร/ผู้ด้อยโอกาส
5) ทุนสาธารณประโยชน์
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านผลประโยชน์ ของสมาชิก และชุมชน
๏ ทุนการศึกษา หมายถึง ทุนทีก่ ลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตจัดไว้
เพือ่ มอบให้ เด็กในชุ มชนสาหรับเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการศึกษา
๏ ทุนชดเชยค่ ารักษาพยาบาล หมายถึง ทุนทีก่ ลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
จัดไว้ เพือ่ มอบให้ เด็กในชุ มชนสาหรับเป็ นค่ าชดเชยกรณีเจ็บป่ วยและเข้ ารับ
การรักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาล
๏ ทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ หมายถึง ทุนทีก่ ลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การ
ผลิตจัดไว้ เพือ่ มอบให้ แก่ทายาทของสมาชิกที่เสี ยชีวิต
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านผลประโยชน์ ของสมาชิก และชุมชน
๏ ทุนสงเคราะห์ ผู้พกิ าร/ผู้ด้อยโอกาส หมายถึง
ทุนทีก่ ลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตจัดไว้ เพือ่ มอบให้ แก่ผู้พกิ ารหรือ
ผู้ด้อยโอกาสในชุ มชนสาหรับเป็ นค่าใช้ จ่ายในการดารงชีพหรือ
การประกอบอาชีพ
๏ ทุนสาธารณประโยชน์ หมายถึง ทุนทีก่ ลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตจัดไว้
เพือ่ ดาเนินกิจกรรมด้ าน สาธารณประโยชน์ เช่ น กิจกรรมด้ านประเพณี
วัฒนธรรม ด้ านการกีฬา ด้ านการป้องกันยาเสพติด ด้ านการพัฒนา
สิ่ งแวดล้อม เป็ นต้ น
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านผลประโยชน์ ของสมาชิก และชุมชน
4) กิจกรรมด้ านสาธารณประโยชน์
* กิจกรรมด้ านสาธารณประโยชน์ เป็ นกิจกรรมที่ทาหรือ
จัดทาขึน้ เพือ่ ประชาชนได้ ใช้ ประโยชน์ ร่วมกัน เป็ น
ประโยชน์ โดยส่ วนรวม สาหรับ
* หลักฐานประกอบด้ วย ภาพถ่ าย บันทึกการประชุม
ฯลฯ
หลักเกณฑ์ การประเมินสุ ขภาพกองทุน
โครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)
1. ด้ านการบริหารจัดการ
2. ด้ านระบบบัญชีและหลักฐานเอกสาร
แบบประเมินสุ ขภาพกองทุนการเงินชุมชน
ชื่อบ้ าน..........................................................................หมู่ที่..........ตาบล.........................................................
อาเภอ..............................................................จังหวัด...............................................................
****************************************
ข้ อมูลพืน้ ฐานหมู่บ้าน
1. จานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน...............ครัวเรือน...........................คน
2. จานวนครัวเรือนเป้ าหมาย...............................ครัวเรือน...........................คน
3. จานวนครัวเรือนเป้ าหมาย ทีไ่ ด้ รับเงินยืมแล้ว...................................ครัวเรือน
4. จานวนครัวเรือนเป้ าหมาย ทีม่ ีรายได้ ผ่านเกณฑ์ จปฐ.)......................ครัวเรือน
5. จานวนเงินทุนโครงการ กข.คจ.หมู่บ้าน จานวน...............................บาท
ด้ าน
ด้ านการบริหารจัดการ
( 6 ข้ อ )
เกณฑ์ การประเมิน
1) การประชุ มของคณะกรรมการ กข.คจ. หมู่บ้าน
2) การส่ งและรับมอบงานของคณะกรรมการ
กข.คจ. หมู่บ้าน
3) การพิจารณาอนุมตั ิโครงการและเงินยืม
( ตามระเบียบฯ พ.ศ.2553 ข้ อ 17 )
4) การเบิกจ่ ายเงินโครงการ กข.คจ. ให้ แก่ ครัวเรือน
เป้ าหมาย และรับคืนเงินยืมจากครัวเรือนเป้ าหมาย
5) การติดตาม กากับดูแล และสนับสนุน ครัวเรือน
เป้ าหมาย ทีย่ มื เงินไปประกอบอาชีพ
6) การหมุนเวียนเงินยืมให้ แก่ ครัวเรือนเป้ าหมาย
ด้ าน
เกณฑ์ การประเมิน
7) การจัดทาและจัดเก็บสั ญญายืมเงิน
8) การจัดทาเอกสารบัญชีโครงการ กข.คจ.
