ยศ.ทบ. - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

Download Report

Transcript ยศ.ทบ. - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของ
โรงเรียนนายร้ อยพระจุลจอมเกล้า
ประจาปี ๒๕๕๗
โดย
คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษา
ของกองทัพบก
เกณฑ์ ตดั สิ นผลการประเมินคุณภาพภายในและแนวทางการพัฒนา
คะแนน
การดาเนินงาน
แนวทางการพัฒนา
ทีไ่ ด้
อยู่ในเกณฑ์
๔.๕๑ – ๕.๐๐
ดีมาก
ควรกาหนดแนวทางพัฒนาเพือ่ รักษาคุณภาพและ
พัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
๓.๕๑ – ๔.๕๐
ดี
ควรกาหนดแนวทางพัฒนาเพือ่ เสริมจุดแข็ง
๒.๕๑ – ๓.๕๐
พอใช้
ควรกาหนดแนวทางพัฒนาเพือ่ ป้องกันจุดอ่อน
และหาแนวทางสร้ างจุดแข็ง
๑.๕๑ – ๒.๕๐ ต้ องปรับปรุง ต้ องกาหนดแนวทางการพัฒนาเพือ่ แก้ ไขจุดอ่ อน
ของผลการดาเนินงาน
๐.๐๐ – ๑.๕๐ ต้ องปรับปรุง ต้ องกาหนดแนวทางพัฒนาอย่ างเร่ งด่ วน
เร่ งด่ วน โดยพิจารณาทั้งระบบ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
ผูส้ าเร็จการศึกษาเป็นนายทหารสัญญาบัตรที่มีสมรรถนะ
ทางวิชาการและวิชาชีพทหาร ตามมาตรฐานค ุณว ุฒิ
ปริญญาตรีระดับอ ุดมศึกษาของชาติ และมาตรฐานสภา
การศึกษาวิชาทหารกระทรวงกลาโหม มีภาวะผูน้ าและ
ค ุณลักษณะทางทหารที่พึงประสงค์ ตามที่กองทัพต้องการ
มีความรค้ ู วามสามารถเพียงพอที่จะปฏิบตั ิงานในหน่วยงาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการเรียนรแ้ ู ละ
การพัฒนาตนเอง มีความรับผิดชอบต่อสังคมและ
ประเทศชาติ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
๑.๑ ร้ อยละของผู้สาเร็จการศึกษา
ภายในระยะ เวลาทีห่ ลักสู ตร
กาหนด
๑.๒ ค่ าเฉลีย่ ของระดับคะแนน
เฉลีย่ สะสมตลอดหลักสู ตร
(GPAX) ของผู้สาเร็จการศึกษา
ในแต่ ละปี การศึกษา
การประเมิน
ตนเอง
ผลการประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๓๓.๗๖ ๓๓.๗๖
๕
๕
-
๕
๕
-
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๑.๓ ร้ อยละของผู้สาเร็จ
การศึกษา ที่มรี ะดับ
คะแนนการฝึ กวิชาชีพ
ทหารอยู่ในเกณฑ์
ดี – ดีมาก ตามที่สถาบัน
กาหนด
การประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมินของ
คณะ
กรรมการ
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕
๕
-
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การประเมิน
ตนเอง
๑.๔ ร้ อยละของผู้สาเร็จการศึกษา ๕
ที่มีระดับคะแนนคุณลักษณะผู้นา
ทหารอยู่ในเกณฑ์ ดี – ดีมาก
ตามที่สถาบันกาหนด
ผลการ
ประเมินของ
คณะ
กรรมการ
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕
-
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การประเมิน
ตนเอง
ผลการประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
๑.๕ ระดับความพึงพอใจ ๔.๓๕ ๔.๓๕
ของหน่ วยงานผู้ใช้ ที่มี
ต่ อผู้สาเร็จการศึกษา ตาม
อัตลักษณ์ สถาบัน
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
-
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การประเมิน
ตนเอง
๑.๖ ร้ อยละของผู้สาเร็จการศึกษา ๕
ระดับปริญญาตรีที่ได้ งานทา หรือ
ประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี
ผลการประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕
-
๑.๗ ระดับคุณภาพของผู้สาเร็จ ๔.๔๑ ๔.๔๑
การศึกษาระดับปริญญาตรี ตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒอิ ุดมศึกษา
แห่ งชาติ
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๑
๔.๘๒ ๔.๘๒
-
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
จุดแข็ง
- ผู้บริหารให้ ความสาคัญกับการพัฒนาหลักสู ตรอย่ างต่ อเนื่อง
- มีการปรับปรุ งแบบสอบถามทีใ่ ช้ ในการประเมินอย่ างต่ อเนื่อง
และสอดคล้ องกับอัตลักษณ์ ของสถาบัน
- มีการพัฒนาการติดตามและประเมินผล ด้ วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ทาให้ ได้ รับแบบสอบถามนีต้ อบรับกลับคืนมาจานวนค่ อนข้ างมาก
จุดทีค่ วรพัฒนา
- ควรพัฒนาแบบของการประเมินให้ ครบทุกมิติ (๓๖๐ องศา)
