Transcript Document

ระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์
(Digital Collection)
ระยะที่ 1
มหาวิทยาลัย/สถาบัน 24 แห่ ง
งบประมาณ 2545 การจัดซือ้ ครุ ภณ
ั ฑ์ : Sever ตัง้ ไว้ ท่ ี สกอ. และจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
: PC และ Scanner ครบชุด ส่ งให้ มหาวิทยาลัย 10 แห่ ง
Software
: iKnowledge (DCMS – Digital Collection Management
System)
งบประมาณ 2546  การจัดซือ้ ครุ ภัณฑ์ : PC และ Scanner ครบชุด ส่ งให้ มหาวิทยาลัย 14
แห่ ง
: แต่ งตัง้ คณะทางานเพื่อกาหนดแผนงานการดาเนินการ
โครงการประกอบด้ วยผู้แทนจากมหาวิทยาลัย/สถาบัน
จ านวน 27 สถาบั น (รวมผู้ แ ทนจากสถาบั น ราชภั ฎ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุ ม
คณะทางานได้ แบ่ งเป็ น 3 กลุ่มย่ อย คือ
- คณะทางานกลุ่มย่ อย จัดทาแผนการดาเนินงาน 5 ปี (2547 –
2551) รวมทัง้ กาหนดคุณลักษณะและจัดหาครุ ภัณฑ์ เพิ่มเติ มสาหรั บ
สถาบันราชภัฎ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุม
วัน รวมทัง้ กาหนดความต้ องการเพิ่มเติมสาหรับโปรแกรม iKnowledge
- คณะทางานกลุ่มย่ อยเพื่อกาหนดมาตรฐานการลงรายการ
ด้ วย Dublin Core Metadata
- คณะทางานบริหารฐานข้ อมูล
แผนการดาเนินงานพัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์
ตามโครงการพัฒนาเครือข่ ายห้ องสมุดในประเทศไทย (ThaiLis)
เป้าหมายการดาเนินงาน
1. ดาเนินการรวบรวมและจัดเก็บข้ อมูลในรู ปอิเล็กทรอนิกส์ สาหรั บ
มหาวิ ท ยาลั ย /สถาบั น สถาบั น ราชภัฎ สถาบั น เทคโนโลยี ร าช
มงคล สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน รวม 74 แห่ ง
2. ให้ บริการฐานข้ อมูลเอกสารฉบับเต็มในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้
เต็มรูปแบบของทุกมหาวิทยาลัย/สถาบัน
3. ส่ งเสริ มและพัฒนาระบบและการบริ การให้ มีความทันสมัยอย่ าง
ต่ อเนื่อง
แผนการดาเนินงาน
กิจกรรม
1.
รวบรวมและจั ด เก็ บ ข้ อมู ล ในรู ป
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
(สถาบันราชภัฎและสถาบันเทคโนโลยีราช
มงคลเริ่มดาเนินการ ปี พ.ศ.2548)
1.1 วิทยานิพนธ์ / ปริ ญญานิพนธ์ / งานวิจัย /
เอกสารวิชาการ
1.2 วารสารของมหาวิทยาลัย / สถาบัน
1.3 ข้ อมูลท้ องถิ่น / กฤตภาค
1.4 มีเดียออกดีมานด์ (Media on Demand)
1.5 หนังสือหายาก
1.6 เอกสารจดหมายเหตุ
2547 2548 2549 2550 2551
แผนการดาเนินงาน (ต่ อ)
กิจกรรม
2. พัฒนาระบบและจัดหาอุปกรณ์ เพิ่ม
เติมให้ กับมหาวิทยาลัย/สถาบัน
3. จัดหาระบบการจัดเก็บเอกสารในรู ป
แบบอิเล็กทรอนิกส์
4. เปิ ดบริการเอกสารฉบับเต็มในรู ป
แบบอิเล็กทรอนิกส์ ของทุก
มหาวิทยาลัย/สถาบัน
2547 2548 2549 2550 2551
การกาหนดมาตรฐานการลงรายการ Metadata
จานวน 16 elements
1.
2.
3.
4.
5.
