นวัตกรรม เรื่อง - โรง พยาบาล ห้วย พลู

Download Report

Transcript นวัตกรรม เรื่อง - โรง พยาบาล ห้วย พลู

นวัตกรรม และ CQI
เรื่อง
เครื่องมือประเมินอาการปวดสาหรับผู้ป่วย
ในแผนกกายภาพบาบัด
งานกายภาพบาบัด 2011
ทีม่ าและความสาคัญ
เนื่องจากผู้มาใช้ บริการทางกายภาพบาบัดส่ วนใหญ่ มี
ปัญหาเรื่องระบบกระดูกและกล้ ามเนือ้ คิดเป็ นร้ อยละ 85
ของผู้มาใช้ บริการทั้งหมด การให้ บริการทาง
กายภาพบาบัดมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้ ผ้ ูป่วยมีอาการ
เจ็บปวดทุเลาลง ทีผ่ ่ านมาการประเมินอาการเจ็บปวดมา
จากการสอบถามอาการลักษณะของการบอกเล่ า ไม่ มตี ัว
วัดทีเ่ ป็ นรู ปธรรม
ทีม่ าและความสาคัญ (ต่ อ)
ทางหน่ วยงานจึงคิดประดิษฐ์ เครื่องมือประเมินความ
เจ็บปวดของผู้ป่วยขึน้ เพือ่ ง่ ายต่ อการสื่ อสารทาความ
เข้ าใจระหว่ างนักกายภาพบาบัดและผู้ป่วยและเพือ่
ประโยชน์ ต่อผู้ร่วมวิชาชีพ
ไม่ ปวด
ปวดเล็กน้ อย
ปวดปานกลาง
ปวดมาก
ปวดรุนแรง ปวดรุนแรงมากที่สุด
วิเคราะห์ ปัญหา
• 1.ที่ผ่านมาเป็ นการสอบถามแบบนามธรรม
ไม่ มีการบันทึกเป็ นตัวเลข
• 2.ไม่ สามารถประเมินได้ ว่าอาการดีขนึ ้ มาก
น้ อยเท่ าไร
• 3.ไม่ สามารถวัดผลได้ ว่าการรักษามี
ประสิทธิภาพมากน้ อยเท่ าไร
วัตถุประสงค์
1.สามารถบอกถึงประสิ ทธิภาพของการรักษาทาง
กายภาพบาบัดออกมาในเชิงรูปธรรมได้ และ
ประเมินผลได้
2.ง่ ายต่ อการสื่ อสารระหว่ างนักกายภาพและผู้ป่วย
3.สามารถนาไปพัฒนาต่ อโดยการนาไปใช้ ใน
หน่ วยงานอืน่ ได้
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
• 1.ออกแบบเครื่ องมือในการประเมินอาการเจ็บปวด
ของผู้ป่วย
ด้านหน้า
ไม่ ปวด
ปวดเล็กน้ อย ปวดปานกลาง ปวดมาก ปวดรุนแรง ปวดรุนแรงมากทีส่ ุ ด
คาแนะนาในการใช้ Pain scale
ด้านหน้า
ระดับ 0
ระดับ 1 - 3
ระดับ 4 - 5
ระดับ 6 - 7
ระดับ 8 - 9
ระดับ 10
หมายถึง
หมายถึง
หมายถึง
หมายถึง
หมายถึง
หมายถึง
ไม่มีอาการปวดเลย
มีอาการปวดเล็กน้อย ไม่มีความกังวล ไม่มีความรู ้สึกทุกข์ทรมานแต่อย่างใด
มีอาการปวดปานกลาง ความรู ้สึกทุกข์ทรมานจากอาการปวดพอสมควร แต่ยงั สามารถทนได้
มีอาการปวดมาก มีความกังวลมากขึ้น พักผ่อนได้ไม่เพียงพอ เริ่ มมีความรู ้สึกว่าไม่สามารถทนได้
มีอาการปวดรุ นแรง รู ้สึกทุกข์ทรมานจากอาการปวดมาก ไม่สามารถนอนหลับพักผ่อนได้
มีอาการปวดรุ นแรงมากที่สุดจนไม่สามารถทนได้
โรงพยาบาลห้ วยพลู
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
2.นาไปใช้ กบั ผู้ป่วยจริงเริ่มใช้ มาตั้งแต่ เดือน มิ.ย.53ก.ย.53 ในผู้ป่วยรายใหม่ ท้งั หมด โดยเริ่มใช้ ในงาน
กายภาพบาบัดเป็ นหน่ วยงานแรก
3.วิธีการประเมิน
ประเมินอาการเจ็บปวดครั้งแรกของ
การรักษาและครั้งที่10ของการรักษา
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
• 4.เก็บรวบรวมข้ อมูล
ผลลัพธ์ ของการดาเนินงาน
จากการดาเนินงานมาได้ ประมาณ 4เดือนทางหน่ วยงานสามารถ
เก็บรวมรวมข้ อมูลการประเมินผลของการดีขนึ้ จากการรักษาได้
