Transcript Slide 1

การอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ : การเตรียมความพร้อมครู
การจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน”
ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม
วันที่ ๑ – ๔ เมษายน ๒๕๕๕
ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพฯ
• แนะนาตัว:
ชื่อ ชื่อเล่น โรงเรียน/หน่ วยงาน
จังหวัด วิชาที่สอน
ความเป็ นวัยรุ่นที่มีอยู่
รู้จกั กัน
•
•
•
•
•
•
•
•
วิทยาศาสตร์
พละศึกษา
วิทยาศาสตร์
การขาย ธุรกิจ
การตลาด
เพศศึกษา
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
มารยาทและการสมาคม
ฝ่ ายบริหาร
ครูฝ่ายดูแล
คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
คณิตศาสตร์
ภาษาฝรังเศส
่
บริหารธุรกิจ ISO
การบัญชี
ครอบครัวศึกษา
ความเป็ นวัยรุน่
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ชอบความตื่นเต้น
ขีเ้ ล่น
ชอบออกกาลังกาย
ชอบค้นหา ชอบทดลอง
เรียนรู้อยู่เสมอ
ชอบความท้าทาย
ชอบความเปลี่ยนแปลง
รักสนุก
ชอบสิ่งใหม่ๆ
•
•
•
•
•
•
•
•
ชอบสิ่งสวยๆ งามๆ
ชอบท่องเที่ยว
แฟชัน่ การแต่งตัว
ชอบแกล้ง ชอบอา ชอบอวด
จริงใจ
รักษาความลับ
ชอบความแปลกใหม่
ชอบคุยโทรศัพท์
ความคาดหวัง
ความกังวลใจ
ความกังวลใจ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
กลัวตัวเองสอนไม่ได้
กลัวนาไปถ่ายทอดผิดๆ
กิจกรรมที่จะต้องนาไปทาต่อ
การนากิจกรรมที่ได้อบรมไปใช้
ไม่ร้จู ะเริ่มต้นอย่างไร
ความร่วมมือของครูในวิทยาลัย
ความร่วมมือของผูบ้ ริหาร
กลัวเด็กจะเข้าใจผิด
ไม่มีที่ปรึกษาหลังอบรมไปแล้ว
-
ขาดการติดต่อ ติดตาม
คิดถึงแฟน
พักคนเดียว หนักใจ
ครูที่วิทยาลัยจะเข้าใจเหมือน
คนที่มาอบรมไหม
ความคาดหวัง
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ความรู้ใหม่ๆ
• หวังผลกับเด็ก
การป้ องกัน
• สถานศึกษาให้ความร่วมมือ
เทคนิคการสอน
กี่แก้ปัญหาให้ผเู้ รียน
กิจกรรมใหม่ๆ เพื่อนาไปปรับใช้
ความเข้าใจเรื่องเพศที่ถกู ต้อง
ได้แลกเปลี่ยนกับเพื่อน
ความคิดที่หลากหลาย
ได้เพื่อนใหม่ๆ
ความคาดหวัง
•
•
•
•
•
•
•
เทคนิคการสอน การทากิจกรรม
อยากให้เด็กเข้าใจตนเอง
อยากให้เด็กมีความรับผิดชอบ
แลกเปลี่ยนความคิด แชร์ประสบการณ์
อยากได้เพื่อนใหม่
วิธีการปลูกฝังกระบวนการเรียนรู้
สอนให้นักเรียนสนุกสนาน มีความสุขในการเรียน
เช้า (๐๘.๓๐-๑๒๐๐)
วัน
บ่าย (๑๓.๐๐-๑๗.๓๐)
๑  ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์
 เพศวิถีและเพศศึกษารอบด้าน (เส้นชีวิต)
 กระบวนการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม (รู้ว่าเสี่ยงแต่)
 ศึกษาแผนการสอน “เพศศึกษา”
๒ • ข้อมูล ทัศนคติและความเชื่อเรื่องเพศและ
 ทัศนคติและวัฒนธรรมในเรื่องเพศของ
สังคมไทย (เลือกข้าง / ดูหนัง “ทางเลือก”)
 ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ของเยาวชน (ดูหนัง “ทางเลือก”)
 แบ่งกลุ่มศึกษาแผนการเรียนรู้
 รู้จกั กัน & ความคาดหวัง
 ความไว้วางใจ/ข้อตกลง
 วิเคราะห์สถานการณ์ของวัยรุน่ ในเรื่องเพศ
และการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา (สถานี รเู้ ขารูเ้ รา)
ผลกระทบต่อสุขภาวะเรื่องเพศ (ใครเอ่ย)
• ธรรมชาติวยั รุ่น/เข้าใจความเป็ นวัยรุ่น (ดูหนัง
“ทางเลือก)
๓  ตัวอย่างกิจกรรมสร้างการเรียนรูเ้ รื่องเอดส์ใน  ดูหนัง “หนึ่ งวันชีวิตบวก”
วิถีชีวิตทางเพศ (แลกน้า)
 ตัวอย่างกิจกรรมการให้ข้อมูลในเชิงวิเคราะห์
(ระดับความเสี่ยง QQR)
 นาเสนอการออกแบบแผนการเรียนรู้
เพศศึกษารอบด้าน (ตลาดนัด “การจัดการะบวน
การเรียนรู้เพศศึกษา”)
 สาธิตการจัดการเรียนรู้ กลุ่ม ๑ และ ๒
๔  สาธิตการจัดการเรียนรู้ กลุ่ม ๓ และ ๔
 อนุมาน
 ชี้แจงการหนุนเสริม/ติดตามโครงการ
 เดินทางกลับ (๑๕.๐๐ น.)
