ประมวลกฎหมายอาญาทหาร

Download Report

Transcript ประมวลกฎหมายอาญาทหาร

ประมวลกฎหมายอาญาทหาร
โดย
พ.ท.นิตน
ิ ออรุง่ โรจน์
1
ล ักษณะสาค ัญของ ปอ.ทหาร
เป็ นกฎหมายบั ญ ญั ต ค
ิ วามผิด เฉพาะของ
ฝ่ ายทหาร
เป็ นกฎหมายทีบ
่ งั คับต่อพลเรือน
เป็ นกฎหมายบัญญัตค
ิ วามผิดคาบเกีย
่ วกัน
ระหว่างฝ่ ายทหารกับฝ่ ายพลเรือน
เป็ นกฎหมายทีเ่ พิม
่ โทษแก่ทหารทีก
่ ระทา
ความผิ ด อาญา ขณะก าลั ง ปฏิ บั ต ิ ห น า้ ที่
ราชการ
2
เหตุผลทีท
่ หารต้องตกอยูภ
่ ายใต้ ปอ.ทหาร
เพือ
่ ประโยชน์ใน
การบ ังค ับบ ัญชา
เพือ
่ ควบคุมทหาร
ใ ห้ อ ยู่ ใ น วิ น ั ย
ท ห า ร อ ย่ า ง
เคร่งคร ัด
3
ทหารกองเกิน
ปลด: ทหาร
กองหนุน
ประเภทที่ 1
นายทหาร
ั ญาบัตร
สญ
ประจาการ
แสดงตนเพือ
่ รับ
หมายเรียก
รับราชการ 2 ปี
ทหารประจาการ
ทหารกอง
ประจาการ
นักเรียนทหาร
จบ มัธยม , ป.ตรี เอก
นายทหาร
ประทวน
ประจาการ
ข ้าราชการกลาโหม
พลเรือน
ปลด:นายทหารกองหนุน
ั ญาบัตร/ประทวน
นายทหารสญ
นอกประจาการ
ตรวจเลือก
พลทหารประจาการ
ลูกจ ้าง
4
รด.
รด.
สมัคร
คาสงั่ ของ รมว.กห.
ทหารกองหนุนประเภทที่ 1
5
ทหาร : บุคคลทีอ
่ ยูใ่ นอานาจกฎหมายฝ่ายทหาร
(มาตรา 4 )(1)
เป็นทหารโดยสภาพ
- ทหารกองประจาการ
- ทหารประจาการ
6
ทหาร : บุคคลทีอ
่ ยูใ่ นอานาจกฎหมายฝ่ายทหาร
โดยสภาพแล้วไม่เป็นทหาร
-ทหารกองหนุ น หรือ ทหารกองเกิน ที่ถูก เรีย กพล
เพื่อ ตรวจสอบ เพื่อ ฝึ กวิช าทหาร หรือ เพื่อ ทดลอง
ความพรั่งพร ้อมและในการระดมพล
้ สัญ ญาบั ต รนอกประจ าการ เฉพาะ
-นายทหารชัน
เมือ
่ กระทาผิดต่อคาสงั่ หรือข ้อบังคับตาม ปอ.ทหาร
- นั ก เ รี ย น ท ห า ร ซ ึ่ ง เ มื่ อ ส า เ ร็ จ แ ล ว้ จ ะ ไ ด เ้ ป็ น
ั ้ สญ
ั ญาบัตรหรือนายทหารประทวน
นายทหารชน
7
ทหาร : บุคคลทีอ
่ ยูใ่ นอานาจกฎหมายฝ่ายทหาร
โดยสภาพแล้วไม่เป็นทหาร
-ผู ้เข ้ารับการฝึ กวิชาทหารตามคาสงั่ ของ รมว.กห.
-พลเรือ นที่สั ง กั ด ในราชการทหาร เมื่อ ท าผิด ในหน า้ ที่
ราชการทหาร หรือ ท าผิด อื่น ในบริเ วณ อาคาร ที่ตั ง้ หน่ ว ย
ทหาร ทีพ
่ ั กแรม เรือ อากาศยาน หรือยานพาหนะใด ๆ ใน
ควบคุม ของเจ ้าหน า้ ที่ฝ่ ายทหาร(ทหารพราน,ข ้าราชการ
กลาโหมพลเรือน?)
