Transcript C5=702351

บทที่ 5 การบริ หารความเสี่ยงด้ านสินเชื่อ
ธุรกิจธนาคารพาณิชย์คือธุรกิจที่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับการบริหาร
ความเสี่ยง
 ความเสี่ยงเกิดขึ ้นได้ จาก การให้ สน
ิ เชื่อ จากปั จจัยด้ านการตลาด
หรื อจากกระบวนการในการดาเนินธุรกิจ
 เป้าหมายในการทาธุรกิจ คือ การสร้ างความมัง่ คัง่ ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น
ดังนันธนาคารจะต้
้
องทาธุรกิจเพื่อให้ เกิดผลตอบแทนที่เหมาะสม
กับความเสี่ยง
 ธนาคารจะต้ องยอมรับความเสี่ยงในระดับหนึง่ ทังนี
้ ้จะต้ องมี
นโยบายการบริหารความเสี่ยงอย่างครอบคลุม

ความเสี่ยงของสถาบันการเงิน(โดย ธปท.)
1. ความเสี่ยงด้ านกลยุทธ์ (Strategic Risk)
 คือความเสี่ยงที่เกิดจากการกาหนดแผนกลยุทธ์ แผนดาเนินงาน
และการนาไปปฏิบตั ิที่ไม่เหมาะสม หรื อไม่สอดคล้ องกับปั จจัย
ภายในและสภาพแวดล้ อมภายนอก อันส่งผลกระทบต่อรายได้
เงินกองทุน หรื อการดารงอยูข่ องกิจการ

◦ Ex. วิกฤติ Sub-prime ในสหรัฐ, วิกฤติหนี ้ในยุโรป, ความขัดแย้ ง
ทางการเมืองในประเทศ การระบาดของไข้ หวัดนก วิกฤติน ้าท่วม ฟอง
สบูอ่ สังหาริมทรัพย์ ล้ วนแล้ วแต่สง่ ผลให้ อปุ สงค์ในประเทศทังการ
้
บริโภคและการลงทุนซบเซาลง ธนาคารต้ องปรับกลยุทธ์ให้ สอดคล้ อง
กับภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ
ความเสี่ยงของสถาบันการเงิน
2. ความเสี่ยงด้ านเครดิต (Credit Risk)
 ความเสี่ยงที่เกิดจากการที่คสู่ ญ
ั ญา ของธนาคาร ไม่สามารถ
ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้ อตกลงในสัญญา ทาให้ ไม่สามารถชาระ
หนี ้ได้ ตามกาหนด ส่งผลเสียหายต่อธนาคาร
 คูส่ ญ
ั ญา ที่สาคัญที่สดุ ได้ แก่.........
 ซึง่ อาจมีสาเหตุหลายประการ ได้ แก่
 2.1 ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของการให้ สินเชื่อ

◦ ธนาคารอาจกาหนดวงเงินสินเชื่อสูงสุดสาหรับอุตสาหกรรมแต่ละ
ประเภท (Sector limit) เพื่อไม่ให้ สนิ เชื่อกระจุกตัวทังในกลุ
้
ม่
ลูกค้ ารายใหญ่ หรื อกลุม่ อุตสาหกรรมใดมากเกินไป
◦ Single lending limit ไม่เกิน 25% ของเงินกองทุน
ความเสี่ยงของสถาบันการเงิน
2.2 ความเสี่ยงจากคุณภาพสินเชื่อ
 ธนาคารต้ องปรับปรุ งกระบวนการ นโยบายสินเชื่อให้ มี
ประสิทธิภาพ
 มีการติดตามดูแลสินเชื่อหลังการอนุมตั ิอย่างใกล้ ชิด ควบคุมให้
ใช้ สินเชื่อตรงตามวัตถุประสงค์
 มีกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสินเชื่อของลูกค้ าอย่าง
สม่าเสมอ
 การเร่ งปรับปรุ งโครงสร้ างหนี ้สาหรับลูกหนี ้ NPL
 การเร่ งจาหน่าย NPA

