เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

Download Report

Transcript เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

LOGO
ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน
ว่าด้วยการส่งเสริมการดาเนินงานกลุ่มออม
ทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕
นายสมพงษ์ จวงพันธ์
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ
กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
การปฏิบัตงิ านตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน
01
ความหมายและคาจากัดความ
02
วัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์
03
การจัดตั้งกลุ่มและการจดทะเบียน
04
คณะกรรมการกลุ่มฯ และบทบาทหน้ าที่
การปฏิบัตงิ านตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน
05
06
กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
เงินทุนของกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
07
การเก็บรักษาเงินกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
08
เครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
การปฏิบัตงิ านตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน
09
การส่ งเสริม สนับสนุน กากับดูแลการดาเนินงาน
10
กรณีไม่ สามารถปฏิบัติตามระเบียบฯ
11
ข้ อห้ ามและข้ อปฏิบัตภิ ายในระเบียบฯ นี้
01
ความหมายและคาจัดกัดความ
กลุ่มออมทรัพย์ หมายความว่า กลุ่มออม
ทรัพย์เพื่อการผลิต ที่ประชาชนรวมตัวกันจัดตั้งขึ้น
เพื่อเก็บออมเงินสะสมร่วมกัน โดยมีการบริหาร
จัดการกันเอง และดาเนินการตามแนวทางที่
กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด
01
ความหมายและคาจัดกัดความ
เจ้าหน้าที่ หมายความว่า ข้าราชการ
สังกัดกรมการพัฒนาชุมชน
สมาชิก หมายความว่า สมาชิกของกลุ่ม
ออมทรัพย์ซึ่งสมัครเข้ามาโดยถูกต้องตามระเบียบ
และปรากฏชื่อในทะเบียนของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ
การผลิต
01
ความหมายและคาจัดกัดความ
เงินสัจจะสะสม หมายความว่า จานวนเงินที่
สมาชิกสมัครใจฝากออมทรัพย์ไว้กับกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ
การผลิต ตามที่ให้สัจจะกับกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
อย่างสม่าเสมอเป็นประจาทุกเดือน
เงินสัจจะพิเศษ หมายความว่า เงินที่สมาชิก
นามาฝากนอกเหนือจากเงินสัจจะสะสม สามารถเบิก
ถอนได้ และมีดอกผลตามระเบียบของกลุ่มออมทรัพย์
เพื่อการผลิต
01
ความหมายและคาจัดกัดความ
คณะกรรมการ หมายความว่า
คณะกรรมการบริหารกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ที่ได้รับการคัดเลือกโดยมติที่ประชุมสมาชิก
เครือข่าย หมายความว่า เครือข่ายกลุ่ม
ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งเป็นองค์กรที่เกิดจาก
การรวมตัวกันของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
01
ความหมายและคาจัดกัดความ
สถาบัน หมายความว่า สถาบันการ
จัดการเงินทุนชุมชน ที่เป็นองค์กรในการส่งเสริมให้
กองทุนชุมชนมีการบริหารจัดการร่วมกัน
คุณธรรม หมายความว่า คุณธรรม ๕
ประการ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความเสียสละ
ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจและความ
ไว้วางใจ
กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต ใช้ ชื่อภาษาอังกฤษว่ า
Saving for Production Group
(SPG.)