ด้ านระบบบัญชีและ
หลักฐานเอกสาร
( 3 ข้ อ )
9) การรายงานผลการ ดาเนินงานโครงการ
กข.คจ. ของคณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน
แนวทางการประเมินผล โดยให้ พจิ ารณาเป็ นรายข้ อ
ทั้งหมด 9 ข้ อ จานวน 22 ตัวชี้วดั ดังนี้
1. ระดับการประเมินแบ่ งออกเป็ น 2 ระดับ
(ให้ ทาเครื่องหมาย / ในช่ อง ระดับการประเมิน)
และให้ ทาเครื่องหมาย / ลงในช่ อง “ผลการประเมิน”
)
2. ระดับการประเมินได้ 0 ให้ ถือว่ า “ไม่ ผ่าน”
และต้ องดาเนินการแก้ ไขอย่ างเร่ งด่ วน
3. ระดับการประเมินได้ 1 ให้ ถือว่ า “ผ่ าน”
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านบริหารจัดการ
- การประชุ มคณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน อย่ างสม่าเสมอ
* มีการประชุ มของคณะกรรมการอย่ างน้ อยเดือนละ 1 ครั้ง
และมีการจดบันทึกการประชุ มด้ วยทุกครั้ง
- การส่ งและรับมอบงานในความรับผิดชอบระหว่ างคณะกรรมการ
กข.คจ. หมู่บ้าน ชุ ดเดิมและทีไ่ ด้ รับแต่ งตั้งใหม่
* การรับ-ส่ ง มอบงาน มีเอกสารหลักฐานการส่ งมอบงานตาม
แบบที่กรมฯ กาหนด
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านบริหารจัดการ
- การพิจารณาอนุมัตโิ ครงการและเงินยืม
(เป็ นไปตามลาดับบัญชีทะเบียนครัวเรือนเป้าหมาย)
*ให้ พจิ ารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการทีค่ รัวเรือน
เสนอขออนุมัติ ตามความจาเป็ นและเหมาะสมของโครงการ
และผลตอบแทนทีจ่ ะได้ รับ)
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านบริหารจัดการ
- การเบิกจ่ ายเงินโครงการ กข.คจ. ให้ แก่ ครัวเรือนเป้าหมาย
และรับคืนเงินยืมจากครัวเรือนเป้าหมาย
* ให้ มีหลักฐานในการโอนเงินเข้ าบัญชีของหัวหน้ า
ครัวเรือนเป้าหมาย
* มีหลักฐานในการนาเงินฝากเข้ าบัญชีเงินทุน กข.คจ.
หมู่บ้าน
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านบริหารจัดการ
- การหมุนเวียนเงินยืมให้ แก่ ครัวเรือนเป้าหมาย
(คณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน มีการจัดประชุมครัวเรือน
เป้าหมายเพือ่ แจ้ งผลการรับคืนเงินยืม
* มีการจัดประชุมฯ ภายใน 7 วันทาการ นับจากวัน
รับคืนเงินยืม
* มีการแสดงหลักฐานการนาเงินทีร่ ับคืน ฝากเข้ าใน
บัญชีเงินทุน กข.คจ.หมู่บ้าน
คาอธิบายเพิม่ เติม
ด้ านระบบบัญชีและหลักฐานเอกสาร
- การจัดทาและจัดเก็บสั ญญายืมเงิน
(ประธานคณะกรรมการ กข.คจ.เป็ นผู้ลงนามในสั ญญาเงินยืม)
* กรณีประธานไม่ อยู่หรือไม่ สามารถปฏิบัตหิ น้ าที่ได้
ให้ รองประธาน หรือกรรมการทีค่ ณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน
มอบหมาย)