ความเสี่ยงของสถาบันการเงิน

2.3 ความเสี่ยงจากมูลค่าหลักประกัน
◦ (ตย.ที่เห็นได้ ชดั คือ subprime crisis)

ธนาคารต้ องดูแลควบคุมการประเมินราคาหลักประกันอย่าง
เข้ มงวด และติดตามการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าหลักประกัน
อย่างใกล้ ชิด
◦ ปั จจัยอะไรทาให้ มูลค่ าที่ดนิ เพิ่ม / ลด
2.4 ความเสี่ยงจากการเกินวงเงินของคูส่ ญ
ั ญา
 ธนาคารต้ องเข้ มงวด ไม่ให้ สน
ิ เชื่อเกินกว่าวงเงินที่กาหนดไว้

ความเสี่ยงของสถาบันการเงิน
3. ความเสี่ยงด้ านตลาด (Market risk)
 not a marketing risk
 ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของตราสารทางการเงินที่
ธนาคารถือครอง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปั จจัยตลาด เช่น อัตรา
ดอกเบี ้ย อัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากราคา (price risk)
 ธนาคารต้ องกาหนดนโยบายบริ หารความเสี่ยงด้ านตลาดให้ สอดคล้ อง
กับกลยุทธ์ของธนาคาร
 กาหนดเพดานความเสี่ยงด้ านตลาด สูงสุดที่ยอมรับได้
 มีการประเมินมูลค่าตามราคาตลาดทุกสิ ้นวัน (Mark to the
market)

ความเสี่ยงของสถาบันการเงิน







4. ความเสี่ยงด้ านสภาพคล่ อง (Liquidity Risk)
ความเสี่ยงที่เกิดจากการที่ธนาคารไม่สามารถชาระหนี ้สินหรื อภาระ
ผูกพันเมื่อถึงกาหนด เนื่องจาก
ไม่สามารถเปลี่ยนสินทรัพย์ให้ เป็ นเงินสดได้ ทันที ในราคาที่ปกติ
ไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้ เพียงพอ
ธนาคารควรแสวงหาแหล่งเงินทุนเพื่อสภาพคล่องที่หลากหลาย ทัง้
จากตลาดเงินและตลาดทุน ทังในประเทศและต่
้
างประเทศ
ธปท. กาหนดให้ ธพ. ดารงอัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง ไม่ต่ากว่า
ร้ อยละ 6 ของยอดเงินฝากและเงินกู้ยืม
สินทรัพย์สภาพคล่องได้ แก่ เงินสด เงินฝากและหลักทรัพย์ที่สภาพ
คล่องสูง
การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธพ.


ธปท.กาหนดให้ ธพ. ดารงสินทรัพย์สภาพคล่องเฉลี่ย ไม่ต่ากว่า ร้ อย
ละ 6 ของยอดเงินรับฝากและเงินกู้ยืม
สินทรัพย์สภาพคล่อง(Liquid Assets)
◦ สินทรัพย์ที่ปราศจากภาระผูกพัน มีความเสี่ยงด้ านเครดิตต่าและสามารถ
เปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ รวดเร็ว เช่น หลักทรัพย์รัฐบาลไทย พันธบัตร ธปท.ฯลฯ