อย่ างมีประสิ ทธิภาพมากขึน้ สามารถบอกได้ ว่า ผู้ป่วยอาการดี
ขึน้ ร้ อยละเท่ าไรของผู้มาใช้ บริการ
ผลลัพธ์ ของการดาเนินงาน
จากการเก็บข้ อมูล เก็บจากผู้ป่วยรายใหม่ ท่มี ีปัญหา
เกี่ยวกับระบบกระดูกและกล้ ามเนือ้ ทัง้ หมด 44 ราย
มารั กษาครบตามนัด 39 รายคิดเป็ น 88.3% อาการ
ปวดทุเลาลงทุกรายที่มาตามนัด คิดเป็ น 100%
ผลลัพธ์ ของการดาเนินงาน
และเครื่องมือประเมินอาการเจ็บปวดทีป่ ระดิษฐ์ ขนึ้ ยังสามารถ
ใช้ งานง่ ายและง่ ายต่ อการทาความเข้ าใจของผู้ป่วยในวัยต่ างๆ
แนวทางที่จะพัฒนาในโอกาสต่ อไป
• สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ ในกลุ่มผู้ป่วยระบบ
กระดูกและกล้ ามเนือ้ ที่เรือ้ รัง
• หากสามารถใช้ ได้ ดใี นกลุ่มผู้ป่วยในงาน
กายภาพบาบัดแล้ วสามารถนาไปประยุกต์ ใช้ ได้
ในหน่ วยงานอื่นต่ อไป
การดาเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
• ได้ นาเครื่องมือประเมินอาการปวดไปใช้ ในงาน การแพทย์
แผนไทย,ห้ องผ่ าตัด,ห้ องคลอด,ห้ องฉุกเฉินและงานผู้ป่วย
ใน เริ่มดาเนินการตัง้ แต่ เดือน มกราคม 2554
โดยมีรูปแบบที่เป็ นแนวทางปฏิบตั ริ ่ วมกัน คือ
แบบประเมินอาการปวด
Numeric Rating Scale
|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
0
1
2
3
ไมมี
ปวดน้อย
่
อาการ
ไมมี
่ ความทุกข ์
ปวด
ทรมาน
ไมรู่ สึ้ กกังวลใดๆ
ตออาการปวด
่
ในขณะนี้
4
5
6
ปวดปานกลาง
รูสึ้ กทุกขทรมานจาก
์
อาการปวด
พอสมควร
มี
ความกังวลไม่
มากนัก
ยังมี
ความรูสึ้ กวา่
สามารถทนได้
7
8
9
10
ปวดมาก
ปวด
รูสึ้ กทุกขทรมานจาก
รุนแร
์
อาการปวดมาก
งจน
ทาให้เกิดความ
ทน
กังวลมาก
ไม่
และไมสามารถ
ไหว
่
นอนหลับพักผอน
่
ได้
แนวทางการให้ ยา
0
-
1
2
3
1. Paracetamol
(tab)
2 ประคบรอนหรื
อ
้
เย็น
4
5
6
1. Paracetamol
(tab )ถาอาการ
้
ไมทุ
่ เลาภายใน
30 นาทีรายงาน
แพทย ์
2. NSAID
- Brufen (tab)
7
8
9
10
1. NSAID
รายงาน
- Brufen (tab)
แพท
- Voltaren (tab
ย์
/ inj.)ถาอาการ
้
ไมทุ
่ เลาในครึง่
ชม.รายงาน
แพทย
กลุ่มโรคทีใ่ ช้ ได้ แก่ โรคระบบกล้ ามเนือ้ อาการปวดแผลจากการทาหัตถการ การผ่ าตัดหรือ Trauma์ อาการปวดในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุ ดท้ าย
แบบประเมินอาการปวด
Numeric Rating Scale
|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|----------|
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
0
ไมมี
่
ปวด
อากา
ร
1
2
3
ปวดน้อย
ไมมี
่ ความทุกขทรมาน
์
ไมรู่ สึ้ กกังวลใดๆ ตอ
่
อาการ
ปวดในขณะนี้
4
5
6
ปวดปานกลาง
รูสึ้ กทุกขทรมานจากอาการ
์
ปวด
พอสมควร
มีความกังวล
ไมมาก
่
นัก
ยังมีความรูสึ้ กวา่
สามารถทนได้
7
8
9
ปวดมาก
รูสึ้ กทุกขทรมานจากอาการ
์
ปวดมากทาให้
เกิดความกังวลมากและไม่
สามารถนอนหลับ
พักผอนได
่
้
10
ปวดรุนแรง
จนทนไม่
ไหว
แนวทางการให้ การรักษากลุ่มงานเวชกรรมฟื้ นฟูและการแพทย์ แผนไทย
0
-
1
2
3
1.ให้การรักษาดวย
้
เครือ
่ งมือทาง
กายภาพบาบัด
2.Manual therapy
3.สอนสุขศึ กษาการ
ดูแลตัวเอง
* นัด1 ครัง้ /สั ปดาห ์