-ผู ้ซ งึ่ ต ้องขั ง หรือ อยู่ใ นความควบคุม ของเจ ้าหน า้ ที่ฝ่ าย
ทหาร
-เชลยศ ึก หรื อ ชนชาติศั ต รู ซ งึ่ อยู่ ใ นความควบคุ ม ของ
เจ ้าหน ้าทีฝ
่ ่ ายทหาร
8
เจ้าพน ักงาน
เ จ้ า พ น ัก ง า น ต า ม น า ย ท ห า ร บ ก
ปอ.
น า ย ท ห า ร เ รื อ ช ั้น
สั ญ ญ า บั ต ร /
คื อ ผู ไ้ ด ร้ ั บ แต่ ง ตั ้ง ตาม
กฎหมายจากทางการไทย
ป ร ะ ท ว น ที่ อ ยู่ ใ น
ให ้ปฏิบั ต ห
ิ น า้ ที่ร าชการ(ฎ
กองประจาการ
1787/ 24) ไ ม่ ว่ า จ ะไ ด ร้ ั บ
ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ต อ บ แ ท น
ห รื อ ไ ม่ ก็ ต า ม ( ฎ 13978/24)
9
การเปลีย
่ นจากการดาเนินคดีเป็นลงท ัณฑ์
 มาตรา 7 ผู ้มีอานาจบังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด ้วยวินัยทหาร มีอานาจลง
ทัณฑ์แก่ทหารผู ้กระทาความผิดต่อวินัยทหารตามกฎหมายว่าด ้วยวินัยทหาร
ไม่วา่ เป็ นการกระทาความผิดในหรือนอกราชอาณาจักร
 มาตรา 8 การกระทาความผิดอย่างใด ๆ ทีบ
่ ัญญัตไิ ว ้ในมาตรา 21 มาตรา 23
มาตรา 24 มาตรา 27 มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 31 มาตรา 32
มาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 37 มาตรา 39 มาตรา 41
มาตรา 42 มาตรา 43 มาตรา 44 มาตรา 46 และมาตรา 47 แห่งประมวล
กฎหมายนี้ ถ ้าผู ้มีอานาจบังคับบัญชาตามกฎหมายว่าด ้วยวินัยทหาร พิจารณา
เห็นว่าเป็ นการเล็กน ้อยไม่สาคัญให ้ถือว่าเป็ นความผิดต่อวินัยทหาร และให ้มี
อานาจลงทัณฑ์ตามมาตรา 7 เว ้นแต่ผู ้มีอานาจแต่งตัง้ ตุลาการตามกฎหมาย
ว่าด ้วยธรรมนูญศาลทหารจะสงั่ ให ้สง่ ตัวผู ้กระทาความผิดไปดาเนินคดีในศาล
ทหาร หรือจะมีการด าเนินคดีใ นศาลพลเรือนตามกฎหมายว่าด ้วยธรรมนู ญ
ศาลทหาร จึงให ้เป็ นไปตามนัน
้
้
 มาตรา 9 ความทีบ
่ ัญญัตไิ ว ้ในมาตรา 8 ให ้ใชตลอดถึ
งความผิดลหุโทษ และ
ความผิด ที่เ ปรีย บเทีย บได ้ตามกฎหมายมาตรา 10 บรรดาบทในพระราช
กาหนด
10
โครงสร้างความร ับผิดทางอาญาของทหาร
- มีการกระทา
คิด ตกลงใจ ตระเตรียม ลงมือ
- การกระท าครบองค์ป ระกอบ
ความผิดตาม ปอ.ทหาร หรือไม่
ไม่ครบ
ไม่ผิด
ครบ
มีกฎหมายยกเว้ น
ความผิดหรื อโทษ
หรื อไม่
พยายาม
เป็นทหารหรือไม่
เป็ นทหาร
รับผิดเฉพาะใน
สว่ นทีท