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
ข้ อเสนอแนะ
- ควรมีการนาผลการประเมิน มาเป็ นข้ อมูลพิจารณา
ปรับปรุง การเรียนการสอนในวิชาทีผ่ ้ ูใช้ ประเมินความพึงพอใจ
อยู่ในระดับ ปานกลาง เช่ น ความรู้ ด้านงานส่ งกาลังบารุงขั้น
พืน้ ฐานระดับกองร้ อย
- รร.จปร. พิจารณากาหนดค่ าเป้าหมายให้ อยู่ในเกณฑ์ ทที่ ้ า
ทาย เพือ่ ยกระดับมาตรฐาน
- พัฒนาข้ อคาถามทีเ่ ป็ นนามธรรมให้ เป็ นรู ปธรรม สามารถ
นาผลประเมินมาพัฒนาได้
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
สถาบันดาเนินการด้านงานวิจยั และงานสร้างสรรค์
อย่างมีค ุณภาพและมีประสิทธิภาพ มีการส่งเสริมและ
สนับสน ุนคณาจารย์ให้มีความสามารถในการทางานวิจยั
และงานสร้างสรรค์ สามารถนาผลงานไปเผยแพร่ตีพิมพ์
ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ และ
นาไปใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการและเชิงนโยบายได้ เพื่อ
พัฒนาองค์ความรใ้ ู ห้ทนั สมัย สามารถประย ุกต์ใช้ในการ
พัฒนาวิชาชีพของหน่วยงาน กองทัพ สังคม ประเทศชาติ
หรือนานาชาติได้
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
๑๕.๕๘
๑๕.๙๕
๒.๑ ระบบและกลไกในการ
สนับสนุนการผลิตงานวิจยั
และงานสร้ างสรรค์
๕
๕
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๒.๒ ร้ อยละของอาจารย์ ประจา ๔.๓๑ ๔.๓๑
ที่ทางานวิจยั หรืองานสร้ างสรรค์
ต่ อจานวนอาจารย์ ประจา
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
-
-
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมินของ
คณะ
กรรมการ
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๒.๓ งานวิจัย หรือ งานสร้ างสรรค์ ๑.๔๕ ๑.๔๕
ที่ได้ รับการตีพมิ พ์ หรือเผยแพร่
ระดับกองทัพ ระดับชาติ หรือ
ระดับนานาชาติ ต่ อจานวน
อาจารย์ ประจา
-
๒.๔ ร้ อยละของจานวนงานวิจัย ๑.๐๘ ๑.๐๘
หรืองานสร้ างสรรค์ ที่นามาใช้
ประโยชน์ ต่อจานวนอาจารย์ ประจา
-
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
๒.๕ ร้ อยละของจานวน ๓.๗๔ ๓.๗๔
ผลงานทางวิชาการ ทีไ่ ด้
รับการรับรองคุณภาพต่ อ
จานวนอาจารย์ ประจา
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๒ ๓.๑๒ ๓.๑๒
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
-
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
จุดแข็ง
- ผู้บริหาร ครู / อาจารย์ ให้ ความสนใจและตระหนักถึง
ความสาคัญของการพัฒนางานวิจัยและงานสร้ างสรรค์
- ครู/ อาจารย์ มีขีดความสามารถในการทางานวิจัยและ
งานสร้ างสรรค์
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
จุดที่ควรพัฒนา
- ควรส่ งเสริมให้ ครู / อาจารย์ ในส่ วนวิชาทหาร และกองจิตวิทยาและ
การนาทหาร ผลิตผลงานทางวิชาการให้ มากขึน้
- ควรพัฒนาการเขียนงานวิจยั บทความทางวิชาการ ให้ กบั ครู / อาจารย์
มีความเข้ าใจมากขึน้ เช่ น จัดอบรมการเขียนงานวิจยั และบทความ
เป็ นต้ น
- ครู / อาจารย์ ควรอ้ างอิงผลงานวิจยั / บทความทางวิชาการ เพือ่
นาไปใช้ ประโยชน์ / อ้ างอิง ซึ่งจะทาให้ คะแนนในส่ วนการนาผลงาน
ไปใช้ ประโยชน์ มากขึน้
- ควรผลิตงานวิจยั / งานสร้ างสรรค์ ทีเ่ ป็ น Military Science
ให้ มากขึน้
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
ข้ อเสนอแนะ
- เพือ่ ส่ งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการ อาจมีการจัดตั้ง
ศูนย์ การศึกษาความเป็ นผู้นา (Center of Leadership) หรือศูนย์
การศึกษาที่ รร.จปร. มีความถนัด โดยเน้ นการผลิตผลงานทาง
วิชาการ เช่ น Working Paper, Monograph, Report เป็ นต้ น
- ควรทาวิจัยและผลิตผลงานทางวิชาการทีเ่ ป็ นจุดแข็ง (จุดเด่ น
ของ รร.จปร.) โดยเฉพาะอย่ างยิง่ งานวิจัย/ งานวิชาการด้ าน
หลักการ เช่ น ความเป็ นผู้นา, การพัฒนาการฝึ ก, ความมั่นคง
รู ปแบบใหม่ , ภัยคุกคามแบบผสม (Hybrid Threats), Strategic
Land power เป็ นต้ น (ต่อ)
มาตรฐานที่ ๒ การวิจัยและงานสร้ างสรรค์
ข้ อเสนอแนะ
- รร.จปร. ควรเสนอ สมศ. ในเรื่อง วารสารนานาชาติทาง
ทหาร (Professional Journals) ให้ อยู่ในฐานข้ อมูลของ สมศ.
