การตรวจสุขภาพกองทุนชุมชน - สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

Download Report

Transcript การตรวจสุขภาพกองทุนชุมชน - สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

Financial Health Check (FHC)
ความหมาย
กองทุนชุมชน
หมายถึง
1. กองทุนชุ มชนทีเ่ กิดจากความร่ วมมือของประชาชนดาเนินการก่ อตั้ง
โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน
ได้ แก่ กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต กลุ่มอาชีพต่ าง ๆ
2. กองทุนทีเ่ กิดจากการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ
และเอกชน หรือภาคีการพัฒนาอืน่ ๆ
ได้ แก่ กองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมือง (กทบ.)
โครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน กองทุนแม่ ของแผ่ นดิน
ความหมาย
การตรวจสุขภาพ
หมายถึง
การตรวจ และการให้ คาปรึกษาโรค ตั้งแต่ ยงั ไม่ มี
อาการหรือยังไม่ พบโรค
ความหมาย
การตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
หมายถึง
- การตรวจเจาะลึกสุ ขภาพทางการเงิน
- ค้ นหาปัจจัยเสี่ ยง
- การให้ คาปรึกษาเกีย่ วกับการดาเนินงาน
ของกองทุนชุ มชนให้ มปี ระสิ ทธิภาพ เพือ่ สร้ างภูมิคุ้มกันของการเงิน
ด้ วยวิธีการตรวจ ระบบการบริหารจัดการ ระบบบัญชีและระเบียบ
รวมทั้งผลประโยชน์ ที่เกิดขึน้ แก่สมาชิก
ประโยชน์ ของการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
มี 3 ระดับ
1.ระดับปฐมภูมิ
2. ระดับทุตยิ ภูมิ
3. ระดับตติยภูมิ
1. ระดับปฐมภูมิ คือ
การรู้ เท่ าทันและป้องกันก่ อนเกิดความเสี ยหายของ
กองทุนชุมชน เช่ น
- การสร้ างความรู้ ความเข้ าใจ เกีย่ วกับการจัดทาระบบบัญชี
- การวางมาตรการในการบริหารความเสี่ ยง
- การควบคุมการบริหารจัดการตามระเบียบข้ อบังคับของกองทุน
- การเฝ้ าระวังปัจจัยเสี่ ยงต่ างๆในการบริหารจัดการกองทุน
- การจัดทาแผนการพัฒนากองทุนชุมชน ฯลฯ
2. ระดับทุติยภูมิ คือ
การตรวจค้ นหาปัจจัยเสี่ ยงต่ อความบกพร่ องอันอาจจะ
เกิดขึน้ โดยไม่ ได้ ต้งั ใจ เพือ่ ให้ คาแนะนาในการป้ องกัน
หรือให้ การรักษาโรค ตั้งแต่ ในระยะยังไม่ มีอาการ ซึ่ งจะให้ ผล
การรักษาและควบคุมเหตุปัจจัยได้ ดกี ว่ า เมื่อเกิดความบกพร่ อง
หรือมีอาการแล้ ว เช่ น การจัดทาระบบบัญชีทางการเงิน
งบดุล งบกาไรขาดทุน การบริหารจัดการกองทุน ฯลฯ
3. ระดับตติยภูมิ คือ
สร้ างความมั่นคงโดยการกากับดูแลเบือ้ งต้ นและการเยียวยา
กองทุนทีม่ ีสถานการณ์ ทีเ่ พิง่ เริ่มเกิดความเสี ยหาย ซึ่งจะส่ งผลให้
เกิดความบกพร่ องในการกากับดูแลและควบคุมเยียวยาได้ ทนั การณ์ เช่ น
- การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการใหม่
- การวางมาตรการ จัดทาระเบียบข้ อบังคับที่ชัดเจนสามารถ
ปฏิบัติได้ จริง
- การเพิม่ ทางเลือกในการบริหารจัดการกองทุนให้ มปี ระสิ ทธิภาพ
ฯลฯ
1. กรมการพัฒนาชุมชน ได้ ดาเนินการส่ งเสริม
สนับสนุนการจัดตั้งกองทุนการเงินต่ าง ๆ ในชุมชน เช่ น
- กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต - กลุ่มอาชีพต่ าง ๆ
- กองทุนกลุ่มเยาวชน - โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)
และการมีส่วนร่ วมในการสนับสนุนการดาเนินงาน
- กองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมือง - สถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
มาเป็ นระยะเวลานานซึ่งมีกรอบและแนวทางชัดเจน
ในการดาเนินงานของแต่ ละกองทุน
2. กลุ่ม/กองทุน มีเงินทุนเป็ นจานวนมากและ
ขยายวงเงินเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ
3. กลุ่ม/กองทุน เกิดปัญหาในการบริหารจัดการเงินทุน
เช่ น การควบคุมการดาเนินงานให้ เกิดความโปร่ งใส
ขาดการตรวจสอบ
4. การสร้ างกลไกธรรมาภิบาลทางการเงิน
จึงมีความสาคัญในการเสริมสร้ างระบบการบริหารจัดการเงินทุน
ให้ มีประสิ ทธิภาพ เกิดประโยชน์ แก่ประชาชนอย่างแท้ จริง จึงกาหนดให้ มี