่ หาร
กระทาผิด
ไม่เป็ นทหาร
รับผิดในสว่ นที่
บุคคลทั่วไป
ต ้องรับผิด
ป้ องกัน จาเป็ น
11
เปลี่ยนจากอาญาทหารมาเป็ นลงทัณฑ์ ทางวินัยทหารได้ หรือไม่
เป็ นผู ้รับทัณฑ์
ผิดเฉพาะตาม
ม.8,9
ผบ.พิจารณาว่า
เล็กน ้อย
ไม่เป็ นผู ้รับทัณฑ์
คดีขน
ึ้ ศาลพลเรือน
นอกจากผิดตาม ม.8,9
แล ้ว ยังผิด ม.อืน
่ ด ้วย
ผบ.พิจารณาว่า
ไม่เล็กน ้อย
ดาเนินคดีในศาล
ทหารหรือศาลพล
เรือนแล้วแต่กรณี
เล็กน ้อย
อัยการ
ทหาร
ผู ้มีอานาจแต่งตัง้
ตุลาการ
ลงท ัณฑ์
ไม่เล็กน ้อย
12
หล ักทว่ ั ไปทีเ่ กีย
่ วก ับกฎหมายอาญาทหาร
 ต ัวการ
บุคคลตัง้ แต่ 2 คนขึน
้ ไป
ทีไ่ ด ้ร่วมกระทาความผิด
ด ้วยกัน
 ผูใ้ ช ้
- ผู ก้ ่ อ ให ้ผู อ้ ื่น กระท าผิด
ไม่ว่าด ้วยการใช ้ บังคับ ขู่
เข็ ญ จ า้ ง วานหรื อ ยุ ย ง
สง่ เสริม หรือด ้วยวิธอ
ี น
ื่ ใด
หรือ
- ผู ้โฆษณาหรือ ประกาศ
แก่บุค คลทั่ ว ไปให ้กระท า
ความผิด และความผิดนั ้น
มีกาหนดโทษไม่ตา่ กว่า 6
เดือน
13
หล ักทว่ ั ไปทีเ่ กีย
่ วก ับกฎหมายอาญาทหาร
 ผูส
้ น ับสนุน
ผู ้กระทาด ้วยกระการใด ๆ อันเป็ นการชว่ ยเหลือหรือให ้
ความสะดวกในการทีผ
่ ู ้อืน
่ กระทาความผิดก่อนหรือขณะ
กระท าความผิด แม ้ผู ้กระท าความผิด จะมิไ ด ้รู ้ถึง การ
ชว่ ยเหลือหรือให ้ความสะดวกนั น
้ ก็ตาม
14
การอ่านคาพิพากษาของศาล
มาตรา 12 เมือ
่ ศาลทหารพิพากษาเด็ดขาดให ้
ลงโทษแก่ท หารคนใด ท่ า นว่า ให ้ ผู ้ซ งึ่ บั งคั บ
บั ญ ชาทหาร ผู ้มีอ านาจสั่ ง ให ้ลงโทษตามค า
พิ พ า ก ษ า นั ้ น วิ นิ จ ฉั ย ต า ม เ ห ตุ ก า ร ณ์ ถ ้า
เห็ น สมควรจะสั่ง ให ้อ่า นค าพิพ ากษาให ้จ าเลย
ฟั งต่ อ หน า้ ประชุ ม ทหารหมู่ ห นึ่ ง หมู่ ใ ดตามที่
เห็นสมควรก็ได ้
15
ึ
เชลยศก
ฐานความผิด
ั
ึ เสย
ี สตย์
เชลยศก
(มาตรา 13)
องค์ประกอบภายนอก
ึ
เป็ นเชลยศก
องค์ประกอบภายนอก
- ได ้รับการปล่อยตัวไปโดยให ้คา
ั ย์ไว ้ว่า จะไม่กระทาการรบพุง่ ต่อ
สต
รัฐอีกจนตลอดเวลาสงครามคราวนัน
้
ี สต
ั ย์(กลับมารบพุง่ กับ
- ต่อมา เสย
ฝ่ ายเราและฝ่ ายเราจับตัวได ้)
องค์ประกอบภายใน
เจตนาธรรมดา
16
สายล ับ
่ ยผูล
ปิ ดบ ัง ชว
้ ักลอบสอด
แนม (มาตรา 15)
ผู ้ใด
- ปลอมตัว
- ปิ ด บั ง / ซ่ อ น เ ร น
้ / ช ่ ว ย ผู ้