เครื่องหมายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
ลักษณะ
(ก) เป็ นวงกลมเล็ก (วงใน) ล้ อมรอบด้ วยวงกลมวงใหญ่ (วงนอก)
(ข) ภายในวงกลมเล็ก ตรงกลางเป็ นรู ปต้ นไทร ด้ านซ้ ายเป็ นรู ป
ครอบครัว (เป็ นรู ปคนประกอบด้ วย พ่อ แม่ ลูก) ด้ านขวาเป็ นรู ป
ถุงเงิน และรู ปสายนา้ อยู่ด้านล่ าง
(ค) ภายในขอบวงกลมวงนอกทีล่ ้ อมวงกลมวงในด้านบนมีข้อความ
“กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต” ด้ านล่ างเป็ นรู ปรวงข้ าว
เครื่องหมายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
สี
(ก) เส้ นรอบวงกลมวงนอกและวงในเป็ นสี ฟ้า
(ข) พืน้ วงกลมวงในเป็ นสี ขาว รู ปต้ นไทร ครอบครัว และถุงเงินเป็ น
สี เขียว สายนา้ เป็ นสี ฟ้า
(ค) พืน้ วงกลมวงนอกเป็ นสี เหลือง ข้ อความ “กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่
การผลิต” เป็ นสี นา้ เงินและรวงข้ าวเป็ นสี เขียว
02
วัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์
เพือ่ พัฒนาคน
ให้มีคุณธรรม โดย
ใช้เงินเป็นเครื่องมือ
ในการพัฒนา
เพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจชุ มชน
เพือ่ พัฒนาสั งคม
โดยการปลู
ก
ฝั
ง
โดยการระดมเงิน
คุณธรรม วิถี
ออม ทาให้มีแหล่ง ประชาธิปไตย สร้าง
เงินทุนในการ
ความสามัคคี การ
ประกอบอาชีพ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
และความเป็นธรรม
03
การจัดตั้งกลุ่มและการจดทะเบียน
การจัดตั้งกลุ่มออม
ทรัพย์เพื่อการผลิต
ต้องมีจานวนผู้ก่อตั้งไม่
น้อยกว่า ๑๕ คน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ
การผลิต ภายใต้
ระเบียบนี้ ต้องจด
ทะเบียนตามแนวทาง
ที่กรมการพัฒนา
ชุมชนกาหนด
04
คณะกรรมการกลุ่มฯ และบทบาทหน้ าที่
คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต ประกอบด้ วย
01
คณะกรรมการอานวยการ
02
คณะกรรมการเงินกู้
03
คณะกรรมการตรวจสอบ
04
คณะกรรมการส่งเสริม
แต่ ละคณะมีจานวนไม่ น้อยกว่ า ๓ คน ประกอบด้ วย ประธาน รองประธาน และเหรัญญิก
หรือตาแหน่ งอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม การดารงตาแหน่ ง คราวละ ๔ ปี นับแต่ วนั ที่ได้ รับ
การคัดเลือก
04
บทบาทหน้ าทีข่ องคณะกรรมการ
คณะกรรมการอานวยการ มีหน้ าที่ กาหนดระเบียบ
ข้ อบังคับ ทาบัญชีรายรับ รายจ่ ายและทะเบียนเอกสารต่ างๆ
และบริหารงานทัว่ ไปของกลุ่ม เพือ่ ประโยชน์ สูงสุ ดแก่ สมาชิก
คณะกรรมการเงินกู้ มีหน้ าที่ ดาเนินการเกี่ยวกับการ
พิจารณาเงินกู้ให้ กบั สมาชิก
04
บทบาทหน้ าทีข่ องคณะกรรมการ
คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้ าที่ ตรวจสอบเอกสาร
หลักฐานและกิจการของกลุ่ม
คณะกรรมการส่ งเสริม มีหน้ าที่ ส่ งเสริมและสร้ าง
ความเข้ าใจในหลักการของกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
04
สมาชิกและการสิ้นสุ ดสมาชิกภาพ
สมาชิก มี ๓ ประเภท ประกอบด้ วย
๑.สมาชิกสามัญ ได้ แก่ บุคคลธรรมดาในหมู่บ้านหรือตาบล ที่สมัครเป็ น
สมาชิกตามระเบียนข้ อบังคบของกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
๒.สมาชิกวิสามัญ ได้ แก่ กลุ่มองค์ กร ภายในหมู่บ้าน/ตาบล ที่ทาง
ราชการสนับสนุนและรับรองฐานะที่สมัครเป็ นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์
เพือ่ การผลิต