ด้ วย เช่ น Military Review, Parameters, JFQ, Australian
Defense Force Journal เป็ นต้ น
มาตรฐานที่ ๓ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
สถาบันมีการให้บริการวิชาการและวิชาชีพต่อหน่วยงาน
กองทัพ สังคม ประเทศชาติ หรือนานาชาติ โดยใช้ทรัพยากร
ของสถาบัน หรือทรัพยากรร่วมกันทัง้ ภายในและภายนอก
สถาบัน ให้คาปรึกษาวิชาการและวิชาชีพ การศึกษาวิจยั ค้นคว้า
ในฐานะเป็นที่พึ่งของสังคม เพื่อให้ได้ขอ้ มูลย้อนกลับมาพัฒนา
ปรับปร ุงการจัดการเรียนการสอน หรือการวิจยั ของสถาบัน
และเกิดองค์ความรใ้ ู หม่ที่เป็นประโยชน์ ก่อให้เกิดความมัน่ คง
เข้มแข็ง และการทางานที่ยงั่ ยืนของกองทัพและประเทศชาติ
มาตรฐานที่ ๓ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ผลการ
ประเมิน ประเมิน
ตนเอง ของคณะ
กรรมการ
มาตรฐานที่ ๓ การบริการทางวิชาการ
และวิชาชีพ
๑๕
๑๕
๓.๑ ร้ อยละของโครงการหรือ
กิจกรรมบริการทางวิชาการหรือ
วิชาชีพทีต่ อบสนองความต้ องการ
การพัฒนาและเสริมสร้ างความ
เข้ มแข็งของกองทัพ ชุมชน
สั งคม ประเทศชาติ หรือ
นานาชาติ ต่ อจานวนกิจกรรม
ทั้งหมด
๕
๕
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
-
มาตรฐานที่ ๓ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ประเมิน
ตนเอง
๓.๒ การนาความรู้
๕
และประสบการณ์
จากการให้ บริการทาง
วิชาการ มาใช้ ในการ
พัฒนา การเรียนการ
สอน หรือการวิจัย
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - ในบางโครงการ ควรแสดงความเชื่อมโยง
จากการให้ บริการทางวิชาการสู่ การพัฒนา
การเรียนการสอนหรืองานวิจัย โดยระบุ
ความเชื่อมโยงให้ ชัดเจน เช่ น โครงการ
สนับสนุนและส่ งเสริมให้ ข้าราชการเข้ าร่ วม
กิจกรรมบริการทางวิชาการร่ วมกับสถาบัน
และบุคคลภายนอก นาสู่ การจัดทากรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญา สาขา
สิ่ งแวดล้ อมตามที่ สกอ. กาหนด
มาตรฐานที่ ๓ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ประเมิน
ตนเอง
๓.๓ การเรียนรู้ และส่ งเสริม ๕
ความเข้ มแข็งของชุ มชน
หรือ องค์ กรภายนอก
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๓
๕
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล/ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - โดยภาพรวมสามารถ
ดาเนินการได้ ตามวงจรคุณภาพ
PDCA
- ควรพัฒนาเครื่องมือในการ
ประเมินผลให้ สามารถ
ประเมินผลได้ ครอบคลุมสิ่ งที่
กาหนดไว้ ในวัตถุประสงค์ เช่ น
การวัดความรู้ ความสามารถ
๕
มาตรฐานที่ ๓ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
จุดแข็ง
- รร.จปร. มีบุคลากรทีท่ รงคุณวุฒใิ นหลายด้ านเป็ นทีย่ อมรับของ
สถาบันภายนอก และได้ นาความรู้ หลักของสถาบันไปใช้ ในการบริการ
ทางวิชาการและวิชาชีพ
จุดทีค่ วรพัฒนา
- ควรพัฒนาการเขียนวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และการประเมินผล
ในโครงการให้ สอดคล้ องกัน
- เพือ่ ให้ การดาเนินโครงการมีประสิ ทธิภาพมากขึน้ ควรนาผลการ
ประเมินทีร่ วบรวมได้ และมีปัญหาข้ อขัดข้ องที่พบ มาใช้ ร่วมกันเพือ่
เป็ นข้ อมูลในการหาแนวทางการพัฒนา
มาตรฐานที่ ๓ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
ข้ อเสนอแนะ
- ควรนาความรู้ และประสบการณ์ การให้ บริการทางวิชาการและ
วิชาชีพ มาใช้ ในการวิจยั ให้ มากขึน้
- ควรวิเคราะห์ จานวนโครงการที่เพิม่ ขึน้ หรือ ลดลง ในห้ วง ๓ ปี
ว่ ามีปัญหา ข้ อขัดข้ องอะไร เพือ่ จะได้ จดั การบริการทางวิชาการและ
วิชาชีพทีช่ ัดเจน และเกิดประโยชน์ กบั บุคลากรและสถาบันมากทีส่ ุ ด
- ควรวิเคราะห์ ความเชื่อมโยงในการให้ บริการทางวิชาการและ
วิชาชีพว่ า สอดคล้ องกับวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ ของสถาบันอย่ างไร
เพือ่ ทาให้ การบริการทางวิชาการและวิชาชีพมีความโดดเด่ นขึน้
มาตรฐานที่ ๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร
รร.จปร. มีการดาเนินงานการอน ุรักษ์ สืบสาน เผยแพร่
สนับสน ุน และส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมไทย
ภ ูมิปัญญาไทย ประวัติศาสตร์ และขนบธรรมเนียมประเพณี
ทางทหาร เพื่อให้เกิดประโยชน์และการสร้างสรรค์ค ุณค่า
ต่อสังคม และการพัฒนาสร้างส ุนทรียภาพในมิติทางศิลปะ
และวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร
ต่อให้เกิดความภาคภ ูมิใจในความเป็น
ทหารอาชีพและความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมฯ
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๔ การทานุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรมฯ
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
๒๐
๒๐
๔.๑ ร้ อยละของโครงการหรือ
๕
กิจกรรมทีบ่ รรลุวตั ถุประสงค์
ตามแผนงานในการอนุรักษ์
สื บสาน เผยแพร่ และส่ งเสริม
เอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม
ไทย ประวัตศิ าสตร์ ไทย และ
ขนบธรรมเนียมประเพณีทาง
ทหาร ต่ อจานวนกิจกรรม
ทั้งหมด
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - โครงการทั้งหมด ๑๓ โครงการ
อยู่ในแผนงานการทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรม
- การกาหนดโครงการ ควรระบุ
เป้าหมาย ตัวชี้วดั ให้ เห็น
เด่ นชัดในการบรรลุวตั ถุประสงค์
ของโครงการ
มาตรฐานที่ ๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมฯ
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมินของ
คณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๔.๒ ร้ อยละของโครงการ
หรือ กิจกรรมในการสื บสาน
ขนบธรรมเนียมประเพณีทาง
ทหาร ต่ อจานวนกิจกรรม
ทั้งหมด
๕
๕
-
๔.๓ การส่ งเสริมและสนับสนุน
ศิลปะและวัฒนธรรม
๕
๕
-
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมฯ
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๔.๔ การพัฒนาสุ นทรียภาพ
ในมิตทิ างศิลปะและ
วัฒนธรรม
๕
๕
-
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๔
๕
๕
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมฯ
จุดแข็ง
- รร.จปร. มีการกาหนดแผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม ด้ าน
การทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรมที่ชัดเจน หลากหลาย และ
มีการดาเนินการอย่ างต่ อเนื่อง
จุดทีค่ วรพัฒนา
- ในแต่ ละโครงการ ควรกาหนดเป้าหมายให้ สามารถวัดได้
ว่ าโครงการแต่ ละโครงการ บรรลุวตั ถุประสงค์ หรือไม่
มาตรฐานที่ ๔ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมฯ
ข้ อเสนอแนะ
- ควรเพิม่ เติมการประเมินให้ ครบทุกมิติ ทั้งผู้ร่วมกิจกรรม
และผู้ดาเนินกิจกรรม และนาเกณฑ์ การพิจารณามาเป็ นหัวข้ อ
ในการพิจารณาออกแบบการประเมิน
- ควรเพิม่ หลักฐานการเข้ าร่ วมกิจกรรมทีไ่ ด้ รับการยกย่ อง
ชมเชย ระดับชาติ หรือ นานาชาติ
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
สถาบันมีการบริหารจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพ เป็น
องค์กรแห่งการเรียนร ้ ู มีวิสยั ทัศน์ นโยบาย และแผนงานไปสู่
การปฏิบตั ิอย่างมีเอกภาพ เพื่อให้บรรล ุภารกิจที่กาหนดไว้ มี
สภาสถาบัน/ คณะกรรมการบริหาร กากับด ูแลนโยบายและ
การดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนงานการปฏิบตั ิ และการดแู ล
รับผิดชอบของผูบ้ ริหารท ุกระดับ ภายใต้หลักการธรรมาภิบาล
มีการพัฒนาเพื่อให้บรรล ุตามปรัชญาและวัตถ ุประสงค์ในการ
สืบสานโครงการพระราชดาริ และการพัฒนาผูเ้ รียนให้ได้
นายทหารสัญญาบัตรที่พึงประสงค์ และการพัฒนาตามจุดเน้น
และจุดเด่นของสถาบัน
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและ
การพัฒนาสถาบัน
การประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๔๓.๘๒ ๔๓.๘๒
๕.๑ การปฏิบัตติ ามบทบาท ๔.๑๙ ๔.๑๙ - มีสภาสถาบัน แต่
หน้ าที่ของสภาสถาบัน
คณะกรรมการสภาสถาบัน
เป็ นกรรมการของ รร.จปร.