โดยสินทรัพย์สภาพคล่อง ได้ แก่
◦ เงินฝากกระแสรายวันที่ ธปท.
◦ เงินฝากประจาที่ ธปท., เงินสดที่ศนู ย์เงินสดกลางธพ. หรื อเงินสดที่ธพ.
◦ หลักทรัพย์ / ตราสารที่ปราศจากภาระผูกพันและสามารถโอนเปลี่ยนมือได้
ความเสี่ยงของสถาบันการเงิน
5. ความเสี่ยงด้ านปฏิบัตกิ าร (Operational Risk)
 ความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายเนื่องจากการระบบการกากับดูแล
และควบคุมที่ดี หรื อขาดธรรมาภิบาลในองค์กร เช่น การทุจริ ต
ความล่าช้ าในการปฏิบตั ิงาน
 อาจมีสาเหตุมาจาก กระบวนการปฏิบตั ิงาน บุคลากร หรื อปั จจัย
ภายนอก เช่นน ้าท่วม ธนาคารถูกปล้ น หรื อระบบคอมพิวเตอร์
เสียหาย ธนาคารจะกาหนดมาตรฐานการจัดการปั ญหาอย่างไร
(เช่น กรณีตย. การคานวณดอกเบี ้ยผิด ศาลยกฟ้อง ธพ.เสียหาย)
 วิธีลดความเสี่ยง ธนาคารต้ องเน้ นการฝึ กอบรมพนักงาน การปรับปรุง
ระบบงาน เพิ่มระบบการตรวจสอบในระดับปฏิบตั ิการ
กระบวนการบริ หารความเสี่ยงของธนาคาร
 1. การระบุความเสี่ยง
◦ มีความเสี่ยงเรื่ องใดบ้ าง ที่ทาให้ เราไม่ สามารถบรรลุ
เป้าหมายที่ตงั ้ ไว้ ได้
 2. การประเมินความเสี่ยง
◦ ร้ ายแรงมาก-น้ อย / ควบคุมได้ -ไม่ ได้ /จัดการภายในภายนอก
 3. การติดตามและควบคุมความเสี่ยง
◦ สาเหตุจากอะไร จะแก้ ไขอย่ างไร
 4. การรายงานความเสี่ยง
◦ สรุ ปว่ าความเสี่ยงลดลงได้ หรื อไม่ อย่ างไร
ปั จจัยการประเมินความเสี่ยงด้ านเครดิต หลักวิเคราะห์ 6 Cs





Character
คุณลักษณะของผู้ขอกู้ นิสยั
พฤติกรรม เช่น ความซื่อสัตย์
ความกระตือรื อร้ น ความตังใจที
้ ่จะ
ชาระหนี ้ ความมุง่ มัน่ ความอดทน
Capacity
ความสามารถในการชาระหนี ้ เป็ น
การดูคณ
ุ สมบัติของผู้ขอกู้/ธุรกิจ
ในด้ านความสามารถในการหา
รายได้ เพื่อชาระหนี ้ (ทีมงาน)
How about โครงการ
ธุรกิจ
Capital
 ทรัพยากรทางการเงินของลูกค้ า
ทรัพย์สินที่ผ้ ขู อกู้เป็ นเจ้ าของ /
เงินทุนในส่วนของผู้ถือหุ้น
(equity)

ปั จจัยการประเมินความเสี่ยง หลักวิเคราะห์ 6 Cs
Collateral
 หลักประกัน เป็ นตัวสนับสนุน
ทัง้ 3 Cs แรก

Conditions
 เงื่อนไขต่ างๆที่มีผลทาให้
ฐานะของผู้ขอกู้เปลี่ยนไป
เช่ น ภาวะเศรษฐกิจ การเมือง
นโยบายรั ฐบาล

Country
 ปั จจัยที่เกี่ยวกับการค้ า
ระหว่ างประเทศ เช่ น
การเมือง นโยบายการค้ าของ
ประเทศคู่ค้า ex ธุรกิจ
ส่ งออกอาหาร มีข้อกาหนดที่
เข้ มงวดมาก หากกิจการไม่
ควบคุมการผลิตให้ ดีพอ ก็
อาจถูกปฏิเสธได้

หนีค้ รั วเรื อนนัน้ สาคัญไฉน?
 การขยายตัวของหนี ้ภาคครัวเรื อนส่วนหนึง่ จะสะท้ อนถึง
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเข้ าถึงแหล่งเงินทุนของ
ภาคครัวเรื อน
 การขยายตัวของหนี ้ภาคครัวเรื อนควรอยูใ่ นระดับที่
เหมาะสม กับการขยายตัวของเศรษฐกิจ
 ช่วงปี 2554 – 2555 หนี ้ภาคครัวเรื อนเร่ งสูงขึ ้นจากใน
อดีต โดยสินเชื่อภาคครัวเรื อน มีการขยายตัวร้ อยละ 17
เพิ่มขึ ้นจากค่าเฉลี่ยร้ อยละ 13 ในช่วงปี 2547 –2553
หนีค้ รั วเรื อนนัน้ สาคัญไฉน?