Title = ชื่อเรื่ อง (compulsory element) – ชื่อของทรั พยากรสานิเทศAlternative
title (repeat) – ชื่อเรื่ องรองและชื่อเรื่ องอื่น ๆ (qualifier)
Creator = เจ้ าของงาน (compulsory element, repeat) Creater affiliation – ที่อยู่
(qualifier)
Subject and Keywords = หัวเรื่ องและคาสาคัญ (compulsory element, repeat)
ให้ ร ะบุ scheme
ด้ วย เช่ น เป็ นหั วเรื่ อง LCSH หรื อ MESH หรื อ อื่ น ๆ
(qualifier)
Description = ลักษณะ – ระบุรายละเอียดของทรั พยากร อาจหมายถึง
บทคัดย่ อ (Abstract) หรื อ สารบัญ (Table of contents) (qualifier)
Publisher = สานักพิมพ์ (repeat) – หน่ วยงานที่ผลิตสารนิเทศ ลงรายละเอี ยด
จากหน่ วยงานใหญ่ ไปหน่ วยงานย่ อย เช่ น มหาวิทยาลัยนเรศวร, ภาควิชาภาษา
6.
Contributor = ผู้ร่วมงาน (repeat) ไม่ ใช่ ผ้ ูแต่ งร่ วม กรณีผ้ ูแต่ งร่ วมให้ ลงใน
Creator
7. Date = ปี (compulsory element, repeat) – ปี ที่เกี่ยวข้ องกับเหตุการณ์ ในวงจร
ของทรั พยากร ลงรายการโดยใช้ มาตรฐาน ISO 8601 คือ YYYY-MM-DD เช่ น
2546-08-17 หรื อ 2546 หรื อ 1998-02 เป็ น
ต้ น อาจระบุ Date.created,
Date.modified หรื อ Date.issued โดยไม่ จาเป็ นต้ องระบุทัง้ หมด (qualifier)
8. Type = ประเภท (compulsory element) ชนิดของเนือ้ หาทรั พยากร เช่ น
วิทยานิพนธ์ , วิจัย, software, text เป็ นต้ น
9. Format = รู ปแบบ (compulsory element) – อธิบายลักษณะรู ปร่ างของ
ทรั พยากร โดยใช้ ข้อกาหนดของ IMT (Internet Media Type) เช่ น
application/pdf, text/html, image/gif เป็ นต้ น
10. Identifier = รหัส (repeat) – การอ้ างอิงทรั พยากรสารนิเทศในรู ปแบบปั จจุบัน
เช่ น ระบุ URL, URI, ISBN, ISSN
11. Source = ต้ นฉบับ – การอ้ างอิงถึงที่มาของทรั พยากรสารนิเทศ
12. Language = ภาษา – เสนอแนะให้ ใช้ ตามมาตรฐาน RFC 3066 เช่ น en หรื อ
eng กรณีเป็ นภาษาอังกฤษ เป็ นต้ น
13. Relation = เรื่ องที่เกี่ยวข้ อง – การอ้ างถึงทรั พยากรสารนิเทศที่เกี่ ยวข้ อง อาจ
ระบุเรื่ องทีเกี่ยวข้ องอื่น ๆ ได้ เช่ น Relation.is VersionOf, Relation.Replaces
เป็ นต้ น (qualifier)
14. Coverage = ขอบเขต – ระยะเวลาหรื อขอบเขตเนือ้ หาของทรั พยากร
15. Rights = สิทธิ (compulsory element) – ระบุเครื่ องหมาย  และตามด้ วยชื่อ
หน่ วยงานหรื อเจ้ าของลิขสิทธิ์
16. Thesis = ชื่อปริญญา
ระดับ Thesis Degree Name
Thesis Degree Level
Thesis Degree Discipline
Thesis Degree Grantor
หมายเหตุ
1. compulsory element หมายถึง เป็ นหน่ วยข้ อมูลย่ อย หรื อ element
ที่กาหนดให้ ต้องลงรายการ
2. repeat หมายถึง สามารถลงรายการซา้ ได้
3. qualifier หมายถึง ตัวขยายของ Dublin Core
***element หรื อ หน่ วยข้ อมูลย่ อยอื่น ๆ ที่ไม่ ได้ ระบุ ตามหมาย
เหตุข้างต้ น หมายถึง เป็ น element ที่ไม่ บังคับให้ ลงรายการ และไม่
สามารถลงรายการซา้ ได้ ตามข้ อตกลงในที่ประชุม***
ข้ อเสนอแนะเรื่องการจัดเก็บ
และเผยแพร่ เอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์
1. ควรจะมีการประชุมให้ เป็ นแนวทางว่ า
ควรจะจัดเก็บ
เอกสารประเภทใดบ้ างก่ อนหลัง เช่ น ควรทาวิทยานิพนธ์
วิจัย หนังสือหายากเป็ นหลัก และมีเอกสารประเภทอื่นๆ
รองลงไปเพื่อให้ ในเครื อข่ ายมีเอกสารในแนวทางเดียวกั น
ไม่ เปะปะกันเกินไป
2.