๓.สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้ แก่ ข้าราชการ คหบดี ภิกษุ สามเณร บุคคลที่มี
ความสนใจและให้ การสนับสนุนกลุ่มโยไม่ หวังผลตอบแทน ตามที่
คณะกรรมการมีมติเห็นชอบ
04
การสมัครเป็ นสมาชิก
สามารถสมัครเป็น
สมาชิกโดยยื่นคาขอ
ณ ที่ทาการกลุ่มออม
ทรัพย์ที่คณะกรรมการ
กาหนด
เงื่อนไขการสมัคร
เป็นไปตามระเบียบ
ข้อบังคับของกลุ่ม
ออมทรัพย์เพื่อการ
ผลิต
การสิ้นสุ ดการเป็ นสมาชิกภาพ
1
2
3
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามที่ระบุไว้ระเบียบของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
4
ที่ประชุมสมาชิกมีมติให้
ออกด้วยคะแนนเสียง ๓ ใน
๔ ของสมาชิกทั้งหมด
05
กิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
1
2
3
4
5
การให้กู้เงินเพื่อเป็นทุนในการประกอบ
อาชีพและสวัสดิการของครอบครัว
การดาเนินงานศูนย์สาธิตการตลาดเพื่อรวมกันซือ้
รวมกันขายวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นปัจจัยการผลิตและ
สินค้าอุปโภคบริโภค ให้ได้ราคาถูกและมีคุณภาพ
การดาเนินงานยุ้งฉางเพื่อรวมกันขายข้าวหรือผลผลิตทางการเกษตรให้
ได้ในราคาสูงและลดการถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง
การดาเนินงานธนาคารข้าว เพื่อให้การ
สงเคราะห์ข้าวแก่ผู้ยากไร้ขาดแคลน
การเข้าร่วมกิจกรรม เวทีการประชุม การ
ปรึกษากระบวนการดาเนินงานกับผู้ร่วมงาน
06
เงินทุนการดาเนินการของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ค่าสมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุม่ ออมทรัพย์ฯ และค่าปรับกรณีผดิ สัญญา
การส่งใช้คืนเงินกู ้
เงินสัจจะสะสมของสมาชิก
เงินที่กูห้ รื อยืมมาจากแหล่งเงินทุนต่างๆ เช่น ธนาคาร กองทุนชุมชน
เงินช่วยเหลือจากสถาบันหรื อองค์กรอื่นทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ
เงินรายได้อ่ ืนๆ เช่นเงินบริ จาคต่างๆ
07
การเก็บรักษาเงินของกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
ให้เงินของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตนาฝาก
ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร (ธกส.) ธนาคารออมสิน หรือธนาคารอื่น สาหรับ
การเปิดบัญชีเงินฝากตามข้อ ๑๗ ให้ประธาน รองประธาน
และเหรัญญิกของกลุ่มฯ เป็นผู้ลงลายมือชื่อ และเมื่อจะถอน
ฝากต้องลงลายมือชื่อร่วมกันอย่างน้อย ๒ คน โดยให้
ประธานลงลายมือชื่อร่วมทุกครั้ง
08
เครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต
วัตถุประสงค์ ๑
วัตถุประสงค์ ๒
เพื่อประสานงานและ
เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน
ความรู้และข้อมูล ปัญหา
ประสานความร่วมมือ
ระหว่างเครือข่ายและสมาชิก อุปสรรค ซึ่งกันและกันใน
การดาเนินงาน
วัตถุประสงค์ ๓
เพื่อส่งเสริมองค์กรเครือข่าย
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
ในแต่ละระดับ (ตาบล อาเภอ
จังหวัดและประเทศ) ผนึก
กาลังประสานเชื่อมโยงการ
เรียนรู้ การจัดการกิจกรรม
ของกลุ่มออมทรัพย์ฯแตะละ
ระดับให้มีความเข้มแข็ง
กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต มีเครือข่ าย ๔ ระดับ
1 เครือข่ายระดับตาบล
2
3
เครือข่ายระดับอาเภอ
เครือข่ายระดับจังหวัด
เครือข่ายระดับประเทศ
4
การแต่ งตั้งเครือข่ ายฯ
นายอาเภอ
ผู้ว่าราชการจังหวัด
อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ระดับตาบลและอาเภอ