(๑๙.๐๐๒๐.๓๐)
ดูหนัง
กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผูจ้ ดั การเรียนรู้ เพศศึกษา
เพศวิถี
Sexuality
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development
๒. สัมพันธภาพ (Relationship)
๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
เยาวชน กระบวนการเรียนรู้ + ฝึ กปฏิบตั ิ
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Reflect
สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้
Apply
วางแผนประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์
เชือ่ มร้อยกับประสบการณ์ เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จาลอง” ในการเรียนรู้
• “การให้ผเ้ ู รียนได้บอกความคาดหวังในการเรียนรู้เป็ น
สิง่ สาคัญเพราะผูเ้ รียนไม่ได้เป็ นผูก้ าหนดวัตถุประสงค์
และออกแบบกิจกรรม จึงควรพูดคุย แนะนา
วัตถุประสงค์ กาหนดการขัน้ ตอนการดาเนินกิจกรรม
• เพือ่ เชือ่ มโยงในสิง่ ทีผ่ เ้ ู รียนคาดหวังทีจ่ ะได้เรียนรู้กบั
เนื้ อหาของการอบรม
• และสามารถเห็นบทบาทของตนเองทีจ่ ะมีส่วนร่วม
รับผิดชอบในการเรียนรู้”
๑. ตุก๊ ตาล้มลุก
ความรู้สึกในขณะเล่นเป็ นตุก๊ ตา
• กลัวล้ม
• กลัวเพื่อนไม่รบั
• มันใจ
่ / ไม่มนใจ
ั่
• กลัวล้มทับเพื่อน
เล่นได้เพราะ
• เชื่อใจ เชื่อมัน่
• เปิดรับ สร้างความคุ้นเคยกัน
• กล้าเล่น กล้าลอง
ความรู้สึกในขณะเล่นเป็ นคนผลัก
ตุก๊ ตา
• กลัวรับเพื่อนไม่ได้
• อยากแกล้งเพื่อน
• มันใจว่
่ าเพื่อนรับได้
• ไว้วางใจกัน
เล่นไม่ได้เพราะ
• ไม่ปลอดภัยกลัวเพื่อนรับไม่ไหว
• กังวลใจ
เปรียบเทียบ: ตุก๊ ตาล้มลุก - การพูดคุยเรือ่ งเพศ
เหมือน
- การพูดคุยต้องมันใจ
่
- ความกล้าสื่อสาร
ต่าง
กติกาในการพูดคุย “เรื่องเพศ” เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
การรักษาความลับ
กล้าเปิดเผยข้อมูล, กล้าพูดเรือ่ งเพศ
ไว้ใจ
พูดเมื่อพร้อม, ให้เกียรติซึ่งกันและกัน
สื่อสารตรงๆ
ไม่ล้อเลียน
กิจกรรม : สถานี “รู้เขารู้เรา”
๒. สถานี “รูเ้ ขารูเ้ รา”
คาถาม:
๑. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็ นห่วงคือ
๒. เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้แก่...และเยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจาก
ใคร หรือที่ใด
๓. สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถงุ ยาง คือ...
๔. เป้ าหมายของการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาใน
สถานศึกษา คือ
๕. ความท้าทายในการผลักดันให้โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้
เพศศึกษา คือ
แบ่งกลุ่มย่อย
• สรุปประเด็นสาคัญและตัง้
ข้อสังเกต
แหล่งข้อมูล : ศูนย์ขอ
้ มูลทางระบาดวิทยา สาน ักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ที่
จ ังหว ัด
จานวน
ที่
จ ังหว ัด
จานวน
1
กรุงเทพฯ
150,778
14
นครปฐม
5,944
2
ี งราย
เชย
23,950
15
ี า
นครราชสม
5,806
3
ี งใหม่
เชย
22,815
16
อุบลราชธานี
5,754
4
พะเยา
13,001
17
ลาพูน
5,377
5
ลาปาง
10,470
18
กาแพงเพชร
5,412
6
ระยอง
8,321
19
ราชบุร ี
5,324
7
อุดรธานี
8,141
20
ศรีสะเกษ
5,121
8
สมุทรปราการ
7,497
21
สงขลา
5,041
9
ปทุมธานี
6,713
22
ศรีธรรมราช
5,022
10
ขอนแก่น
6,431
23
สุพรรณบุร ี
4,917
11
ชลบุร ี
6,390
24
เพชรบูรณ์
4,906
12
นนทบุร ี
6,298
25
นครสวรรค์
4,911
13
จ ันทบุร ี
6,055
26
อยุธยา
4,862
แหล่งข้อมูล : ศูนย์ขอ