4
5
6
7
8
9
10
1.ให้การรักษาดวย
1.ให้การรักษาดวยเครื
อ
่ งมือ
ส่งปรึกษา
้
้
เครือ
่ งมือทาง
ทาง
แพทย ์
กายภาพบาบัด
กายภาพบาบัด
2.Manual therapy
2.Manual therapy
3.สอนสุขศึ กษาการดูแล
3.สอนสุขศึ กษาการดูแล
ตัวเอง
ตัวเอง
* นัด 2 ครัง้ / สั ปดาห ์
*นัด 3 ครัง้ / สั ปดาห ์
** หากอาการปวดไมทุ
**หากอาการปวดไมทุ
่ เลา
่ เลาส่ง
ส่งปรึกษาแพทย ์
ปรึกษาแพทย ์
1. ให้การรักษาดาน
1. ให้การรักษาดาน
1. ให้การรักษาดาน
ส่งปรึกษา
้
้
้
การแพทยแผน
การแพทยแผนไทย
การแพทยแผนไทย
แพทย ์
์
์
์
ไทย
2.สอนสุขศึ กษาการดูแล
2.ให้การรักษาดวยยา
้
2.สอนสุ
ข
ศึ
ก
ษาการ
ตั
ว
เอง
สมุ
น
ไพร
*กลุ่มโรคทีใ่ ช้ ได้ แก่ โรคระบบกล้ ามเนือ้ อาการปวดแผลจากการทาหัตถการ การผ่ าตัดหรือ Trauma อาการปวดในผู้ป่วยมะเร็งระยะสุ ดท้ าย
การดาเนินการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
ในกลุ่มงานเวชกรรมฟื้ นฟูและการแพทย์ แผนไทย รวมทั้งงาน
ผ่ าตัด ได้ เก็บข้ อมูลอย่ างต่ อเนื่องเกีย่ วกับการรักษาผู้ป่วยโดยใช้
เครื่องมือประเมินอาการปวดเป็ นตัวประเมินประสิ ทธิภาพการ
รักษา และใช้ คะแนนอาการปวดเป็ นเกณฑ์ ในการนัดผู้ป่วย และ
การให้ ยา
จากนั้นจะประเมินว่ าในผู้ป่วยทีม่ ารักษามาตามนัดคิดเป็ น
ร้ อยละเท่ าไร และในกลุ่มผู้ป่วยทีม่ าตามนัดมีอาการปวดทุเลาลง
คิดเป็ นร้ อยละเท่ าไร
การดาเนินการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
งานกายภาพบาบัด
ผู้ป่วยมารักษาตามแผนและใช้ แบบประเมินอาการปวด 93.33%
ผู้ป่วยไม่ มาตามแผนการรักษา
6.66%
ในผู้ป่วยทีม่ าตามแผนการรักษา 93.33% มีอาการภายหลังการรักษาดังนี้
อาการคงที่
10.71 %
มีอาการปวดทุเลาลง
85.71%
อาการปวดมากขึน้
3.57 %
การดาเนินการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
งานการแพทย์ แผนไทย
ผู้ป่วยมารักษาตามแผนและใช้ แบบประเมินอาการปวด 70%
ผู้ป่วยไม่ มาตามแผนการรักษา
30%
ในผู้ป่วยทีม่ าตามแผนการรักษา 70% มีอาการภายหลัง
การรักษาดังนี้
อาการคงที่
14.28 %
มีอาการปวดทุเลาลง 71.42 %
อาการปวดมากขึน้
14.30 %
การดาเนินการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
งานผ่ าตัด
มีการประเมินอาการปวดโดยใช้ เครื่องมือประเมินอาการปวดทุกราย
คิดเป็ น 100%
แต่ สามารถให้ การรักษาตามแผนที่กาหนดเพียง 11.11% ในรายที่มี
อาการปวด pain scale มากกว่ า 6
ในรายทีไ่ ม่ สามารถรักษาตามแผนที่กาหนดได้ มี 88.89% ส่ วนใหญ่
จะมีระดับอาการปวดในช่ วง pain scale 4-6 (ผู้ป่วยกลุ่มนีไ้ ม่
สามารถรักษาตามแผนได้ เนื่องจากเป็ นผู้ป่วย NPO ไม่ สามารถให้ ยา
หรือฉีดยาแก้ปวดได้ เนื่องจากมีผลต่ อกระเพาะอาหาร)
* จึงทาให้ ผู้ปฏิบัติงานต้ องนาปัญหาทีเ่ กิดขึน้ นีไ้ ปตกลงในงาน
PCT ต่ อไปเพือ่ นาไปพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
การดาเนินการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
ส่ วนในงานผู้ป่วยใน และตึกสงฆ์ กาลัง
ดาเนินการเก็บข้ อมูลอยู่