เท่ านั้น วาระการประชุม
บางเรื่องควรเชิญกรรมการ
ภายนอกเข้ าร่ วมบางกรณี
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕.๒ การปฏิบัติตามบทบาท ๔.๖๓ ๔.๖๓ - แบบการประเมินผู้บริหาร
หน้ าทีข่ องผู้บริหารสถาบัน
ควรพิจารณาพัฒนา
ปรับปรุ งหัวข้ อการ
ประเมินสม่าเสมอ
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ผลการ
ประเมิน ประเมิน
ตนเอง ของคณะ
กรรมการ
๕.๓ ศักยภาพของระบบ ๕
ฐานข้ อมูล เพือ่ การ
บริหารจัดการการเรียน
การสอน และการวิจยั
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - ควรเชื่อมโยงระบบฐานข้ อมูล
ต่ างๆ ในระบบสารสนเทศ
เพือ่ ประโยชน์ ในการตกลงใจของ
ผู้บังคับบัญชา เพือ่ ให้ เกิด
ประโยชน์ สูงสุ ด
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๕.๔ สถาบันมีการบริหาร
การจัดการความรู้ อย่ างเป็ น
ระบบ เพือ่ พัฒนาให้ เป็ น
องค์ กรแห่ งการเรียนรู้
การ
ประเมิน
ตนเอง
๕
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - มีการจัดการความรู้ อย่ างเป็ น
ระบบ แต่ การจะไปถึงองค์ กร
แห่ งการเรียนรู้ มีข้นั ตอนมาก
ควรกาหนดเป้าหมายของ
การจัดการความรู้ เป็ นลาดับไป
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๕.๕ ระบบและกลไกใน
การจัดสรรงบประมาณ
การวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่าย
การตรวจสอบการเงิน
และงบประมาณ
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ ๕ (-) - ตัวบ่ งชี้ที่ ๕.๕ การจัดทาแฟ้ม
เอกสารรับตรวจเพือ่ ตอบเกณฑ์
การประเมินเอกสารต้ องครบถ้ วน
ตามเกณฑ์ การพิจารณา และ
ถูกต้ องตรงกับรายงานการ
ประเมินตนเอง (SAR) แสดง
หลักฐานการจัดทา ทบ.๕๐๐ ๑๒๑ - ๑๒๖ และการอนุมัตเิ งิน
ประจางวด ทบ.๕๐๐ - ๑๑๑ - ๑๑๖
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๕.๕ ระบบและกลไกใน
การจัดสรรงบประมาณ
การวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่าย
การตรวจสอบการเงิน
และงบประมาณ
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ ๕ (-) ภาคบริหาร การติดตาม
ประเมินผล การเร่ งรัดติดตาม
การใช้ จ่ายงบประมาณ
การรายงานสถานภาพ
การเบิกจ่ ายเงินเหลือส่ งคืน
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ผลการ
ประเมิน ประเมิน
ตนเอง ของคณะ
กรรมการ
๕.๖ ผลการพัฒนาให้
๕
บรรลุตามอัตลักษณ์ ของ
การจัดตั้งสถาบัน
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - มีโครงการต่ างๆ ทีส่ นับสนุน
อัตลักษณ์ แต่ ควรระบุให้ ชัดเจนว่ า
โครงการใดสนับสนุน อัตลักษณ์
ในเรื่องใด และผลเป็ นอย่ างไร
ให้ ชัดเจน
- แบบการประเมินควรครอบคลุม
ความหมายของอัตลักษณ์ และ
มีการประชุมสม่าเสมอ
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๕.๗ ผลการพัฒนาตาม
จุดเน้ น และจุดเด่ นทีส่ ่ งผล
สะท้ อนเป็ นเอกลักษณ์ ของ
สถาบัน
การ
ประเมิน
ตนเอง
๕
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - ควรกาหนดโครงการ
ให้ ชัดเจน ว่ า ส่ งผลต่ อ
เอกลักษณ์ ในเรื่องใด
ผลเป็ นอย่ างไรให้ ชัดเจน
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ประเมิน
ตนเอง
๕.๘ ผลการชี้นาสั งคมใน ๕
ด้ านการส่ งเสริมและสื บสาน
โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - มีโครงการสนับสนุนมาก
ควรพิจารณาให้ มีจานวน
ที่สอดคล้ องกับกระบวนการ
PDCA ให้ ครบตาม
กระบวนการดีกว่ า
มีจานวนมาก
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๕.๙ ผลการชี้นาสั งคมใน
ด้ านความรักชาติ บารุ ง
ศาสนา และเทิดทูน
พระมหากษัตริย์
การ
ประเมิน
ตนเอง
๕
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - ควรกาหนดโครงการ
ให้ สอดคล้ องกับตัวชี้วดั
ที่ต้องการในด้ าน ความรักชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย์