้ มูลทางระบาดวิทยา สาน ักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ที่
จ ังหว ัด
จานวน
ที่
จ ังหว ัด
จานวน
27
บุรรี ัมย์
4,679
40
แพร่
3,507
28
ร้อยเอ็ด
4,667
41
ลพบุร ี
3,430
29
เพชรบุร ี
4,570
42
3,418
30
กาญจนบุร ี
4,364
43
ฉะเชงิ เทรา
ั มิ
ชยภู
31
ิ ธุ ์
กาฬสน
4,284
44
น่าน
3,359
32
สุราษฎร์ธานี
4,260
45
ปราจีนบุร ี
3,342
33
ประจวบคีรฯี
4,136
46
ระนอง
3,341
34
ตร ัง
4,069
47
สมุทรสาคร
3,188
35
สุรน
ิ ทร์
3,957
48
มหาสารคาม
2,943
36
ภูเก็ต
3,896
49
สระบุร ี
2,922
37
หนองคาย
3,814
50
สุโขท ัย
2,816
38
ตราด
3,652
51
เลย
2,756
39
พิษณุ โลก
3,566
52
พิจต
ิ ร
2,568
3,385
แหล่งข้อมูล : ศูนย์ขอ
้ มูลทางระบาดวิทยา สาน ักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ที่
66จ ังหว ัด
จานวน
ที่
จ ังหว ัด
จานวน
53
ปัตตานี
2,373
66
กระบี่
1,693
54
นราธิวาส
2,319
67
่ งสอน
แม่ฮอ
1,689
55
สระแก้ว
2,084
68
สมุทรสงคราม
1,523
56
นครพนม
2,036
69
มุกดาหาร
1,330
57
พ ัทลุง
2,014
70
ยะลา
1,325
58
อานาจเจริญ
2,011
71
อ่างทอง
1,319
59
อุท ัยธานี
1,986
72
ยโสธร
1,264
60
อุตรดิตถ์
1,939
73
สงิ ห์บร
ุ ี
1,249
61
ชุมพร
1,865
74
พ ังงา
1,155
62
หนองบ ัวลาภู
1,860
75
884
63
ตาก
1,859
76
สตูล
ั
ชยนาท
64
สกลนคร
1,820
77
บึงกาฬ
-
65
นครนายก
1,704
630
แหล่งข้อมูล : ศูนย์ขอ
้ มูลทางระบาดวิทยา สาน ักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
สิ่งที่ได้เรียนรู้/ประโยชน์ จากกิจกรรม “สถานี ร้เู ขา รู้เรา”
• รูว้ ่าวัยรุน่ เป็ นอย่างไร สถานการณ์ของวัยรุน่ ตอนนี้
• รูว้ ่าผูใ้ หญ่กาลังคิดอะไร และอยากให้เกิดอะไร
• เห็นแนวทางของการที่จะไปใช้ทาอะไรต่อไปในสถานศึกษา
เพศศึกษารอบด้าน
ความเสี่ยง
ท้อง
เอดส์
การหลีกเลี่ยง
เพศสัมพันธ์
• ถุงยาง
• เพศสัมพันธ์ที่
ปลอดภัย
•
•
•
•
• รูจ้ กั อารมณ์ตนเอง +
การจัดการ
• ทักษะการประเมิน
สถานการณ์/การสื่อสาร
• ความสัมพันธ์และการ
แสดงออก
• ความรูส้ ึกหญิงชาย
• ความรับผิดชอบ
สังคมพูดเรื่องนี้ ไม่ได้
วิถีชีวิตวัยรุน่
•มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
อายุน้อยน้ อยลง
•เพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน
•เพศสัมพันธ์แบบแปลก
•เพศสัมพันธ์ของดารา
ปัจจัยเสีย่ ง:
เมา,ไม่ทนั ,ไม่พก,ไม่กล้าซื้อ
,ไม่ร้,ู ไม่ตงั ้ ใจมี,เพราะรัก
ปัจจัยเสริม:
•สอนให้เขาได้มีการรู้จกั คิดวิเคราะห์
•ยา้ เตือน บูรณาการในรายวิชาอื่น
•ทาให้เขารู้สึกรักตนเอง
•เรียนรู้ผา่ นคลิป อินเตอร์เน็ต คนรอบข้าง
ความท้าทายของการ
จัดการเรียนรู้เพศศึกษา
ชุมชนช่วยด้วย
ห้องเรียน
เข้าใจ
ิ
เนื้ อหา/วธีการน่ าสนใจ
เป็ นทีป่ รึกษา
ทิศทางเพศศึกษาใน
สถานศึกษา
คาตอบอยู่ที ่ ... ?
now! อทา
เราทุกAct
คน..ลงมื
ระดมคาตอบใน ๖ สถานี
จับกลุ่มวิเคราะห์
การ
นาไปใช้
กับการ
เป็ น
ผูจ้ ดั การ
เรียนรู้
เพศศึกษา
Do/Experience
ทากิจกรรม/
มีประสบการณ์ร่วม
Reflect
Apply
สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้
ประยุกต์ใช้
สังเคราะห์
ประเด็น
สาคัญและ
ข้อสังเกต
Analyze/Synthesize
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป
คาถามชวนคิดในแต่ละสถานี
กระบวนการเรียนรู้ผา่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
กิจกรรม : เส้นชีวิต
เมื่อพูดถึง “เพศ”
คุณนึ กถึง...
เมื่อพูดถึงเพศ นึ กถึง...
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
หญิง ชาย เพศทางเลือก
ความแตกต่าง
ความรัก
เพศสัมพันธ์ IIII
ระบบสืบพันธุ์
การดูแลอวัยวะเพศ
บทบาท หน้ าที่ ของแต่ละเพศในสังคม
การเจริญเติบโต
ความไม่เท่าเทียมกันของชาย หญิง
ฮอร์โมน
สัมพันธภาพ
การสอนวิชาเพศศึกษา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับเรื่องเพศ
ความรู้สึกทางเพศ
ความคาดหวัง
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนี ยม ศาสนา
สังคม
ข้อตกลง เงื่อนไข กติกา
ฐานะทางสังคม
ท้อง/สุขภาวะทางเพศ
เป็ นกระแส/แฟชัน่
อุปสรรคในการเรียน
การล่าแต้ม/แข่งขัน/ค่านิยมที่ผิดๆ
วิถีชีวิต
เรื่องเพศ > เพศสัมพันธ์
จับคู่
• หยิบบัตรคาคนละ ๑ บัตร
• คุยกันว่า “บัตรคาเรื่องเพศที่ได้รบั เกิดขึน้ ในช่วง
วัยใด”
• หาข้อตกลงร่วมกัน แล้วนาไปติดที่ช่วงวัยนัน้ ๆ
เส้นชีวิต
•
•
•
•
•
•
กลุ่ม ๑
กลุ่ม ๒
กลุ่ม ๓
กลุ่ม ๔
กลุ่ม ๕
กลุ่ม ๖
วัยเด็ก ๐-๙ ปี
วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี
วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ ปี
วัยทางาน ๓๐-๔๕ ปี
วัยผูใ้ หญ่ ๔๖–๖๔ ปี
วัยสูงอายุ ๖๕ ปี ขึน้ ไป
บัตรคาทีไ่ ด้รบั เป็ น
เหตุการณ์ ทีเ่ กิดขึ้น
ในช่วงวัยใด
แบ่งกลุ่ม
• ช่วยกัน “พิจารณาบัตรคาเรื่องเพศที่เกี่ยวข้องกับ
ช่วงวัยนัน้ ๆ” และ ถ้า “ไม่ใช่ หรือไม่แน่ ใจ” ให้ติด
บัตรคานัน้ “แยก” ออกมาจากกลุ่ม พร้อมเหตุผล
• “เขียนเพิ่มเติมเรื่องเพศ” ที่เกิดกับคนในช่วงวัยนัน้ ๆ
ในกระดาษสีขาว ก่อนนาไปติดไว้ที่กลุ่ม
• แบ่งกลุ่มย่อย ๖ กลุ่ม ร่วมกันพิจารณาบัตรคาว่าใช่ หรือไม่ใช่
ในช่วงวัยนัน้ ๆ (๕ นาที)
• เขียนเรือ่ งเพศที่เกิดขึน้ ในวัยนัน้ ๆ เพิ่มเติม
๑.เปรียบเทียบความเหมือน / ต่างกันของหญิงชายใน
แต่ละช่วงวัย อะไรทาให้ไม่เหมือนกัน
๒.หากคนในช่วงวัยนัน้ ทาพฤติกรรมที่ไม่เป็ นไปตาม
ความคาดหวัง หรือตามคนส่วนใหญ่จะมีผลอย่างไร
๓.มีกลุ่มคนใดหรือไม่ที่เราละเลย ไม่ได้พดู ถึงวิถีชีวิต
ทางเพศของเขาเลย เขามีอะไรที่แตกต่างจากวิถีทาง
เพศของคนส่วนใหญ่อย่างไร
สิ่งเรียนรู้ / ข้อสังเกตต่อเรือ่ งเพศ
•
•
•
•
วัยรุ่นจะมีเรื่องเพศมาเกี่ยวข้องเยอะ
เกี่ยวข้องทุกช่วงวัย เกิดจนตาย
ทาให้เกิดปัญหาขึน้ ได้
เรื่องเพศไม่ได้มีแต่แง่ลบ
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม “เส้นชีวิต”
• เรื่องเพศเกี่ยวข้อง เรียนรู้ และเป็ นไปตาม
พัฒนาการของแต่ละช่วงวัย เกิด – ตาย
• ความต้องการทางเพศเป็ นไปตาม
พัฒนาการ
• พฤติกรรมทางเพศของแต่ละวัยแตกต่างกัน
• เพศวิถีไม่ใช่แค่เรื่องเพศสัมพันธ์
สิ่งที่ให้นักเรียนได้เรียนรู.้ ..
เรื่องทักษะการใช้ชีวิต
การบริโภคสื่อ
การอยู่ร่วมกับสังคม
พัฒนาการตามวัย
ประเพณี วัฒนธรรม
ความต้องการ (ร่างกาย และ จิตใจ)
กฎหมายที่เกี่ยวกับล่วงละเมิดทาง
เพศ
• การศึกษา
• การดูแลรักษาตัวเอง
•
•
•
•
•
•
•
ต้องได้แน่ แน่
• การคุมกาเนิด อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม อย่างรอบด้าน
• พัฒนาการของร่างกาย
• การเรียนอย่างคิด วิเคราะห์
แยกแยะเป็ น โดยอาศัย
ประสบการณ์ ความรู้
• เรือ่ งเพศคือส่วนหนึ่ งของวิถีชีวิตตัง้ แต่เกิดจนตายและมี
พัฒนาการของแต่ละช่วงวัย (ธรรมชาติ)
• “เรือ่ งเพศ” มีความหมายมากกว่า “เพศสัมพันธ์” แต่
เพศสัมพันธ์ เป็ นส่วนหนึ่ งของเรือ่ งเพศ
• สังคม/วัฒนธรรมมีส่วนในการกาหนดบทบาท ความ
คาดหวัง ในเรือ่ งเพศของ คนในแต่ละช่วงวัย และแต่ละ
เพศ
• เป็ นเรือ่ งสาคัญที่จะต้องจัดการเรียนรูเ้ รือ่ งเพศ ซึ่งเป็ นการ
เรียนรูต้ ลอดชีวิต
Sexuality เพศวิถี
• ค่านิยม บรรทัดฐานและระบบวิธีคิด วิธีปฏิบตั ิ ที่เกี่ยวกับ
ความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิด
เกี่ยวกับคู่รกั คู่ชีวิตในอุดมคติ ซึ่งมิใช่พฤติกรรมตาม
ธรรมชาติ แต่เป็ นการสร้างความหมายทางสังคม
• เพศวิถีจึงสัมพันธ์กบั มิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมที่กาหนดและสร้างความหมายให้แก่เรือ่ งเพศ
ในทุกแง่มมุ
• เพศวิถีจึงเป็ นส่วนหนึ่ งของวิถีชีวิต และมีความเชื่อมโยง
กับ “ภาวะความเป็ นหญิง หรือชายของผูค้ นตามที่สงั คม
คาดหวัง” หรือที่เรียกกันสัน้ ๆ ว่า “เพศสภาวะ” (Gender)
คุณสมบัติของครูที่จะสอน
•
•
•
•
•
กล้าสอน
จริงใจ
อบอุ่น
ให้โอกาส
รับฟัง
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)
สัมพันธภาพ (Relationship)
ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา”, กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
๑.พัฒนาการของมนุษย์
๑) สรี ระร่ างกายทีเ่ กีย่ วกับการสืบพันธ์ ุ
๒) การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้ าสู่ วัยร่ ุน
๓) การสืบพันธ์ ุ
๔) ภาพลักษณ์ ต่อร่ างกาย
๕) รสนิยมทางเพศ
๖) ตัวตนทางเพศ
๒.สัมพันธภาพ
๑) ครอบครัว
๒) มิตรภาพ
๓) ความรัก
๔) การคบกันและการเรี ยนร้ ูซึ่งกันและกัน
๕) การแต่ งงานและการใช้ ชีวิตร่ วมกัน
๖) การเลี้ยงดูลกู
๓.ทักษะส่ วนบุคคล
๑) การให้ คณ
ุ ค่ า
๒) การตัดสินใจ
๓) การสื่อสาร
๔) การยืนยันสิ่งทีต่ ้ องการ
๕) การต่ อรอง
๖) การหาความช่ วยเหลือ
๔.พฤติกรรมทางเพศ
๑) เพศวิถตี ลอดช่ วงชีวิต
๒) การช่ วยตนเอง
๓) การแสดงออกในเรื่องพฤติกรรมทางเพศต่ อกัน
๔) การละเว้ นเพศสัมพันธ์
๕) การตอบสนองทางเพศของมนุษย์
๖) จินตนาการทางเพศ
๗) การเสื่อมสภาพทางเพศ
๕.สุขภาพทางเพศ
๑) อนามัยเจริ ญพันธ์ ุ
๒) การคมุ กาเนิด
๓) การตั้งท้ อง และการดแู ลระหว่ างตั้งท้ อง
๔) การทาแท้ ง
๕) โรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์
๖) เอชไอวี และเอดส์
๗) การล่ วงละเมิด ความรุนแรง การล่ วงเกินทางเพศ
๖.สังคมและวัฒนธรรม
๑) เพศและสังคม
๒) บทบาททางเพศ
๓) เพศและกฎหมาย
๔) เพศและศาสนา
๕) ความหลากหลาย
๖) เพศและสื่อ
๗) เพศและศิลปะ
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)
สัมพันธภาพ (Relationship)
ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา”, กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
คุณสมบัติของครูเพศศึกษา
•
•
•
•
•
•
เปิดใจกว้าง
ยอมรับความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
บุคลิก ท่าทาง การพูด/สื่อสารที่เข้าใจและเป็ นที่ยอมรับ
มีความรูใ้ หม่ๆ ทันสถานการณ์
เข้าใจเรือ่ งความหลากหลายทางเพศว่าเป็ นเรือ่ งปกติ
การเป็ นแบบอย่างที่ดี ?
รู้ว่าเสีย่ ง แต่...