- เข ้าไปใน ป้ อม ค่า ย เรือ ลักลอบสอดแนม
รบ หรื อ สถานที่ ใ ด ๆ อั น
เป็ นของสาหรับทหาร หรือ
มี ท หา รข อง สม เด็ จพ ร ะ
เจ ้าอยูห
่ วั ตัง้ อยูไ่ ซร ้
เจตนธรรมดา
เจตนาธรรมดา
ล ักลอบสอดแนม
(มาตรา 14)
ั รู
เป็ นราชศต
17
ั
ให้ประโยชน์แก่ราชศตรู
ปิ ด บ ัง ช่ ว ย เ ป็ น ท ห า ร เ ป็ น ท ห า ร ย อ ม
ร า ช ศ ั ต รู เ ก ลี้ ย ก ล่ อ ม แ พ้ แ ก่ ร า ช ศ ัต รู
(มาตรา 15) ค น เ ป็ น ร า ช (มาตรา 17)
ั
ศตรู
(มาตรา 16)
ยุย งหรือ ข่ม ขืน ใจ หรือ เป็ นนายเรือ ถอย
สมคบก น
ั เพือ
่ ยุ ย งหรือ เ รื อ จ า ก ที่ ร บ
ข่มขืนใจ ให้ยอมแพ้แ ก่ (มาตรา 19)
ั (มาตรา 18)
ราชศตรู
เ ป็ น ท ห า ร ห รื อ
พลเรือนก็ได ้
เป็ นทหาร
- เป็ นทหาร
- มีห น า้ ที่ บั ง คั บ กอง
ทหารใหญ่ น อ
้ ย ป้ อม
ค่ า ย เ รื อ ร บ ห รื อ
ส ถ า น ที่ อ ย่ า ง ใ ด ๆ
ของทหารของสมเด็จ
พระเจ ้าอยูห
่ วั
เป็ นทหารหรือพลเรือนก็ได ้
- เป็ นนายเรือ
- มี ห น า้ ที่ ค ว บคุ ม เ รื อ
ของทหาร ของสมเด็ จ
พระเจ ้าอยูห
่ วั
- ปิ ด บั ง / ซ่ อ น
เ ร ้น / ช ่ ว ย ร า ช
ศั ต รู ที่ ก ร ะ ท า
เ ช ่ น ว่ า ม า ใ น
มาตรา 14
เ ก ลี้ ย ก ล่ อ ม ค น
ใ ห ้ไ ป เ ข ้า เ ป็ น
ั รู
พวกราชศต
-ยอมแพ ้ยกกองทหาร
ป้ อม ค่าย เรือรบ หรือ
สถานที่ นั ้ น ๆ ให แ
้ ก่
ั รู
ราชศต
ิ้ กาลัง
- โดยทีย
่ ังไม่สน
แ ล ะ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ
ึ
ป้ องกันและต่อสูข้ ้าศก
- ยุ ย ง/ข่ ม ขื น ใจ/สมคบกั น
เ พื่ อ ยุ ย ง ห รื อ ข่ ม ขื น ใ จ ต่ อ
ผู ้บังคับกองทหาร
- ในขณะกระท าการรบ
พุง่
ี จากที่
- ถอยเรือออกเสย
รบนั ้ น โดยไม่ ม ีเ หตุ อั น
สมควร
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
- เจตนาพิเศษเพือ
่ ให ้ผู ้บังคับ
กองทหาร ป้ อม ค่า ย เรือ รบ
หรือสถานทีใ่ ด ๆ ของ ทหาร
ของสมเด็จพระเจ ้าอยู่หัวยอม
ั รู
แพ ้แก่ราชศต
เจตนาธรรมดา
18
เรือชารุด/อ ับปาง
เป็ นนายเรือ จง
ใ จ ก ร ะ ท า ห รื อ
ป ล่ อ ย ใ ห้ เ รื อ
ช า รุ ด ห รื อ
อ ับปาง
(มาตรา 20)
เ ป็ น น า ย เ รื อ
กระท าหรือ ปล่อ ย
ให้เ รือ ช ารุ ด หรือ
อบ
ั ปางด้ว ยความ
ประมาท (มาตรา
21)
ท า ใ ห้ เ รื อ
ช า รุ ด ห รื อ
อั บ ป า ง
(มาตรา 22)