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๕ ๔.๘๗ ๔.๘๗
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
จุดแข็ง
- มีสภาสถาบัน และคณะกรรมการบริหารสถาบัน ทีม่ ีความรู้
ความสามารถ บริหารสถาบันเป็ นไปตามอัตลัษณ์ และเอกลักษณ์
ของสถาบัน มีการดาเนินงานอย่ างต่ อเนื่อง
จุดทีค่ วรพัฒนา
- ควรมีการพัฒนาแบบประเมินต่ างๆ ในแต่ ละปี เพือ่ ความ
สมบูรณ์ และเหมาะสมไปใช้ ได้ จริง
- การดาเนินการตามโครงการต่ างๆ ควรใช้ กระบวนการ
PDCA ให้ ชัดเจน
มาตรฐานที่ ๕ การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
ข้ อเสนอแนะ
- สภาสถาบัน ควรมีการอนุมัตริ ับทราบแผนการปฏิบัตริ าชการ
ประจาปี ของโรงเรียนเพิม่ เป็ นวาระการประชุมด้ วย
- ควรมีการทบทวนแผนแม่ บทของโรงเรียนตามห้ วงเวลา
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
สถาบันมีการบริหารและพัฒนาหลักสูตร ทัง้ ในด้านวิชาการ
และวิชาทหาร เพื่อตอบสนองต่อการผลิตนายทหารสัญญาบัตร
ตามความต้องการของกองทัพบก พัฒนาการเรียนการสอนให้
ทันสมัยสอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีการจัดการเรียนรท้ ู ี่
หลากหลาย โดยเน้นการฝึกปฏิบตั ิ และส่งเสริมประสบการณ์จริง
มีการพัฒนาบ ุคลากรการศึกษาให้มีค ุณภาพ การจัดการเรียน
การสอนเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นผูใ้ ฝ่ร ้ ู มีความคิดริเริม่ และ
สร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ มีการระดมทรัพยากรทัง้ ภายในและ
ภายนอกกองทัพ ในการจัดกิจกรรมของหลักสูตรการศึกษาให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงส ุด
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและ
การเรียนการสอน
๖.๑ การบริหารและการพัฒนา
หลักสู ตรให้ ทันสมัย เป็ นไป
ตามนโยบายด้ านการศึกษา
ของกองทัพบก
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๒๗.๔๙ ๒๖.๔๙
๕
๕ - ควรส่ งเสริมให้ ผ้ ูมีส่วน
เกีย่ วข้ อง เข้ ามาร่ วม พัฒนา
หลักสู ตรอย่ างแท้ จริง
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๖.๒ ระดับ
ความสาเร็จในการ
พัฒนาคณาจารย์
และบุคลากรสาย
สนับสนุน
การ
ประเมิน
ตนเอง
๕
ผลการ
ประเมินของ
คณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ (-) - ไม่ พบแผนพัฒนา กพ. รร.จปร.
ด้ านการศึกษาปี ๕๖, ๕๗
- ควรสรุ ปประเด็นสาคัญ
จากการประเมินผลสาเร็จของ
แผนการบริหารและพัฒนาคณาจารย์
และบุคลากรสายสนับสนุน
เพือ่ นาไปปรับปรุ งแผน
อย่ างเป็ นรู ปธรรม โดยเฉพาะตัวชีว้ ดั
ทีไ่ ม่ บรรลุตามเป้าหมาย
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๖.๓ คุณภาพอาจารย์ ตาม ๒.๔๙ ๒.๔๙ - มีการพัฒนาคุณภาพอาจารย์
ตามคุณวุฒิและตาแหน่ งทาง
คุณวุฒิ และตาแหน่ งทาง
วิชาการเพิม่ ขึน้ จากเดิม 2.42
วิชาการ
แต่ ยงั ไม่ บรรลุเป้าหมาย 3
จึงควรกาหนดแผนการส่ งเสริม
ให้ อาจารย์ ทาผลงานเพือ่ เข้ าสู่
ตาแหน่ งทางวิชาการให้ ชัดเจน
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๖.๔ ระบบและ
กลไกในการ
จัดการเรียน
การสอน
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ ๕ (-) - ควรพัฒนารูปแบบการประเมิน
ความพึงพอใจฯ ให้ มคี วามสะดวกรวดเร็ว
เพือ่ ลดภาระงานให้ กบั ผู้ปฏิบัติ
(อาจใช้ แบบประเมินออนไลน์ ได้ )
- ควรสรุปประเด็นสาคัญจากผลการประเมิน
ความพึงพอใจเพือ่ นาไปพัฒนาการจัด
การเรียนการสอนให้ เป็ นรู ปธรรม และจัดทา
เป็ นข้ อมูลสารสนเทศให้ ผู้บริหารทราบถึง
การพัฒนาดังกล่ าว
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ประเมิน
ตนเอง
๖.๕ ระบบและกลไก
๕
ส่ งเสริมกิจกรรมผู้เรียน
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๔ - ไม่ พบร่ องรอยการประเมิน
ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ ของ
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- ในแผนงาน/โครงการ