ทุกครัง้
๑๐๐%
บ่อยครัง้
๘๐%
บางครัง้
๕๐%
น้ อยครัง้ /
ไม่เคยเลย
ทุกครัง้
๑๐๐%
บ่อยครัง้
๘๐%
คุณทาพฤติกรรมเหล่านี้ ได้แค่ไหน ?
บางครัง้
๕๐%
น้ อยครัง้ /
ไม่เคยเลย
๑. ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครัง้ ที่นัง่ รถ หรือใส่
หมวกกันน็อคทุกครังที
้ ่ขบั ขี่มอเตอร์ไซด์
๒. ฉันไม่ดื่มเหล้าเบียร์ / เครื่องดื่ม ที่มี
แอลกอฮอล์ทุกชนิด
•
•
•
•
•
•
คาดเข็มขัด/ สวมหมวกฯ
กลัวอุบตั ิ เหตุ
เคยชิน
รถเตือน
กลัวแดด
รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
กลัวตารวจ
•
•
•
•
•
•
•
ไปใกล้ ๆ
อยากแหกกฎ
ไม่มีจดุ ตรวจ
ไปทางลัด
ขับไม่เร็ว
มันใจในการขั
่
บ
อึดอัด
ไม่ดื่มเหล้าฯ
•
•
•
•
•
ดูแลสุขภาพ
ฉลองตามโอกาส
เข้าสังคม
เป็ นตัวอย่าง
เพื่อนชวน
•
•
•
•
•
ประหยัด
เพื่อสุขภาพ
มีกลุ่มเพื่อน
เข้าสังคม
ฝึ กฝนไม่ให้ถกู มอม
๑. การไม่คาดเข็มขัดนิรภัยทุกครัง้ ที่นัง่ รถ
หรือไม่ใส่หมวกกันน็อคทุกครัง้ ที่ขบั ขี่มอเตอร์
ไซด์ เสี่ยงต่อ...
“อุบตั ิ เหตุ เสียเงิน เสียชีวิต บาดเจ็บ พิการ เสียเวลา”
๒. การดื่มเหล้า เบียร์ และ แอลกอฮอร์ทกุ ชนิด
เสี่ยงต่อ ...
“เสียสุขภาพ เสียทรัพย์ เสียภาพลักษณ์ เสียเพื่อน
เสียสติ”
“การห้ามวัยรุน่ ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน”
มีผลต่อวัยรุน่ อย่างไร...
เชื่อ/ทาตาม
๑๐๐%
ส่วนใหญ่ทา
ได้ ๘๐%
ครึ่ง-ครึง่
๕๐%
ทาได้น้อย/
ห้ามไม่ได้เลย
ทาได้
- ให้ความรู้ได้
- ใช้วิธีที่หลากหลายในการปรับ
พฤติกรรม
ทาไม่ได้
- เด็กมีเพศสัมพันธ์มาก่อนแล้ว
- เข้าถึงสื่อได้ง่ายและหลากหลาย
การปรับพฤติกรรมที่ผา่ นมา
•
•
•
•
•
•
•
•
ให้คาปรึกษา
ให้ความรู้อย่างต่อเนื่ อง
ร่วมมือหลายๆฝ่ าย
ให้ความสาคัญ
แสวงหาความช่วยเหลือ
อย่าท้อ
ใช้เทคนิคหลากหลาย
นโยบายที่ต่อเนื่ อง
ประเด็นแลกเปลี่ยน/แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
• ในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ให้เด็กผูห้ ญิงกินยาคุม
ตลอด?? แจกถุงยางฯ...
• การให้ความรู้ ทาให้เด็กมีการชะลอการมีเพศสัมพันธ์
• ในกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย ปล่อยให้คนมีเพศสัมพันธ์
อย่างเสรี แต่มีอตั ราการตัง้ ครรภ์น้อยมาก??
• ถ้าได้รปู้ ัญหาของเด็กอย่างแท้จริง ก็จะสามารถแก้ปัญหา
ได้??