การตรวจสุ ขภาพทางการเงิน เพือ่ การจัดทาเครื่องมือ
“ปรอทวัดสุ ขภาพทางการเงิน” และเป็ นการประเมินสถานะของกองทุนชุ มชน
เพือ่ ค้ นหารู ปแบบการการส่ งเสริมกองทุนชุ มชนด้ านธรรมาภิบาล
ควบคุมการบริหารจัดการกองทุนชุ มชนให้ เกิดความโปร่ งใส ตรวจสอบได้
และเป็ นข้ อมูลในการพิจารณาและจัดสรรงบประมาณ/กิจกรรม
ทีจ่ ะพัฒนากองทุนในระดับต่ าง ๆ
1. บุคลากร
1.1. หน่ วยส่ งเสริมและสนับสนุน
1.2. หน่ วยปฏิบตั ิ (Financial Health Check Team )
2. เอกสาร (คู่มอื การตรวจสุ ขภาพ)
3. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
1. แบบประเมินการตรวจสุ ขภาพ
2. สมุดบันทึกสุ ขภาพของกองทุนชุมชน
3. แบบรายงานแผน/ผล
4. การบันทึกในระบบอิเลคทรอนิกส์ หรือ Online Real time (ถ้ ามี)
5. การบันทึกฐานข้ อมูลกองทุนชุมชนในระบบอิเลคทรอนิกส์
บทบาทของสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนและเครือข่ ายกองทุนชุมชน
ในการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
1. ร่ วมกาหนดกระบวนการ/วิธีการ/หลักเกณฑ์ การตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชนทีเ่ ป็ น
สมาชิกสถาบันฯ/ เครือข่ ายฯ กองทุนต่ าง ๆ
2. แต่ งตั้งคณะทางานตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชนในสถาบันฯ
3. ประสานภาคีการพัฒนาให้ การสนับสนุน
4. ประชาสั มพันธ์ ส่งเสริมให้ คณะกรรมการกองทุนชุ มชนเห็นความสาคัญและ
ประโยชน์ ของการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
5. ประชุ มให้ ความรู้ กระบวนการ/ขั้นตอน /วิธีการ ตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
6. หาแนวทาง กิจกรรม การพัฒนาเสริมสร้ างสุ ขภาพและทุนชุ มชนทีไ่ ม่ ผ่านเกณฑ์
7. ส่ งเสริมให้ มกี ารประกวด/ให้ รางวัลสาหรับกองทุนทีม่ ีผลการตรวจสุ ขภาพทีด่ ี
ขั้นตอนการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
ขั้นเตรียมการ
ส่ งเสริม/สนับสนุน/พัฒนา
ติดตาม/ประเมินผล
1. สร้ างเครื่องมือการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
2. จัดทาทะเบียนกองทุนในชุ มชนแยกตามประเภทกองทุน
3. คัดเลือกกองทุนเป้าหมาย
ทีจ่ ะดาเนินการตรวจสุ ขภาพทางการเงินชุ มชน
4. สร้ างทีมงานในการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
5. จัดทาคู่มือ /เอกสารสาหรับดาเนินกิจกรรมต่ าง ๆ
ในการตรวจสุ ขภาพกองทุน
6. สร้ างความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับการใช้ เครื่องมือ
7. วางแผนการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชน
1. การส่ งเสริม/สนับสนุน การป้องกันความเสี่ ยง
ในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน
2. การส่ งเสริม/สนับสนุน การตรวจสุ ขภาพการเงินกองทุนชุ มชน
3. การส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนา การเพิม่ ศักยภาพกองทุนชุ มชน
4. วิเคราะห์ /ประมวลผลหรือจัดทาแนวทางการพัฒนากองทุนชุ มชน
5. วางแผนการพัฒนาเพือ่ ยกระดับกองทุนชุมชน
1. สรุ ปรายงานผลการตรวจสุ ขภาพกองทุนชุ มชนให้ กรมฯทราบ
2. จัดทาสื่ อเผยแพร่ ประชาสั มพันธ์ และให้ ใบประกาศเกียรติคุณ/ให้ รางวัล /
ถอดบทเรียนกองทุนชุ มชนดีเด่ น
3. อาเภอ/จังหวัด รายงานผลความก้ าวหน้ าในการบริหารจัดการกองทุนชุ มชน
ทุกกองทุนให้ กรมฯทราบตามฐานข้ อมูลกลาง
ในเว็บไซต์ http://203.114.112.231/ cddcenter/login.php
4. บันทึกผลตามonline Real time
5. บันทึกระบบอิเลคทรอนิกส์
6. ประเมินความพึงพอใจและความไม่ พงึ พอใจ
วัตถุประสงค์ การตรวจสุ ขภาพกองทุนชุมชน
สู่ การบริหารจัดการกองทุนตามหลักธรรมาภิบาล
1. เพือ่ ส่ งเสริม/สนับสนุน การป้องกันความเสี่ ยง
ในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน
2. เพือ่ ส่ งเสริม/สนับสนุน การตรวจสุ ขภาพการเงินกองทุนชุมชน
3. เพือ่ ส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพกองทุนชุ มชน