- เป็ นนายเรือ
- มีหน ้าทีค
่ วบคุม
เ รื อ ข อ ง ท ห า ร
ของสมเด็ จ พระ
เจ ้าอยูห
่ วั
- เป็ นนายเรือ
- เ ป็ น ท ห า ร - เป็ นทหารหรื อ
- มี ห น า้ ที่ ค ว บ คุ ม หรื อ พลเรือ น พลเรือนก็ได ้
เรือ ของทหาร ของ ก็ได ้
ส ม เ ด็ จ พ ร ะ
เจ ้าอยูห
่ วั
จงใจกระท าหรือ กระทาหรือปล่อยให ้ - กระท าหรือ
ป ล่ อ ย ใ ห ้ เ รื อ เรื อ นั ้ น ช า รุ ด ห รื อ ปล่ อ ยให เ้ รื อ
ชารุดหรืออับปาง อับปาง
ล าหนึ่ง ล าใด
ของ ทหาร
ข อ ง ส ม เ ด็ จ
พระเจ ้าอยู่หั ว
ช า รุ ด ห รื อ
อับปาง
เจตนาธรรมดา
โดยประมาท
ท าให้เ รือ ช ารุ ด ลดโทษกรณี ก ระท าแก่
หรืออ ับปางด้วย เรือใชเ้ ดินในลานา้
คว า มประมา ท (มาตรา 24)
(มาตรา 23)
กระทาหรือปล่อย
ให ้เรือ ของทหาร
ของสมเด็ จ พระ
เจ า้ อยู่ หั ว ช ารุ ด
หรืออับปาง
เ จ ต น า โดยประมาท
ธรรมดา
- ถ ้ากระท าความผิด ตาม
มาตรา 20 , 21 , 22 และ
้ น
23 แก่เรือสาหรั บใชเดิ
ในลาน้ า
- ควรลดอาญาอย่า งหนั ก
ที่ บั ญ ญั ติ ไ ว ใ้ น ม า ต ร า
20, 21, 22, 23 ลงกึง่
หนึง่
- มิ ใ ห ศ
้ าลตอ
้ ง ถื อ ต า ม
อาญาอย่ า งเบาที่บั ญ ญั ต ิ
ไว ้เป็ น ประมาณในการที่
จะปรับโทษผู ้กระทาผิด
19
หมิน
่ ประมาท
เ ป็ น ท ห า ร ห มิ่ น ป ร ะ ม า ท ใ ส่
ความ หรือโฆษณาความหมิน
่
ประมาท (มาตรา 41)
เป็ นทหาร
- หมิ่น ประมาท แก่ ท หารยาม - หมิ่น ประมาท ใส่ ค วาม หรื อ
รั ก ษาการ/ทหารอยู่ย ามประจ า โฆษณาความหมิน
่ ประมาท
หน ้าที่
- แ ก่ ผู บ
้ ั ง คั บ บั ญ ช า ห รื อ แ ก่
นายทหารผู ้ใหญ่เหนือตน
หมิ่น ประมาทแก่ ท หารยาม
ร ัก ษ า ก า ร / ท ห า ร อ ยู่ ย า ม
ประจาหน้าที่ (มาตรา 37)
เป็ นทหารหรือพลเรือนก็ได ้
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เพิม
่ โทษ:กระทาต่อหน ้าราชศัตรู
้
เวลาสงคราม เขตใช กฎอั
ย การ
ึ
ศก
20
ข ัดขืน
เ ป็ น ท ห า ร ข ด
ั เ ป็ น ท ห า ร ข ั ด ขื น มิ
ขื น ล ะ เ ล ย ไ ม่ กระทาตามคาสง่ ั อย่าง
ั องอาจ (มาตรา 31)
ท า ต า ม ค า ส ่ง
(มาตรา 30)
เป็ นทหารข ด
ั ขืน เป็นทหารข ัดขืนมิกระทา
ห รื อ ล ะ เ ล ย มิ ต า ม ข้ อ บ ัง ค ับ อ ย่ า ง
ก ร ะ ท า ต า ม องอาจ (มาตรา 33)
ข้ อ บ ั ง ค ั บ
(มาตรา 32)
เป็ นทหาร
เป็ นทหาร
เป็ นทหาร