จะทาอย่างไรให้เด็กใช้ถงุ ยางเมื่อมีเพศสัมพันธ์
• รณรงค์ในสื่อกระแสหลัก เช่น ยืดอกพกถุง
• การทางานกับพ่อแม่ ผูป้ กครองและสังคม ? เรือ่ งทัศนคติ
ทางเพศที่เอื้อต่อการให้ลกู กล้ามาปรึกษา
• ครูชี้ให้เด็กนักเรียนเห็นผลดี ประโยชน์ และผลเสียที่
ตามมาจากการมีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน
• จะเตรียมครูในโรงเรียนเรือ่ งปัญหาและแนวทางในการ
จัดการปัญหาเรื่องเพศของเยาวชน
• ทาให้เป็ นวาระแห่งชาติ หรือกาหนดนโยบายผลักดัน
เพศศึกษาในหลักสูตรสถานศึกษา
• การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ส่งผลต่อพฤติกรรมของคนใน
สังคม ชุมชน
กระบวนการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
สังคม
การทาพฤติกรรมใหม่อย่างต่อเนื อ่ ง
การลองทาพฤติกรรมใหม่
เกิดแรงจูงใจทีจ่ ะทา
บุคคล
ปรับความคิด/มีทกั ษะ
เกิดความรู/้ ความตระหนัก
ไม่ตระหนัก
การปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
 ความรู้ และข้อมูลเป็ นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่ จะทาให้เปลี่ยน
พฤติกรรม
 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็ นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความ
พยายามต่อเนื่ อง
 การให้ข้อมูลที่ ทาให้เกิดความกลัวมีข้อจากัดในการกระตุ้นให้เปลี่ยน
พฤติกรรม
 พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม
 พฤติกรรมบุคคลเป็ นผลจากค่านิยมและการให้คณ
ุ ค่าในสังคม
 บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึน
้ ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทาได้
 การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบต
ั ิ ของชุมชนและ
สภาพแวดล้อมด้วย
รู้ว่าเสีย่ ง...แต่
โจทย์:
• คนที่อยู่ในบทบาททางานเปลี่ยนพฤติกรรม มัก
คิดว่า “พฤติกรรม” เปลี่ยนง่าย
• คนมักเลือกใช้วิธีการให้ความรู้เป็ นหลัก แล้วหวัง
ว่า คนจะเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
• คนคิดว่า “คนอื่น” จะให้ความสาคัญในเรื่อง
ต่างๆ (ความเสี่ยงในชีวิต) เหมือนตัวเอง
• เหตุผลของ “คนนอก” และ “คนใน” ต่างกัน
“ข้ออ้าง/ข้อแก้ตวั ”
“เหตุผล”
“...ไม่ว่าจะชอบ หรือไม่ชอบการกระทาใดก็ตาม ความ
จาเป็ นประการแรกในอันที่จะควบคุมพฤติกรรมใด
ต้องเริ่มต้นที่เข้าใจพฤติกรรมนัน้ ในทุกแง่มมุ
เสียก่อน...”
ศ.นิธิ เอียวศรีวงศ์
มองและเข้าใจตัวเอง เพือ่ เข้าใจคนอืน่
ได้เรียนรูอ้ ะไรจากกิจกรรม
เปิดโอกาสให้เด็ก
ให้ร้จู กั การป้ องกัน
เตรียมความพร้อม
พูดคุย สร้างความเข้าใจ
รู้จกั แผนการเรียนรู้
คู่มือ “การจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษา”
(แผ่นกิจกรรม ระบุ แผน)
ให้แต่ละคนอ่านแผนเพศศึกษาที่ได้รบั มอบหมาย
วิเคราะห์ในประเด็นต่อไปนี้ (หน้ า 14) (30 นาที)
ก) เนื้ อหาในแผน.... สอดคล้องกับสถานการณ์ของเยาวชนในปัจจุบนั หรือไม่
อย่างไร ?
ข) ถ้านักศึกษาได้เรียนแผนนี้ นักศึกษาจะได้เรียนรู้อะไรบ้าง (ความรู้/ทัศนะ/
ทักษะ) ?
ค) ท่านมีข้อสังเกตว่า แผนที่อ่านใช้ทฤษฎีหรือวิธีการสร้างการเรียนรู้แบบใด ?
ง) ท่านสามารถนาแผนนี้ ไปใช้ได้หรือไม่ อย่างไร ?
จ) หากท่านจะใช้แผนนี้ สิ่งที่ท่านคิดว่าจะช่วยให้ท่านใช้แผนนี้ ในการจัดการ
เรียนการสอนได้อย่างมันใจ
่ คือ......
(แผ่นกิจกรรม ระบุ แผน)
ให้แต่ละคนอ่านแผนเพศศึกษาที่ได้รบั มอบหมาย วิเคราะห์ใน
ประเด็นต่อไปนี้
ก) เนื้ อหาในแผน.... สอดคล้องกับสถานการณ์ ของเยาวชนในปัจจุบนั หรือไม่ อย่างไร ?
ข) ถ้านักศึกษาได้เรียนแผนนี้ นักศึกษาจะได้เรียนรู้อะไรบ้าง (ความรู้/ทัศนะ/ทักษะ) ?
ค) ท่านมีข้อสังเกตว่า แผนที่อ่านใช้ทฤษฎีหรือวิธีการสร้างการเรียนรู้แบบใด ?
ง) ท่านสามารถนาแผนนี้ ไปใช้ได้หรือไม่ อย่างไร ?
จ) หากท่านจะใช้แผนนี้ สิ่งที่ท่านคิดว่าจะช่วยให้ท่านใช้แผนนี้ ในการจัดการเรียนการสอนได้
อย่างมั ่นใจ คือ......
• รวมกลุ่ม แลกเปลี่ยนพูดคุยกัน (10 นาที)
• นาเสนอ ภาพรวม ของแผนที่ได้คยุ กัน ?
กลุ่มละ 5 นาที)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ก้าวแรก
ร่างกายของฉัน
ตัวฉันเอง
คุณค่าในตัวฉัน
ใจเขาใจเรา
เธอคิดฉันคิด
แลกน้า
รู้ไหมเอ่ย
ซองคาถาม
ขอซื้อความปลอดภัย
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
QQR
เพศสั มพันธ์ ในช่ วงวัยรุ่น
สารพัดโอกาสเสี่ ยง
ต้ นกับอ้ อ
เมือ่ แฟนมีกกิ๊ 1
เมือ่ แฟนมีกกิ๊ 2
รู้เท่ าทันสื่ อ
นักข่ าวหัวเห็ด
ช่ วยเมย์ ด้วย
การวางเป้ าหมายในชีวติ
1.