การส่ งเสริม/สนับสนุน การป้องกันความเสี่ ยง
ในการบริหารจัดการกองทุนชุมชน
1. การจัดทาคู่มอื บัญชีกองทุนชุ มชน
2. การสร้ าง ความรู้ความเข้ าใจเกีย่ วกับระบบบัญชี ให้ แก่ เจ้ าหน้ าทีพ่ ฒ
ั นาชุ มชน
คณะกรรมการบริหารกองทุนชุ มชน
3. การพัฒนาและจัดทาระบบบัญชีอเิ ลคทรอนิกส์ ให้ กบั กองทุนชุ มชนต่ าง ๆ
4. การพัฒนาโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
5. การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญสู่ ความเป็ นเลิศด้ านกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
6. การเสริมสร้ างความเข้ มแข็งกองทุนชุ มชนเพือ่ จัดตั้งสถาบันฯ
7. การขับเคลือ่ นกองทุนชุ มชนเพือ่ จัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
8. สถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนกับการพัฒนาเครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
9. การส่ งเสริมกิจกรรมการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ของสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
การส่ งเสริม/สนับสนุน การตรวจสุ ขภาพการเงินกองทุนชุมชน
1. การส่ งเสริมสุ ขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
2. การส่ งเสริมสุ ขภาพทางการเงินกองทุนโครงการแก้ ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.)
3. การสร้ างระบบการตรวจสุ ขภาพทางการเงินกองทุนชุ มชนใน
สถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน
4. การจัดทาสื่ อการบริหารจัดการสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนตาม
หลักธรรมาภิบาล
5. การจัดทาสมุด/ทะเบียน กข.คจ.
6. การพัฒนาระบบอิเลคทรอนิกส์ แก่ กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
(จานวน 5,000 เครื่อง สนับสนุนโดยธนาคารออมสิ น)
7. การพัฒนาระบบฐานข้ อมูลกองทุนชุ มชนและระบบบัญชี
ของสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชน (ร่ วมมือกับ ธนาคาร ธกส.)
การส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพกองทุนชุมชน
1. การส่ งเสริมกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตจัดสวัสดิการชุมชน
2. การประชุมเชิงปฏิบัติการการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
3. การสนับสนุนการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
4. การเพิม่ ศักยภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกับการแก้ ไขปัญหาความยากจน
5. การเพิม่ ศักยภาพเครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตกับสถาบันฯ
6. การประชุมเชิงปฏิบัติการด้ านการตรวจสอบระบบบัญชีกองทุน
7. การจัดทาสื่ อเผยแพร่ ประชาสั มพันธ์ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
กับการแก้ ไขปัญหาความยากจน
8. การจัดแสดงผลงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกับการแก้ ไขปัญหาความยากจน
9. โครงการหนึ่งจังหวัด หนึ่งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
การส่ งเสริม/ สนับสนุน/ พัฒนาเพือ่ เพิม่ ศักยภาพกองทุนชุมชน
10. โครงการสรรค์ สร้ างนวัตกรรมสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนกับ
การแก้ไขปัญหาความยากจน/จัดสวัสดิการชุ มชน
11. การประกวดสถาบันการจัดการเงินทุนชุ มชนทีม่ กี ารบริหารจัดการเงินทุน
ตามหลักธรรมาภิบาล
12. การส่ งเสริมเครือข่ ายกองทุนชุ มชนในการจัดกิจกรรมเพือ่ สั งคม
13. การจัดแสดงผลงานกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
14. การจัด Road Show 4 ภาค
15. การแถลงข่ าว “6 มีนาคม เนื่องในวันก่ อตั้งกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต”
และสั ปดาห์ รณรงค์ การประหยัดและการออม 6-8 มีนาคม ของทุกปี
16. การพัฒนาโรงเรียนกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต