กลุ่มไม่ออกกำลังกาย - คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Download Report

Transcript กลุ่มไม่ออกกำลังกาย - คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

PT 04
ความสามารถในการทรงตัวของผูส้ งู อายุที่ออกกาลังกายและไม่ออกกาลังกาย
(Balance performance in exercise and non-exercise elderly)
เยาวราภรณ์
1
2
2
ิ
ิ
ิ
ยืนยงค์ , สุกลั ยา อมตฉายา , วัณทนา ศรธราธวตั ร
1 งานกายภาพบาบัด
โรงพยาบาลอานาจเจริ ญ อ.เมือง จ.อานาจเจริ ญ
2 สายวิชากายภาพบาบัด คณะเทคนิ คการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น
บทคัดย่อ
ผูส้ งู อายุมกั มีการเปลีย่ นแปลงของระบบต่างๆ ทีม่ ผี ลต่อความสามารถในการทรงตัว มีรายงานว่าการออกกาลังกายมีผลดีในการช่วยชะลอความเสื่ อมของระบบต่างๆ การศึกษานี้จงึ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ
ความสามารถในการควบคุมการทรงตัวในผูส้ งู อายุสขุ ภาพดี อายุระหว่าง 60-80 ปีทอ่ี อกกาลังกายและไม่ออกกาลังกายเป็ นประจากลุ่มละ 60 คน โดยใช้ Berg Balance Scale (BBS) และ Timed Up and Go Test (TUGT) ผล
การศึกษาพบว่าผูส้ งู อายุกลุ่มออกกาลังกายมีอายุเฉลีย่ 65  3.90 ปี และกลุม่ ไม่ออกกาลังกายมีอายุเฉลีย่ 65.95  3.79 ปี โดยอาสาสมัครในกลุ่มออกกาลังกายเป็ นประจามีความสามารถในการควบคุมการทรงตัวดีกว่ากลุ่มที่
ไม่ออกกาลังกายเป็ นประจาอย่างมีนยั สาคัญ (p<0.001) โดยความสามารถในการทรงตัวทีป่ ระเมินโดย BBS ของกลุ่มออกกาลังกายมีค่า 55.20  0.83 คะแนน และกลุ่มไม่ออกกาลังกายมีค่า 52.90  2.27 คะแนน เวลาของ
การทดสอบ TUGT ของกลุม่ ออกกาลังกายมีคา่ 8.22  1.35 วินาที และกลุม่ ไม่ออกกาลังกายมีคา่ 12.65  2.76 วินาที ผลการวิจยั ชีใ้ ห้เห็นว่าอาสาสมัครทัง้ 2 กลุ่มมีความสามารถในการทรงตัวอยู่ในเกณฑ์ดซี ง่ึ อาจเป็ นเพราะ
อาสาสมัครส่วนใหญ่มอี ายุไม่มากนัก โดยความแตกต่างของความสามารถในการทรงตัวของทัง้ 2 กลุ่มอาจชีใ้ ห้เห็นความสาคัญของการออกกาลังกายในผูส้ งู อายุ
บทนา
ผลการศึกษา
ผูส้ ูงอายุมกั มีการเปลีย่ นแปลงของระบบต่างๆ ทีม่ ผี ลต่อความสามารถ
ในการทรงตัว ทาให้มคี วามเสีย่ งต่อการล้ม ซึง่ ทาให้เกิดผลตามมาตัง้ แต่การ
บาดเจ็บเพียงเล็กน้อยจนถึงกระดูกหักและเสียชีวติ
มีรายงานว่าการออกกาลังกายมีผลดีในการช่วยชะลอความเสื่อมของ
ระบบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการทรงตัว การศึกษานี้จงึ มีวตั ถุประสงค์เพือ่
“เปรียบเทียบความสามารถในการควบคุมการทรงตัว
ในผูส้ งู อายุที่ออกกาลังกายและไม่ออกกาลังกาย”
วิธีการศึกษาวิจยั
BBS (คะแนน) 55.20  0.83
TUGT (วินาที) 8.22  1.35
ไม่ออกกาลังกาย
(mean  SD)
65.95  3.79
P-value*
.586
52.90  2.27
<.001
12.65  2.76
<.001
*P-value จาก independent t- test
วิจารณ์และสรุปผลการวิจยั
อาสาสมัคร: ผูส้ งู อายุสุขภาพดี 120 คน
กลุ่มออกกาลังกาย: 60 คน
- ออกกาลังกาย 3 – 5 ครัง้ /สัปดาห์
- วันละ > 30 นาที ติดต่อกัน > 1 ปี
- มีระดับความเหนื่อย (Borg score) > 11
อายุ (ปี )
ออกกาลังกาย
(mean  SD)
65  3.90
กลุ่มไม่ออกกาลังกาย: 60 คน
- ออกกาลังกาย 0 – 1 ครัง้ /สัปดาห์
- แต่ละวันทากิจกรรมน้อยกว่า 30 นาที
- มีระดับความเหนื่อย (Borg score) < 11
ประเมินการทรงตัว
1. Berg Balance Scale (BBS)
2. Timed Up and Go Test (TUGT)
ตัวอย่างการประเมิน BBS
การประเมิน TUGT
 ผูส้ งู อายุทงั ้ สองกลุ่มมีความสามารถในการทรงตัวอยู่ ในเกณฑ์ดี
(BBS > 45, TUGT < 16)
มีรายงานว่า BBS มีความสัมพันธ์กบั ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ขา ความทนทาน และการทรงตัว
TUGT มีค วามสัม พัน ธ์ ก ับ ปฏิกิริย าการตอบสนอง (reaction
time) กาลังขา ความสามารถในการทรงตัว และการเดิน
ความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญของความสามารถในการทรงตั ว
ระหว่างกลุ่ม (p < .001) อาจแสดงให้เห็นความสาคัญของการ
ออกกาลังกายในผูส้ งู อายุในด้านต่างๆ ได้แก่
 ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา
 ความทนทาน
 ความสามารถในการทรงตัวและการเดิน
 ปฏิกริ ยิ าการตอบสนอง
ประโยชน์ ทางคลินิก
ผลการศึก ษาแสดงให้เ ห็น ประโยชน์ ข องการออกก าลัง กายต่ อ
ความสามารถในการทรงตัวของผูส้ งู อายุ ดังนัน้ การสนับสนุ นให้ผสู้ งู อายุ
มีการออกกาลังกายอย่างน้อย 3 ครัง้ /สัปดาห์ วันละ 30 นาที ในระดับที่
รูส้ กึ เริม่ เหนื่อยเป็ นประจาเป็ นสิง่ สาคัญต่อความสามารถในการทรงตัว
ของผูส้ งู อายุ ซึง่ อาจช่วยลดอุบตั กิ ารณ์การล้มในผูส้ งู อายุได้
เอกสารอ้างอิง
1. Langly F, Mackintosh S. Functional balance assessment of older community dwelling adults: a systematic review of the literature. JAHSP. 2007;5(4):1-11.
2. Hawk C, Hyland J, Rupert R, Colonvega M, Hall S. Assessment of balance and risk for falls in a sample of community-dwelling adults aged 65 and older.
Chiropractic & Osteopathy. 2006;14(3).
3. Ballard J, McFarland C, Wallace L, Holiday D, Roberson G. The effects of 15 weeks of exercise on balance, leg strength, and reduction in falls in 40 women
aged 65 to 89 years. JAMWA. 2004;59:255-61.
คณะผูว้ ิ จยั ขอขอบคุณ สสส. ที่กรุณาให้ทุนสนับสนุนการศึกษานี้