แม้ วา่ ตามทฤษฏีแล้ ว การกู้ยืมอาจช่วยให้ ครัวเรื อนสามารถรักษา
ระดับการบริ โภคให้ อยูใ่ นระดับที่เหมาะสมได้ (Smoothing
consumption)
อย่ างไรก็ดี หากการก่ อหนีข้ ยายตัวเร็วและมากกว่ าการ
ขยายตัวของรายได้ ดังเช่ นปั จจุบัน สถานการณ์ ดังกล่ าวจะ
นามาซึ่งความเสี่ยงต่ อการก่ อหนีเ้ กินตัวได้ ในอนาคต
นอกจากนี ้ การก่อหนี ้ของภาคครัวเรื อนอาจเป็ นปั จจัยส่งเสริ มให้ เกิด
ภาวะฟองสบูใ่ นราคาหลักทรัพย์ได้ หากเป็ นการกู้ยืมเพื่อลงทุนและ
เก็งกาไรในหลักทรัพย์ ดังเช่นกรณีประเทศสหรัฐอเมริ กาที่มีการเก็ง
กาไรในตลาดอสังหาริ มทรัพย์ จนนามาซึง่ วิกฤตซับไพร์ มในช่วงปี
2550-2551
การจัดระดับความเสี่ยงในสินเชื่อ

ปั จจัยความมั่นคงในกิจการ
=> Business risk
◦
◦
◦
◦
◦
◦
ระยะเวลาในการก่ อตัง้ ชื่อเสียง
คุณภาพของสินค้ า
ตรายี่ห้อเป็ นที่ร้ ู จัก
การเติบโตของรายได้
แนวโน้ มของธุรกิจ
จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์
หรื อไม่
◦ ได้ รับ BOI หรื อไม่

ปั จจัยความมั่นคงในฐานะ
การเงิน => Financial
risk
◦ รายได้ & กาไร (ผล
ประกอบการที่ผ่านมา)
◦ ภาระหนีส้ ิน & สภาพคล่ อง
ควรวิเคราะห์ เสมือนกับ
เราจะประกอบธุรกิจ
นัน้ เอง และต้ องไม่ bias
ปั จจัยพื ้นฐานในการวัดความเสี่ยงสินเชื่อ
1. การวัดความเสี่ยงของตัวผู้ก้ ู/ผู้บริหาร
2. การวัดความเสี่ยงของโครงการ
Macro-economic
Industry
business & financial
3. การวัดความเสี่ยงด้ านหลักประกัน
(เสริม)
ปั จจัยเสี่ยงที่เกี่ยวกับลักษณะผู้บริหาร
 ความล้ มเหลวของผู้บริ หารในการควบคุมดูแลเกี่ยวกับ
ระบบการตรวจสอบควบคุมภายในและการจัดทางบการเงิน
 การเปลี่ยนแปลงในราคาหุ้นของกิจการ
 การให้ ความเห็นของผู้บริ หารเกี่ยวกับการประมาณการคู่
แข่งขัน/Suppliers ซึง่ ค่อนข้ าง Aggressive หรื อ
เป็ นไปไม่ได้
 ประวัติด้านกฎหมายของผู้บริ หาร
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริ หารกับผู้ตรวจสอบบัญชีทงคน
ั้
ปั จจุบนั /คนเดิม....อาจนาไปสูก่ ารตกแต่งงบการเงิน
บุคคลที่ตามพฤติการณ์ไม่อาจชาระหนี ้ได้ หรื ออาจ
ชาระหนี ้ได้ โดยยาก
 บุคคลซึ่งศาลมีคาสั่งพิทก
ั ษ์ ทรั พย์
 บุคคลซึ่งถูกฟ้องบังคับชาระหนีแ้ ละไม่ มีทรั พย์ สินพอที่จะ
ยึดมาชาระหนีไ้ ด้
 บุคคลซึ่งมีฐานะการเงินไม่ ม่ ันคงหรื อความสามารถในการ
หารายได้ ต่าจนไม่ น่าเชื่อว่ าจะชาระหนีไ้ ด้
 บุคคลซึ่งไม่ ปรากฏว่ าประกอบธุรกิจแน่ ชัดหรื อมีเหตุอัน
สงสัยว่ าไม่ ได้ ประกอบธุรกิจจริงและไม่ ปรากฏว่ ามีรายได้
เพียงพอที่จะชาระหนีไ้ ด้
บุคคลที่ตามพฤติการณ์ไม่อาจชาระหนี ้ได้ หรื อ
อาจชาระหนี ้ได้ โดยยาก
 บุคคลที่ดาเนินธุรกิจขาดทุนเป็ นเวลาตัง้ แต่
3 ปี ขึน้ ไป
หรื อขาดทุนเกินกว่ าทุนซึ่งได้ ชาระแล้ ว
 บุคคลซึ่งค้ างชาระดอกเบีย้ เจ้ าหนีร้ ายใดรายหนึ่งเป็ น
เวลาเกินกว่ า 1 ปี ขึน้ ไป
 บุคคลที่ได้ ขอผ่ อนเวลาการชาระหนีไ้ ว้
แต่ ผิดนั ดไม่ ชาระ
หนีต้ ามกาหนดเวลาที่ตกลงกันโดยไม่ มีเหตุผลอันควร
ปั จจัยเสี่ยงเกี่ยวกับการดาเนินงานและ
ความมั่นคงทางการเงิน
 ความจาเป็ นในเรื่ องการต้ องเพิ่มทุน
 รายการที่เกี่ยวข้ องที่สาคัญ
และมีนยั สาคัญ ซึง่ บางรายการ
ผิดปกติหรื อเป็ นรายการที่กระทากับกิจการที่มีการสอบบัญชี
โดยผู้สอบบัญชีบริ ษัทเดียวกัน
 รายการผิดปกติที่มีนยั สาคัญในช่วงการจัดทางบการเงิน
 รายการที่โครงสร้ างของรายการมีขนาดใหญ่มากและ
ซับซ้ อน โดยไม่มีเป้าหมายทางธุรกิจที่ชดั เจน
 การตบแต่งงบการเงินที่กฎหมายรับรอง/อนุญาต
Financial Reporting Red Flags
 โครงสร้ างทางธุรกิจที่ซับซ้ อน
เข้ าใจยาก
 รายการใหญ่ เกิดขึน
้ กะทันหันในแต่ ละไตรมาส
 การเปลี่ยนแปลงในผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับระบบบัญชี หรื อข้ อ
ขัดแย้ ง
โดยเฉพาะเรื่ องที่เป็ นเหตุผลให้ มีการเปลี่ยน
ผู้สอบบัญชี
 ผลประกอบการ “ดีเกินกว่ าความเป็ นจริง” “ดีกว่ าตลาด” มาก
 ตลาดที่กระจายกว้ าง โดยไม่ มีศูนย์ กลางการบริ หารงาน
 ระบบรายงานภายในไม่ ดี
 การไม่ ปรากฏตัวของ CEO , CFO
Financial Reporting Red Flags
 การทาได้ ตามเป้าหมาย
แผนงานอย่ างใกล้ เคียงมาก
ผิดสังเกต
 ความเห็นแตกต่ างระหว่ างผู้บริ หารกับผู้สอบบัญชี
ภายนอก
 การส่ งงบการเงินในวันสุดท้ ายของไตรมาส
 ผู้ตรวจสอบภายในไม่ มีระบบการรายงานต่ อ ผู้บริ หาร
 การปฏิเสธไม่ ทาตามความเห็นของผู้ตรวจสอบภายใน
 รายการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติในงบการเงิน
 หลักการทางบัญชีท่ ต
ี ่ างไปจากกิจการอื่น ๆ ใน
ประเภทอุตสาหกรรมเดียวกัน
Financial Reporting Red Flags
•นโยบายในการบันทึกบัญชีรายได้ และรายจ่ าย
ที่ผิดไปจากปกติ
•วิธีการทางบัญชีท่ เี อือ้ ประโยชน์ ให้ ธุรกิจ
•การเปลี่ยนแปลงการประมาณการโดยไม่ มีเหตุอันควร
•เปลี่ยนวิธีการใหม่ ทางการบัญชีทมี ีผลกระทบต่ อธุรกิจ
ปั จจัยเสี่ยงเกี่ยวกับอุตสาหกรรม
 การวิเคราะห์ ระดับอุตสาหกรรม (ดูหนังสือ p 93)
◦ อะไรเป็ น KSF(Key success factors) ของอุตฯ =>
ลูกค้ ามีอะไรเป็ นข้ อได้ เปรี ยบ/จุดแข็ง
◦ อะไรคือปั จจัยลบหรื อความเสี่ยงต่ ออุตสาหกรรมนัน้ => ลูกค้ ามี
กลยุทธ์ ในการบริหารอย่ างไร
และทาให้ Margin ลดลง
 ตลาดที่หดตัว และคู่แข่ งขันที่เริ่ มลดลง
 การเปลี่ยนแปลงในตลาดอย่ างชัดเจน/รวดเร็ ว
 การแข่ งขันที่รุนแรง
ความเสี่ยงที่เกิดจากการทาธุรกิจ (business risk)

หากคุณทาธุรกิจ โรงแรม ใน จ.
เชียงใหม่ มีโอกาสที่จะเกิด
ความเสี่ยงอะไรบ้ าง



แล้ วผู้บริหาร หรื อเจ้ าของมี
วิธีการรั บมือกับความเสี่ยงนัน้ ๆ
อย่ างไรบ้ าง
ผู้บริหาร แต่ ละคนก็มีแผนการ
บริหารจัดการกับความเสี่ยงที่
แตกต่ างกัน =>
Character
สถานการณ์ เดียวกัน แต่ บริหาร
ต่ างกัน => ผลลัพธ์ กแ็ ตกต่ าง
กัน บางโรงแรมอาจล้ ม แต่ บาง
โรงแรมรอด why?
สาเหตุที่ทาให้ เกิดปั ญหาเงินกู้





สินเชื่อระยะสัน้
นาสินเชื่อระยะสัน้ ไปลงทุนใน
FA
ยอดขายเพิ่มขึน้ อย่ างรวดเร็ ว
ทาให้ กิจการต้ องผลิตเพิ่มขึน้
มาก อาจทาให้ ขาดแคลนเงินสด
ได้
การขยายตัวของลูกหนีก้ ารค้ า
ทาให้ เงินลงทุนในล/นไม่ พอ
และอาจเกิดหนีส้ ญ
ู เพิ่มได้
การดารงสินค้ าคงเหลือไว้ มาก
เกินไป
ธุรกิจไม่ เป็ นไปตามที่คาดหวังไว้





สินเชื่อระยะยาว
ความล่ าช้ าในการดาเนินงาน
เช่ นการก่ อสร้ างล่ าช้ า
ปั ญหาด้ านการตลาด สินค้ า
ไม่ ได้ รับความนิยม เช่ นไม่ มีผ้ ู
เช่ าพืน้ ที่ในห้ าง
ลงทุนในสินทรั พย์ ถาวรมาก
เกินไป
มีการแข่ งขันสูง ทาให้ เกิดการ
ตัดราคา กาไรเหลือน้ อย
ความสามารถในการชาระหนีล้ ด
นาเงินไปลงทุนทางอื่นเช่ น ซือ้
ที่ดนิ หวังเก็งกาไร
ข้ อกาหนดของสินเชื่อ (Covenants)