เป็ นทหาร
ขั ด ขื น ห รื อ - ขั ด ขื น มิ ก ร ะ ท า ต า ม ขัด ขืน หรือ ละเลยมิ
ละเลยมิก ระท า คาสงั่
ก ร ะ ท า ต า ม
ตาม คาสงั่
- โดยมั น แสดงความขั ด ข ้อบังคับ
ขืน ด ้วยกิร ิย า หรื อ วาจา
องอาจต่อ หน า้ หมู่ท หาร
ถืออาวุธ
- ขั ด ขื น มิ ก ร ะ ท า ต า ม
ข ้อบังคับ
- โดยมันแสดงความขัดขืน
ด ้วยกิร ย
ิ าหรือ วาจาองอาจ
ต่อหน ้า หมูท
่ หารถืออาวุธ
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เพิ่ ม โทษ:กรณี
กระท าต่ อ หน า้
ร า ช ศั ต รู เ ว ล า
สงคราม เขตใช ้
ึ
กฎอัยการศก
เพิม
่ โทษ:กรณีกระทาต่อ
ห น ้ า ร า ช ศั ต รู เ ว ล า
ส ง ค ร า ม เ ข ต ใ ช ้ก ฎ
ึ
อัยการศก
เ พิ่ ม โ ท ษ :ก ร ณี เพิ่ ม โทษ:กรณี ก ระท าต่ อ
กระท าต่อ หน า้ ราช หน ้าราชศัตรู เวลาสงคราม
้
ึ
ศั ต รู เวลาสงคราม เขตใชกฎอั
ยการศก
้
ึ
เขตใชกฎอั
ยการศก
21
คาสง่ ั (มาตรา 4)
 บรรดาข ้อความ
 ผู บ
้ ั ง คั บ บั ญ ชาทหาร ผู ถ้ ือ อ านาจอั น สมควร
เป็ นผู ้สงั่
 สั่งไปโดยสมควรแก่กาลสมัยและชอบด ้วยพระ
ราชกาหนดกฎหมาย
 เมือ
่ ผู ้รั บคาสั่งนั น
้ ได ้กระทาตามแล ้ว ก็เป็ นอัน
หมดเขตของการทีส
่ งั่ นัน
้
22
ข้อบ ังค ับ
้ เ่ สมอ
 บรรดาข ้อบังคับและกฎต่าง ๆ ทีใ่ ห ้ใชอยู
 ผู ้บัง คับบั ญชาทหาร ผู ้ถืออ านาจอัน สมควรได ้
ออกไว ้โดยสมควรแก่ก าลสมั ย และชอบด ้วยพระ
ราชกาหนดกฎหมาย
23
ทาร้าย(1)
แ ส ด ง ค ว า ม ขู่ เ ข็ ญ ท ห า ร ย า ม
อาฆาต มาทร้า ย (มาตรา 37)
ต่
อ
ผู ้ บ ัง ค ับ บ ัญ ช า
ห รื อ ต่ อ ท ห า ร ที่
เ ป็ น ใ ห ญ่ เ ห นื อ
ม ัน (มาตรา 41)
ท า ร้ า ย ท ห า ร ย า ม
ร ักษาการ หรือแก่ทหาร
อ ยู่ ย า ม ป ร ะ จ า ห น้ า ที่
(มาตรา 36)
้ าล ังทา
เป็นทหารใชก
ร้ า ย ท ห า ร ผู ้ ใ ห ญ่
เหนือม ัน
(มาตรา 39)
เป็ นทห ารก ระ ท า
การประทุษร้าย แก่
ผู ้ บ ั ง ค ั บ บ ั ญ ช า
(มาตรา 38)
เป็ นทหาร
เ ป็ น ท ห า ร ห รื อ พ ล
เรือนก็ได ้
เป็ นทหารหรือ พลเรือ นก็
ได ้
เป็ นทหาร
เป็ นทหาร
-แสดงความ
อาฆาต มาทร ้าย
- ต่อผู ้บังคับบัญชา
หรือต่อ
ทหารที่ เ ป็ นใหญ่
เหนือมัน
- ขู่เข็ญว่า จะกระทา
ร ้าย
- แก่ทหารรักษาการ
หรือแก่ทหารอยู่ย าม
ประจาหน ้าที่
- ใชก้ าลังทาร ้าย