ระดับจังหวัด
ระดับประเทศ
คณะกรรมการเครือข่ ายฯ ประกอบด้ วย
๑.ผู้แทนกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต ทีอ่ ยู่ในหมู่บ้าน/ชุ มชน อย่ างน้ อยกลุ่ม
ละ ๑ คน เป็ น กรรมการเครือข่ ายฯ ระดับตาบล
๒.ผู้แทนเครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต ระดับตาบล อย่ างน้ อย
เครือข่ ายละ ๑ คน เป็ นกรรมการเครือข่ ายฯ ระดับอาเภอ
๓.ผู้แทนเครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต ระดับอาเภอ อย่ างน้ อย
เครือข่ ายละ ๑ คน เป็ นกรรมการเครือข่ ายฯ ระดับจังหวัด
๔.ผู้แทนเครือข่ ายกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิต ระดับจังหวัด เครือข่ าย ๑ คน
เป็ นกรรมการเครือข่ ายฯ ระดับประเทศ
วาระกาดารงตาแหน่งคราว
ละ ๔ ปี
มีหน้าที่ ดังนี้
01
02
ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน การดาเนินงานเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์
เพื่อการผลิตประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการกลุ่ม บุคลากร แหล่ง
ทุน ด้านอื่นๆ ตามที่เครือข่ายฯ เห็นสมควร อันก่อให้เกิดประโยชน์แก่
การดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในหมู่บ้าน/ชุมชน
กาหนดนโยบายและแนวทางการดาเนินงานเครื อข่ายฯ จัดทาแผนการ
ด าเนิ น งาน จั ด ท าระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ของเครื อ ข่ า ยฯ ข้ อ บั ง คั บ
งบประมาณรายจ่ายของเครือข่ายฯ และจัดประชุมประจาเดือน ประชุม
สามัญ/วิสามัญ
มีหน้าที่ ดังนี้
03
กากับ ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ การดาเนินงานกิจกรรมของเครือข่ายฯ ให้
เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมติที่ประชุม ดาเนินกิจกรรมเกี่ยวกับภาระ
ผูกพันของเครือข่าย
04
จั ด ท าทะเบี ย น ระบบบั ญ ชี เอกสารหลั ก ฐานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ดู แ ล
ทรัพย์สินของเครือข่ายฯ
05
ประสานความร่วมมือหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
มีหน้าที่ ดังนี้
06
ติดตามตรวจสอบ ให้คาแนะนาการแก้ไขข้อร้องเรียน ข้อขัดแย้งของกลุ่ม
ออมทรัพย์เพื่อการผลิต
07
ประสานและเชื่อมโยงความร่วมมือการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ
ผลิตของแต่ละพื้นที่
08
อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
ให้เครือข่ายฯ ส่งเสริมให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่เข้มแข็งและมีความ
พร้อมเป็นแกนนาในการจัดตั้งสถาบันการจัดการทุนชุมชน เพื่อสนับสนุนให้กองทุนชุมชนมี
การบริหารจัดการร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยดาเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ
แนวทางที่กรมฯ กาหนด
09
การส่ งเสริม/สนับสนุน/กากับดูแลการดาเนินงาน
๑.กรมการพัฒนาชุมชน
เป็นหน่วยงานรับผิดชอบการส่งเสริม สนับสนุน และกากับดูแลการดาเนินงาน
ของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และวิธีการที่กาหนดและ
ทาหน้าที่เป็นนายทะเบียน
๒. สานักผู้ตรวจราชการกรม และศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
เป็นหน่วยงานสนับสนุนทางวิชาการ แก่จังหวัด/อาเภอ ในการดาเนินงานกลุ่ม
ออมทรัพย์เพื่อการผลิต
๓. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอ
เป็นหน่วยงานสนับสนุนและกากับดูแลการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ
ผลิต
10
กรณีไม่ สามารถปฏิบัติตามระเบียบ
หรือกลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การผลิตกระทาผิดกฎหมาย
๑.ในกรณีที่มีความจาเป็น ไม่อาจปฏิบัติตามระเบียบฯ นี้ได้ หรือมี
อุปสรรคในการดาเนินงานตามระเบียบฯ นี้ ให้อธิบดีพิจารณาสั่งการได้
ตามที่เห็นสมควรเพื่อให้การดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
เป็ น ไปด้ ว ยความคล่ อ งตั ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่
เปลี่ยนแปลงไป
๒. หากการด าเนิ น งานของกลุ่ ม ออมทรั พ ย์ เ พื่ อการผลิ ต เป็ น การ
กระทาที่ผิดกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชนหรือของบ้านเมือง ให้อธิบดีมีอานาจในการเพิกถอนกลุ่มออม
ทรัพย์เพื่อการผลิตนั้นออกจากทะเบียนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตของ
กรมการพัฒนาชุมชน
11
ข้ อห้ ามและปฏิบัตภิ ายใต้ ระเบียบฯ นี้
๑.จ านวนเงิ น ฝากสั จ จะสะสม (รายเดื อ น) ควรให้ ส มาชิ ก เป็ น ผู้
ตัดสินใจที่จะออมตามศักยภาพของตนเอง โดยจากัดจานวนเงินออมสูงสุด
ได้ตามความเหมาะสม ให้มุ่งเน้นความสม่าเสมอในการส่ง และสามารถ
ปรับเปลี่ยนเพิ่มหรือลดได้ เมื่อสิ้นปีปิดบัญชีงบดุลของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ
การผลิต
๒. การส่งเงินสัจจะสะสม สมาชิกหรือผู้แทนครัวเรือนที่เป็นสมาชิก
ต้องนาส่งด้วยตนเอง ณ ที่ทาการกลุ่ มออมทรั พย์เ พื่อการผลิ ต ตามวัน
เวลา และสถานที่ ที่ ก ลุ่ ม ออมทรั พ ย์ เ พื่ อ การผลิ ต ก าหนด และให้
คณะกรรมการฯ รวบรวมเงินสัจจะสะสมฝากเข้าบัญชีธนาคารของกลุ่ม
ออมทรัพย์เพื่อการผลิต ภายใน ๓ วันทาการ
11
ข้ อห้ ามและปฏิบัตภิ ายใต้ ระเบียบฯ นี้
๓.ห้ามมิให้ส่งเงินสัจจะสะสมล่วงหน้าก่อนระยะเวลาที่สมาชิกได้ให้
สั จ จะไว้ กั บ กลุ่ ม ยกเว้ น กรณี จ าเป็ น ทั้ ง นี้ ใ ห้ อ ยู่ ใ นดุ ล ยภาพพิ นิ จ ของ
คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
๔.การรับเงินสัจจะสะสม หรื อรั บชาระคืน เงินกู้ยืมจากสมาชิก ให้
คณะกรรมการฯ รวบรวมเงินดังกล่าว นาฝากเข้าบัญชีธนาคารของกลุ่ม
ออมทรัพย์เพื่อการผลิตภายใน ๓ วันทาการ เมื่อมีสมาชิกยื่นขอกู้เงิน ให้
เบิกถอนเงินจากธนาคารตามระเบียบเบิกจ่าย จะนาเงินดังกล่าวข้างต้น
ปล่อยให้สมาชิกกู้โดยไม่ผ่านระบบบัญชีธนาคารไม่ได้
11
ข้ อห้ ามและปฏิบัตภิ ายใต้ ระเบียบฯ นี้
๕.การดาเนินธุรกรรมทางการเงินของกลุ่มออมทรัพย์การผลิตทุก
ประเภท ให้ดาเนินการผ่านระบบบัญชีธนาคารทุกครั้ง
๖.ห้ า มมิ ใ ห้ ก ลุ่ ม ออมทรั พ ย์ เ พื่ อ การผลิ ต คิ ด ดอกเบี้ ย เงิ น กู้ จ าก
สมาชิกเกินอัตราที่กฎหมายกาหนด
๗.ห้ามมิให้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ดาเนินกิจกรรมในลักษณะ
เข้าข่ายต้องห้าม ตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ.๒๕๕๑
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน “ส่งเสริม สนับสนุน ”
การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
พัฒนากร ทาหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯ
๑.ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
๗.รายงานผลฯ
๒.ด้านวิชาการ
๘.ปฏิบัติงานอื่นๆตาม พอ.