เพื่อลดความเสี่ยง ธนาคาร
สามารถออกข้ อกาหนดของ
สินเชื่อ ทัง้ ให้ ลูกหนีก้ ระทา และ
ห้ ามกระทา เพื่อสร้ างความ
มั่นใจว่ าธุรกิจจะรั กษาความ
เข้ มแข็งทางการเงินและสภาพ
คล่ องให้ เพียงพอ
หากลูกหนีท้ าไม่ ได้ ตามเงื่อนไข
ธนาคารจะตักเตือน ปรั บ และ
ท้ ายที่สุด สามารถยกเลิกการให้
สินเชื่อได้








Negative Covenants
การลงทุนใน FA<90 m
จ่ ายเงินปั นผล <60% NI
เงินเดือนพนักงานไม่ เกิน 15 ล/ปี
ห้ ามนาFA ไปจานองเพิ่ม
ห้ ามรวมกิจการ เว้ นแต่ ธนาคาร
อนุญาต
ห้ ามโอนเปลี่ยนมือ FA เกิน10%
ห้ ามก่ อหนีเ้ พิ่ม เว้ นแต่ ธนาคาร
อนุญาต
Affirmative Covenants







ผู้ขอกู้ต้องรั กษา ratio ดังนี ้
อัตราส่ วนทุนหมุนเวียน >1
ระยะเวลาในการเก็บหนี ้ < 50 วัน
Inventory T/O > 4.5 เท่ า
Debt/TA < 70 %
ส่ วนของเจ้ าของ > 30 ล
กระเงินสดจากการดาเนินงาน> เงินปั นผล+หนีร้ ะยะยาวที่ถงึ
กาหนดชาระ
Affirmative Covenants





ส่ งรายงานงบการเงินภายใน 60 วันทุกสิน้ ปี
ลูกหนีต้ ้ องทาประกันชีวติ ประธานบริษัท 15 ล กาหนดให้ ธนาคาร
เป็ นผู้รับผลประโยชน์
ธนาคารมีสทิ ธิ์เข้ าไปตรวจสอบสินค้ า ลูกหนีแ้ ละที่ดนิ
ลูกค้ าจะต้ องชาระภาษีและค่ าธรรมเนียมทัง้ หมด
ลูกหนีต้ ้ องแจ้ งให้ ธนาคารทราบ หากมีการฟ้องร้ องทางธุรกิจ
การจัดชันสิ
้ นเชื่อ และสารองหนี ้สงสัยจะสูญ
ั้ แบ่งเป็น
การจ ัดชน
ระดับการจัดชัน้
ระยะเวลาผิดนัดชาระ
หนีเ้ กินกว่ า
สารองหนีส้ ูญ
0-1
1%
จัดชัน้ กล่ าวถึงเป็ นพิเศษ
1-3 ด
2%
จัดชัน้ ต่ากว่ ามาตรฐาน
3-6 ด
100%
จัดชัน้ สงสัย
6-12 ด
100%
จัดชัน้ สงสัยจะสูญ
> 12 ด
100%
เข้ าเกณฑ์ ธปท.
ตัดออกจากบัญชี
จัดชัน้ ปกติ
จัดชัน้ หนีส้ ูญ
ลูกหนีท้ ่ คี ้ างชาระเงินต้ นหรื อดอกเบีย้ เกินกว่ ากาหนด นับแต่ ถงึ วันครบกาหนดชาระ
การทบทวนความเสี่ยงของสินเชื่อ (Loan Review)
การใช้ ไปของสินเชื่อตรงตาม
วัตถุประสงค์ หรื อไม่
 ขนาดของสินเชื่อ ทบทวนดูว่า
ยังเหมาะสมหรื อไม่
 สภาพทางการเงินและ
ความสามารถในการชาระหนี ้

◦
◦
◦
◦
สภาพคล่ อง
ความสามารถในการชาระหนี ้
ความสามารถในการทากาไร
ความสามารถในการบริหาร
สินทรัพย์