ควรมีความสอดคล้ องกับ
แผนแม่ บทและกาหนดเป้าหมาย
ให้ ชัดเจน เพือ่ ให้ สามารถ
ประเมินผลสาเร็จ
ได้ อย่ างเป็ นรู ปธรรม
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๖.๖ ความพร้ อมในการ
สนับสนุนทรัพยากรการ
เรียนรู้
การ
ประเมิน
ตนเอง
๕
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - ควรพัฒนาสื่ อการเรียนการ
สอนแบบ e learning เพือ่ เป็ น
สื่ อเสริมในการเพิม่ คุณภาพ
การเรียนรู้ ของนักเรียนให้
มากขึน้ โดยพิจารณาใช้
โปรแกรมลิขสิ ทธิ์ที่
กองทัพบกแจกจ่ ายให้ ใช้ งาน
ฟรี (adobe captivate 6 )
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๖ ๔.๕๘ ๔.๔๒
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
จุดแข็ง
- มีการพัฒนา หลักสู ตรให้ ทนั สมัย ตามนโยบาย และสอดคล้ อง
กับสถานการณ์ และภารกิจของกองทัพบก
- มีกจิ กรรมสร้ างขวัญและกาลังใจให้ คณาจารย์ และบุคลากร
สายสนับสนุนจานวนมากและ ต่ อเนื่อง- มีทรัพยากรสนับสนุน
การเรียนรู้ อย่ างเพียงพอ
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
จุดทีค่ วรพัฒนา
- ควรแสดงหลักฐาน ระบบและกลไก การประกันคุณภาพ
การศึกษา การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอนให้ ครบถ้ วน
และสอดคล้ องกับเกณฑ์ การประเมิน
- ควรพัฒนาระบบสารสนเทศ รายงานการประเมินตนเอง (sar)
ให้ มีการนาหลักฐานแบบอิเล็กทรอนิกส์ เข้ าสู่ ระบบจากหน่ วยงาน
ที่ดาเนินการจริง อย่ างครบถ้ วน เพือ่ ลดภาระงานของสานักงาน
การประกันคุณภาพการศึกษา และลดปริมาณการใช้ กระดาษ
- ควรปรับปรุงพัฒนาระบบเครือข่ ายภายใน ให้ มีเสถียรภาพ
สู งขึน้ และให้ บริการได้ อย่ างต่ อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๖ การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
ข้ อเสนอแนะ
- ควรพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาตาม
กระบวนการ PDCA อย่ างครบถ้ วน ให้ สามารถนาข้ อมูลมาใช้
ประโยชน์ ในการบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
อย่ างเป็ นรู ปธรรม
- ควรนาระบบสารสนเทศเข้ ามาช่ วยอานวยความสะดวกและ
ลดภาระงานการดาเนินงาน เพือ่ สร้ างทัศนคติที่ดใี ห้ กับผู้ปฏิบัติ
มาตรฐานที่ ๗ การฝึ กศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
สถาบันจัดการฝึกศึกษาวิชาทหาร และการเสริมสร้าง
ภาวะผูน้ าให้เพียงพอแก่นกั เรียนนายร้อยที่จะเป็นนายทหาร
สัญญาบัตรของกองทัพบก ที่มีค ุณลักษณะผูน้ าดี มีวินยั
รแ้ ู บบธรรมเนียมทางทหาร สามารถทาหน้าที่ในการปฏิบตั ิการ
ทางทหารระดับหมวดของหน่วยกาลังรบ อ ุทิศตนเพื่อเป็น
ทหารอาชีพ มีรา่ งกายและจิตใจที่เข้มแข็ง และสามารถฝึก
อบรมผูใ้ ต้บงั คับบัญชาได้ สถาบันมีการพัฒนาบ ุคลากรด้าน
วิชาทหารและภาวะผูน้ าที่มีค ุณภาพ และให้การสนับสนนุ
ทรัพยากรเพียงพอต่อการฝึกศึกษาวิชาทหาร
มาตรฐานที่ ๗ การฝึ กศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
มาตรฐานที่ ๗ การฝึ กศึกษาวิชาทหาร
และภาวะผู้นา
๒๐
๒๐
๗.๑ กระบวนการพัฒนา
การฝึ กศึกษาวิชาทหารและ
ภาวะผู้นา
๕
๕
-
๗.๒ บุคลากรทางการฝึ ก
ศึกษา และอบรมทางด้ าน
วิชาทหารมีคุณภาพ
๕
๕
-
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
มาตรฐานที่ ๗ การฝึ กศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
๗.๓ คุณภาพและ
ประสิ ทธิผลของ
การฝึ กศึกษาวิชา
ทหารและภาวะผู้นา
การ
ประเมิน
ตนเอง
๕
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๕ - ควรนากิจกรรมทุกกิจกรรม
ในหลักสู ตรเสริมสร้ างคุณลักษณะผู้นา
เช่ น ผลการอบรมวิชาครู ทหาร,
การทดสอบการยิงปื น, การทดสอบวิง่
(เป็ นหน่ วยระดับกองร้ อย) ระยะยาว
๕ ไมล์ และการฝึ กเดินทางไกลและ
พักแรม เป็ นต้ น เพิม่ เติมในเกณฑ์
การประเมินคุณลักษณะผู้นาของ นนร.