๓.ประสานความร่วมมือ
มอบหมาย
๔.ให้คาปรึกษา แนะนา
๕.ติดตาม ตรวจสอบ
๖.จัดทาทะเบียน
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
พัฒนาการอาเภอ ทาหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุนให้การดาเนินงานของ
กลุ่ มออมทรัพ ย์เ พื่อ การผลิ ตเป็ น ไปตามแนวคิ ด หลั กการที่ก รมการ
พัฒนาชุมชนกาหนด รวมทั้งให้คาปรึกษา แนะนา และติดตาม กากับ
ดูแล การปฏิบัติงานของพัฒนากรประจาตาบล ให้เป็นไปตามระเบียบฯ
พัฒนาการจังหวัด ทาหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุน ติดตามกากับดูแลการ
ดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตภายในจังหวัด และมอบหมาย
ให้มีเจ้าหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบและแนะนา การบริหารจัดการกลุ่มให้
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามแนวทางที่กรมฯกาหนด แล้ว
รายงานให้ ผู้ว่าฯ ทราบ ปี ละ ๒ ครั้ง
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
แนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
ระดับจังหวัด
๑.ให้ พั ฒนาการจั งหวัด ก าชั บ หน.กง. พั ฒ นาการอ าเภอ นั ก วิช าการ
พั ฒ นาชุ ม ชน และพั ฒ นากรทุ ก คน ศึ ก ษาและท าความเข้ า ใจ
สาระสาคัญในระเบียบกรมฯ และแนวทางปฏิบัติให้ชัดเจน
๒.ให้ จั ง หวั ด ให้ ค วามส าคั ญ งบประมาณ และใช้ กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม
สนับสนุน สร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ทุกคน
๓.จัดตั้งคณะทางานฯ ชช.ออมทรัพย์ฯ ศึกษาระเบียบฯ ถ่ายทอดสร้าง
ความเข้าใจ ติดตามประเมินผล
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
แนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
ระดับจังหวัด
๕.จั ด ประชุ ม ท าความเข้ า ใจแก่ เ จ้ า หน้ า ที่ พช.ในการส่ ง เสริ ม การ
ดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯ
๖.กาชับเจ้าหน้าที่ พช.มีการมอบหมายงานโดยเคร่งครัด ในกรณีมีการ
โยกย้าย
๗.ให้เ น้ นย้าข้อ ปฏิบั ติและข้ อห้า ให้ จ นท.พช.น าระเบีย บดัง กล่า วไป
ปฏิบัติ
๘.จังหวัดกากับดูแลให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบฯ โดยเคร่งครัด
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
แนวทางการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
ระดับอาเภอ/ตาบล
๑.กาหนดให้มีการประชุมประจาเดือนของเจ้าหน้าที่ฯ
๒.ให้สานักงานพัฒนาชุมชน กาชับจนท.ให้ความสาคัญระเบียบฯ
๓.ให้พัฒนากร จัดประชุมคณะกรรมการและสมาชิกเพื่อสร้างความ
เข้ า ใจและทบทวนการด าเนิ น งานเป็ น รายกลุ่ ม ฯ ให้ แ ล้ ว เสร็ จ ก่ อ น
รายงานผลการตรวจสุขภาพฯ ในรอบที่ ๑ เดือนเม.ย.๕๖
๔.ให้พัฒนากร ติดตาม ตรวจสอบ การดาเนินงานของกลุ่มฯ ให้ครบทุก
กลุ่ม
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
ดาเนินการ ดังนี้
๑.หากมี ก ารด าเนิ น งานถู ก ต้ อ งให้ ก ลุ่ ม จดทะเบี ย นที่ สพอ.และขึ้ น
ทะเบียนกลุ่มที่ดาเนินการตามแนวทางที่กรมฯ กาหนด จัดกลุ่มประเภท
ที่ ๑ ที่พร้อมจะได้รับการส่งเสริม และสนับสนุน