ความสมบูรณ์ ของเอกสาร
ดูแลหลักประกันไม่ ให้ เสื่อม
ค่ า
ดูผลการดาเนินงานของธุรกิจ
การเปลี่ยนผู้บริหาร
ควรทาการทบทวนทุกปี เว้ น
แต่ มีเหตุเช่ น จ่ ายช้ า ก็ต้อง
ตรวจสอบทันที
สัญญาณเตือนให้ เห็นถึงปั ญหาของสินเชื่อ










สัญญาณเตือนทางการเงิน
การลดลงของยอดขาย
การเพิ่มขึน้ ของ debt/TA
การลดลงของ Inv T/O
การลดลงของ TIE
การลดลงของ current, quick ratio
การเพิ่มขึน้ ของ DSO
การไม่ จ่ายเงินปั นผล
ขาดทุนต่ อเนื่อง
การเพิ่มขึน้ ของต้ นทุนและค่ าใช้ จ่าย
จ่ ายเงินเดือนพนักงานช้ า
สัญญาณเตือนให้ เห็นถึงปั ญหาของสินเชื่อ









สัญญาณเตือนจากการดาเนินงาน
ความล่ าช้ าของการผลิต
เครื่ องจักรเสียบ่ อยๆ
มีการประท้ วงของแรงงานบ่ อย
Supplier ระงับการส่ งของ
การปลดคนงาน
การขายโรงงานบางส่ วนออกไป
ขาดการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน
การลดชั่วโมงทางาน ลด OT
การเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชี
สัญญาณเตือนให้ เห็นถึงปั ญหาของสินเชื่อ
ความสัมพันธ์ กับธนาคาร
 การชาระหนีเ้ ริ่ มล่ าช้ า
 การลดลงของเงินฝาก
 การส่ งงบการเงินล่ าช้ า
 การไม่ ต้อนรั บเวลาเจ้ าหน้ าที่ธนาคารไปเยี่ยม
สัญญาณเตือนให้ เห็นถึงปั ญหาของสินเชื่อ
สัญญาณเตือนจากการบริหาร
 การเปลี่ยนผู้บริ หาร
 ผู้บริ หารตาย หรื อป่ วย
 การบริ หารงานเริ่ มรวมศูนย์ ไม่ กระจายความ
รับผิดชอบให้ แก่ ผ้ ูบริหารระดับรองๆลงไป
 การเมืองภายในรุ นแรง
 ขาดการตัง้ เป้าหมายและกลยุทธ์ ท่ ท
ี นั ต่ อยุคสมัย
Debt-Service Coverage Ratio - DSCR
In corporate finance, it is the amount of cash
flow available to meet annual interest and
principal payments on debt, including sinking
fund payments.
 In personal finance, it is a ratio used by bank
loan officers in determining income property
loans. This ratio should ideally be over 1.
That would mean the property is generating
enough income to pay its debt obligations.

In general, it is calculated by:
EBITDA
DSCR
•A DSCR of less than 1 would mean a negative cash flow.
A DSCR of 0.95 means that there is only enough net
operating income to cover 95% of annual debt payments.
Free cash flow : FCF

เน้ น ว่ากิจการสามารถสร้ างกระแสเงินสดจากการดาเนินงาน(CF
from operation) ได้ มากแค่ไหน เพื่อดูวา่ กิจการจะมี
ความสามารถในการจ่าย ภาระหนี ้สินได้ มาน้ อยเพียงใด

EBITDA = เงินสดที่กิจการหามาจากการดาเนินงาน ส่วน
Debt Service = เงินต้ นและดอกเบี ้ยที่กิจการต้ องจ่ายให้
เจ้ าหนี ้

After tax operating profit +D&A -the
amount of new investment in working capital
and fixed assets necessary to sustain the
business.
Free cash flow : FCF

NOPAT : net operating profit after taxes
NOPAT = EBIT (1-Tax rate)
NOPAT = EBIT -Tax
FCF = NOPAT + Dep&Amor –(investment in FA + WC)
What’s about dividend?