2.
3.
4.
5.
รู้จกั ตนเอง
รู้จกั คนอื่น
แสวงหาข้อมูล
ฝึ กฝนตนเอง
รู้เท่าทัน
เมื่อแฟนมีกิ๊ก ๒ อ.จี
สารพัดโอกาสเสี่ยง อ.กุก๊
ใจเขาใจเรา อ.บาส
รู้เท่าทันสื่อ อ.แตงโม
รู้ไหมเอ่ย อ.เป๋า
ร่างกายของฉัน อ.อ้อย
คุณค่าในตัวฉัน อ.ยุ้ย
เธอคิดฉันคิด อ.ผ่อง
การวางเป้ าหมายในชีวิต อ.ป้ อม
ขอซื้อความปลอดภัย อ.โด้
ช่วยเมย์ด้วย อ.โช อ.หนู
เมื่อแฟนมีกิ๊ก ๑ อ.ยุ
ตัวฉันเอง อ.แอ๋ม
แลกน้า อ.ส้ม
เพศสัมพันธ์ในช่วงวัยรุ่น อ.สัน อ.อร
ก้าวแรก อ.ยงยุทธ
ต้นกับอ้อ อ.อ๋อม
ซองคาถาม อ.โชค
นักข่าวหัวเห็ด อ.มัก
QQR อ.ณา
จับกลุ่ม: แลกเปลี่ยนพูดคุยกัน
คาบที่ ๑ ก้าวแรก
คาบที่ ๕ ใจเขาใจเรา
คาบที่ ๗ แลกน้า
คาบที่ ๑๗(๑) การวางเป้ าหมายในชีวิต
•
•
•
•
•
•
•
•
คาบที่ ๒ ร่างกายของฉัน
คาบที่ ๑๒ สารพัดโอกาสเสี่ยง
คาบที่ ๘ รู้ไหมเอ่ย
คาบที่ ๑๖(๑) รู้เท่าทัน
•
•
•
•
•
•
•
•
คาบที่ ๔ คุณค่าในตัวฉัน
คาบที่ ๖ เธอคิดฉันคิด
คาบที่ ๙(๒) ขอซื้อความปลอดภัย
คาบที่ ๑๔(๑) เมื่อแฟนมีกิ๊ก ๑
•
•
•
•
คาบที่ ๓ ตัวฉันเอง
คาบที่ ๙(๑) ซองคาถาม
คาบที่ ๑๓ ต้นกับอ้อ
คาบที่ ๑๖(๒) นักข่าวหัวเห็ด
คาบที่ ๑๐ QQR
คาบที่ ๑๕ เมือแฟนมีกิ๊ก ๒
คาบที่ ๑๗ ช่วยเมย์ด้วย
คาบที่ ๑๑ เพศสัมพันธ์ในช่วงวัยรุ่น
ข้อสังเกตต่อแผนการจัดการเรียนรู้วิชาเพศศึกษา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
สถานการณ์ต่างๆของวัยรุ่น เช่น เมื่อมีกิ๊ก เพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น เพศทางเลือก การใช้สื่อ ที่
สอดคล้องกัน และสอดคล้องกับสถานการณ์ในสถานศึกษา เป็ นการจาลองสถานการณ์
นาไปบูรณาการได้
ลักษณะเป็ นการเรียนรู้จากปฏิบตั ิ กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั
เนื้ อหาเป็ นการป้ องกัน ข้อมูล ข้อเท็จจริง
สอนให้ผ้เู รียนเข้าใจตนเอง รู้จกั ตนเอง
ฝึ กให้ผ้เู รียนคิดวิเคราะห์แยกแยะ รับฟัง ฝึ กใช้วิจารณญานให้เกิดความเท่าทัน
สอนได้ไปถึงความรับผิดชอบต่อผู้อื่น ชีวิตตนเองและสังคม
เรียนรู้ความเข้าใจที่ถกู ต้องต่อการติดเชื้อเอชไอวี ตัง้ แต่การประเมินโอกาสเสี่ยง การอยู่ร่วมกับผู้
ติดเชื้อ
การแสวงหาความช่วยเหลือ ทางออกเมื่อเกิดปัญหาด้วยกรณี ศึกษา
ปรับทัศนคติผ้เู รียน
การรู้เขา รู้เรา ความคาดหวังและการจัดการความขัดแย้ง ที่เกิดขึ้น เปิดใจ
เรียนรู้ความปลอดภัยจากการคิดก่อนตัดสินใจ
การจัดการเรียนรู้จะประสบผลสาเร็จได้ดีต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ าย
สะท้อนกระบวนการเรียนรู้ท้ายวัน
• นึ กย้อนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ทงั ้ วัน
รูส้ ึกอย่างไรกับการอบรมวันนี้
ข้อเสนอแนะต่อทีมงาน