๒.กรณีกลุ่มออมทรัพย์ฯ ที่ยังไม่สามารถดาเนินการตามแนวทางที่กรมฯ
กาหนด ให้จัดทาทะเบียนหรือขึ้นทะเบียนแยกประเภทเป็นกลุ่มประเภท
ที่ ๒ ที่ยอมรับและจะทาการพัฒนาตามแนวทางฯ
๓.หากกลุ่มใดไม่สมัคใจที่จะดาเนินการตามแนวทางที่กรมฯ กาหนดให้
สพอ.พิจารณาทบทวนหรือยกเลิกไม่ขึ้นทะเบียน
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
ดาเนินการ ดังนี้
๔.กรณี ที่ ก ลุ่ ม ได้ รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นแล้ ว แต่ ป ฏิ บั ติ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ให้
ส านั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนพิ จ ารณายกเลิ ก หรื อ เพิ ก ถอนนั้ น ออกจาก
ทะเบียนกลุ่มฯ โดยรายงานให้ อพช.ผู้มีอานาจในการดาเนินการ
๕.พัฒนากรผู้รับผิดชอบ ต้องติดตาม ตรวจสอบอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง
และจริงจัง
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
ดาเนินการ ดังนี้
๖.พั ฒ นาการอ าเภอ ต้ อ งให้ ค วามส าคั ญ ก ากั บ ดู แ ล ให้ พั ฒ นากร
ผู้รับผิดชอบถือปฏิบัติในการดาเนินการส่งเสริมกลุ่มฯ ตลอดจนการจัด
ทะเบี ย นกลุ่ ม ฯ ให้ ถู ก ต้ อ งครบถ้ ว น ไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย ต่ อ การ
ปฏิบัติงานภายหลัง
๗.พั ฒ นาการอ าเภอต้ อ งก ากั บ ให้ พั ฒ นากรรายงานผลการจั ด ท า
ทะเบี ย น รวมทั้ ง เอกสารต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และจั ด ส่ ง ให้ ก รมฯตาม
กาหนด
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
การติดตามการดาเนินงาน
๑.ให้ จั ง หวั ด มอบหมายเจ้ า หน้ า ที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ระดั บ ออกไปติ ด ตาม
สนับสนุนการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
๒.ให้จังหวัดกาหนดให้มีคณะทางานฯ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน
ผล
๓. ให้เจ้าหน้าที่พช.ทุกระดับ จัดทาแผนติดตามสนับสนุน ตรวจสอบผล
การดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
๔.ให้จังหวัดมอบหมาย ชช.ออมทรัพย์ฯ ให้คาปรึกษาแนะนา
๕.การติดตามนิเทศงานกลุ่มฯ ของ พจ.หน.กง.นว.พช.พอ.ให้ติดตามและ
ตรวจสอบผลให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
การรายงาน
๑.การรายงานผลการด าเนิ น งานส่ ง เสริ ม กลุ่ ม ฯและการด าเนิ น งานขึ้ น
ทะเบียนกลุ่มฯ
- ให้ ค ณะกรรมการกลุ่ ม ฯ รายงานและรั บ รองผลการตรวจสอบการ
ดาเนินงานให้สนง.พช.ทราบเพื่อจัดทาทะเบียน ภายในเดือน เม.ย.ของทุกปี
- สพอ.โดยคณะทางานที่แต่งตั้งฯ รั บผิดชอบตรวจสอบรับรองผล และ
รายงานอาเภอทราบ ภายในเดือนเม.ย.ของทุกปี
-หากกลุ่มฯที่ทาการพัฒนาและผ่านตามแนวทางที่กรมฯ กาหนดให้รายงาน
กรมฯ ทราบ พร้อมขึ้นทะเบียนประเภทที่ ๑ แล้ว ให้รายงานทุกวันที่ ๓๐
ก.ย.ของทุกปี
การส่ งเสริม สนับสนุน ติดตามและการรายงาน
การรายงาน
๒.การรายงานผลความก้า วหน้ า ให้อาเภอรายงานผลความก้าวหน้าให้
จังหวัด ปีละ ๑ ครั้ง ก่อนสิ้นปีงบประมาณ
๓.จังหวัดตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งก่อนรายงานให้กรมฯ ภายในวันที่
๓๐ ก.ย.ของทุกปี
LOGO
จบการนาเสนอ