มาตรฐานที่ ๗ การฝึ กศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
๗.๔ ความพร้ อมในการ
สนับสนุนทรัพยากรการฝึ ก
ศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
๕
๕
-
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๗
๕
๕
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
มาตรฐานที่ ๗ การฝึ กศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
จุดแข็ง
- มีทรัพยากรสนับสนุนการฝึ กอย่ างเพียงพอ และมีความ
ทันสมัย เช่ น สนามฝึ กยิงปื นด้ วยแสงเลเซอร์ Range 3000 และ
มีการพัฒนานวัตกรรม จากสนามฝึ กทีม่ ีอยู่ ให้ มีขดี ความสามารถ
เพิม่ มากขึน้ เช่ น การทาเป้าพลิก เป้ าเคลือ่ นที่ เป็ นต้ น
จุดทีค่ วรพัฒนา
- ควรให้ นนร. ทุกนายได้ มีโอกาสใช้ ทรัพยากรสนับสนุนการฝึ ก
เช่ น นนร. ที่เป็ นนักกีฬา เป็ นต้ น
มาตรฐานที่ ๗ การฝึ กศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
ข้ อเสนอแนะ
- ควรจัดทาสรุ ปกิจกรรมทั้งหมดของหลักสู ตร เสริมสร้ าง
คุณลักษณะผู้นา และนาไปประเมินผล เป็ นรายบุคคล
- การประเมินคุณลักษณะผู้นาของ นนร. อาจดาเนินการ
ในทุกกิจกรรมเมื่อจบการปฏิบัติ
- การเสริมสร้ างความภาคภูมิใจ ในการเป็ นทหาร อาจเชิญ
วิทยากร พลเรือน ที่มีความศรัทธา ในสถาบันทหารมาสร้ าง
แรงจูงใจ ให้ เห็นถึงคุณค่ า และความสาคัญของสถาบันทหาร
นอกเหนือจากวิทยากรทหาร
มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
สถาบันจัดทาระบบการประกันค ุณภาพภายใน และใช้เป็น
ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการศึกษา มีระบบการ
พัฒนาค ุณภาพ ระบบการติดตามตรวจสอบค ุณภาพ และ
การประเมินค ุณภาพภายใน เพื่อให้ได้ผลผลิตและผลลัพธ์
ของการจัดการศึกษาตามที่กาหนดไว้ มีการประเมินประสิทธิ ภาพ
ผลของการประกันค ุณภาพภายใน เพื่อนาไปสูก่ ารพัฒนาค ุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาอย่างต่อเนื่อง สามารถรองรับการ
ประกันค ุณภาพภายนอกได้
มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมิน
ของคณะ
กรรมการ
มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาและประกัน
คุณภาพภายใน
๙.๓๔
๙.๓๔
๘.๑ ระบบและกลไกการ
ประกันคุณภาพการศึกษา
ภายใน
๕
๕
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
-
มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐาน / ตัวบ่ งชี้
การ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมินของ
คณะ
กรรมการ
๘.๒ ผลประเมินการประกัน ๔.๓๔ ๔.๓๔
คุณภาพภายในรับรองโดย
หน่ วยงานต้ นสั งกัด
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานที่ ๘
๔.๖๗ ๔.๖๗
เหตุผล / ข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ดาเนินการในปี ๕๗
-
มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
จุดแข็ง
- ผู้บริหาร รร.จปร. ทุกระดับให้ ความสาคัญต่ อการดาเนินงาน
ประกันคุณภาพการศึ กษา บุคลากรมีส่วนร่ วมในการดาเนินการ
อย่ างทั่วถึงทุกระดับ และมีความรู้ ความเข้ าใจประสบการณ์ ด้าน
การประกันคุณภาพการศึ กษาอย่ างดี มีการพัฒนาบุ คลากรให้ มี
ความรู้ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาอย่ างต่ อเนื่อง
- รร.จปร. มี ท รั พ ยากร และสิ่ ง อุ ป กรณ์ รวมทั้ ง เทคโนโลยี
สารสนเทศในการสนับสนุนการดาเนินการ
- มี โ อกาสได้ รั บ การประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาจากหลาย
หน่ วยงาน จึงทาให้ มีการดาเนินการอย่ างต่ อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๘ การพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
จุดทีค่ วรพัฒนา
ข้ อเสนอแนะ
- ควรพิ จ ารณาการน าบทเรี ย นที่ ไ ด้ จ ากการวิ เ คราะห์ ก าร
ด าเนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาจั ด ท าเป็ นองค์ ค วามรู้
แนวทางปฏิบัตทิ ดี่ ใี นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รร.จปร.
เป็ นการบันทึกความสาเร็จและฐานข้ อมูลในการศึกษาค้ นคว้ า
เพือ่ พัฒนาประกันคุณภาพการศึกษาต่ อไป
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน รร.จปร. ประจาปี ๒๕๕๗
มาตรฐานที่
ผลการ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมินของ
คณะกรรมการ
๑. คุณภาพผู้สาเร็จการศึกษา
๔.๘๒
๔.๘๒
๒. การวิจยั และงานสร้ างสรรค์
๓.๑๒
๓.๑๒
๓. การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ
๕.๐๐
๕.๐๐
๔. การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร
๕. การบริหารจัดการและการพัฒนาสถาบัน
๕.๐๐
๕.๐๐
๔.๘๗
๔.๘๗
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน รร.จปร. ประจาปี ๒๕๕๗
มาตรฐานที่
ผลการ
ประเมิน
ตนเอง
ผลการ
ประเมินของ
คณะกรรมการ
๖. การบริหารหลักสู ตรและการเรียนการสอน
๔.๕๘
๔.๔๒
๗. การฝึ กศึกษาวิชาทหารและภาวะผู้นา
๕.๐๐
๕.๐๐
๘. การพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน
๔.๖๗
๔.๖๗
๔.๖๒
๔.๖๑
ผลการประเมินเฉลีย่