- แก่ ท หารยามรั ก ษาการ
ห รื อ แ ก่ ท ห า ร อ ยู่ ย า ม
ประจาหน ้าที่
- ใชก้ าลังทาร ้าย
- แ ก่ ท ห า ร ซ ึ่ ง เ ป็ น
ผู ้ใหญ่เหนือตน
- ใ ช ้ ก า ลั ง ก า ร
ประทุษร ้าย
- แก่ผู ้บังคับบัญชา
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เจตนาธรรมดา
เ พิ่ ม โ ท ษ :ก ร ณี
กระท าต่ อ หน า้ ราช
ศั ต รู เวลาสงคราม
้
ึ
เขตใชกฎอั
ยการศก
- เพิม
่ โทษ:กรณีกระทาต่อ
ั รู เวลาสงคราม
หน ้าราชศต
้
ึ
เขตใชกฎอั
ยการศก
- ใ ห ร้ ั บ ผิ ด ใ น ส่ ว น เ ห ตุ
ฉกรรจ์ใน ปอ.ด ้วย
ให ้รั บ ผิด ตาม ปอ.ด ้วย
กรณีตาย สาหัส
เ พิ่ ม โ ท ษ :ก ร ณี
กระท าต่ อ หน า้ ราช
ศั ต รู เวลาสงคราม
้
ึ
เขตใชกฎอั
ยการศก
24
ทาร้าย(2)
ฐานความผิด
องค์ประกอบภายนอก
เป็นทหารทาร้ายร่างกาย
(มาตรา 50)
- เป็ นทหาร
- มีหน ้าทีเ่ ป็ นยามรักษาการ หรืออยู่
ยามประจาหน ้าที่ หรือกระทาการใดทีม
่ ี
อาวุธของหลวงประจาตัว
องค์ประกอบภายนอก
ทาร ้ายร่างกายผู ้อืน
่ จนเป็ นเหตุให ้เกิด
อันตรายแก่กายหรือจิตใจตาม ปอ.
องค์ประกอบภายใน
เจตนาธรรมดา
ต ้องรับโทษตาม ปอ.และให ้เพิม
่ โทษ
25
หนีราชการ
 หนีราชการทหารในเวลาประจาการ(มาตรา 45)
ประการแรก ขาดจากหน ้าทีร่ าชการโดยมิได ้รับอนุญาต
เมือ
่ พ ้นกาหนดอนุญาตลา + เจตนาหลีกเลีย
่ งคาสงั่ ให ้
เดินกองทหาร หรือเดินเรือไปจากที่ หรือคาสงั่ เรียกระดม
ึ หรือ
เตรียมศก
ประการที่ 2 ขาดจากหน ้าทีร่ าชการโดยมิได ้รับอนุญาต
เมือ
่ พ ้นกาหนดอนุญาตลา +
ั รู
- ขาด 24 ชวั่ โมง ต่อหน ้าราชศต
่ อ
ั รู แต่ในเวลาสงคราม/
- ขาด 3 วัน ถ ้ามิใชต
่ หน ้าราชศต
้
ึ
ประกาศใชกฎอั
ยการศก
- ขาด 15 วัน ในทีแ
่ ละเวลาอืน
่
26
หนีราชการ
 ข้อบ ังค ับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการลงท ัณฑ์ทหารขาด
หนีราชการ พ.ศ.2528
 ใชบั้ งคับกับทหารกองประจาการเท่านัน
้
 มีการกาหนดกรอบการใชดุ้ ลพินจ
ิ ในการดาเนินการ
 ข้อ 7.
ทหารซงึ่ ขาดราชการหรือหนีราชการในเวลาปกติ ให ้
ผู ้บังคับบัญชาปฏิบต
ั ด
ิ งั ต่อไปนี้
7.1 ขาดราชการแล ้วกลับเอง
ครัง้ ที่ 1 ทาทัณฑกรรมไม่เกิน 3 วัน
ครัง้ ที่ 2 ขังกึง่ จานวนวันทีข
่ าดราชการ
ครัง้ ที่ 3 และครัง้ ต่อ ๆ ไป ขังเท่าจานวนวันทีข
่ าดราชการ
ฯลฯ
27