ควรมี ก ารแลกเปลี่ ย นความรู้ ในการจัด ท าเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ ของแต่ ละแห่ ง เพื่อจะได้ รับความรู้ และ
แลกเปลี่ยนแนวทางในการปฏิบัตงิ านซึ่งกันและกัน
3. เอกสารที่จัดเก็บในรู ปอิเล็กทรอนิกส์ ควรมีการปรึกษากันในเรื่ อง
ลิขสิทธิ์อย่ างถ่ องแท้ เพราะแต่ ละแห่ งก็จัดเก็บตามความสามารถ
แต่ อาจยังไม่ ได้ คานึกถึงเรื่ องลิขสิทธิ์ อาจมีการนานิตกิ รเพื่อช่ วยให้
แนวทางในด้ านลิขสิทธิ์ของข้ อมูลที่นามาจัดทา
4. ให้ กาหนดชนิดของ electronic files ให้ เหมือนกันทุกแห่ ง
5. ในการจัดเก็บและเผยแพร่ เอกสารในรู ปอิเล็กทรอนิกส์ ควรทาลาย
นา้ ด้ วยทุกระเบียนที่เป็ น Full Text
ถือว่ าเป็ นลิขสิทธิ์ของ
มหาวิทยาลัย/สถาบันนัน้ ๆ ที่เผยแพร่
6. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาควรให้ การสนับสนุ นด้ าน
งบประมาณ และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ในการดาเนิ นการจัดทา
Digital Collection เพิ่มขึน้ ตลอดจนให้ การสนับสนุนงบประมาณใน
การจัดจ้ างบุคลากรชั่วคราวในการจัดเตรียมข้ อมูลและนาข้ อมูลเข้ า
7. น่ าจะมีกฎหมายในระดับชาติเพื่อให้ สามารถเผยแพร่ และใช้ ข้ อมูล
ร่ วมกันได้ เช่ น วิทยานิพนธ์ ของแต่ ละมหาวิทยาลัย
8. หากเป็ นนโยบายการจัดเก็บและเผยแพร่ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
สกอ.ควรด าเนิ น การก าหนดนโยบายด้ า นการเผยแพร่ เอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ บางประเภทที่จาเป็ นต้ องใช้ สืบค้ นร่ วมกั น
เช่ น
วิทยานิพนธ์ เป็ นต้ น
จากสกอ.โดยตรงและมอบหมายให้ ทุก
มหาวิทยาลัยดาเนินการ เพื่อช่ วยให้ มหาวิทยาลัยหลายๆ แห่ ง ที่
อาจประสบปั ญหาด้ านลิ ข สิ ท ธิ์ การเผยแพร่ ของมหาวิ ท ยาลั ย
สามารถดาเนินการต่ อไปได้ อย่ างรวดเร็วโดยไม่ จาเป็ นต้ องทาเรื่องขอ
อนุมัตกิ ารดาเนินการจากมหาวิทยาลัยอีก
9. ควรจัดตัง้ งบประมาณกลางเพื่อให้ ทุกหน่ วยงานได้ งบในการจัดทา
10.มีความร่ วมมือร่ วมกันอย่ างจริ งจังในทุกส่ วนทุกมหาวิทยาลัยในการ
จัดทา
11. มีการคุยกันในระดับบริหารมหาวิทยาลัยในเรื่ องลิขสิทธิ์ และการเผยแพร่
12. ขณะนีห้ ้ องสมุดไม่ ได้ รับความชัดเจนในการวางแผนการดาเนินงานในส่ วนที่
เป็ นเอกสารสิ่งพิมพ์ ประเภทอื่นๆ ที่ไม่ ใช่ หนังสือหรื อวิทยานิพนธ์ เนื่องจาก
ปั ญหาการกาหนดใช้ มาตรฐานการลงรายการสิ่งพิมพ์ คณะกรรมการควร
พิจารณาหาแนวทางแก้ ไข
13. ห้ องสมุดทุกแห่ งควรมีนโยบายการเผยแพร่ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้ ส ามารถ
ใช้ ได้ ทัง้ หมดร่ วมกัน
14. ขณะนีโ้ ปรแกรมไม่ สามารถเช็คสถิตผิ ้ ูเข้ าใช้ บริ การฐานข้ อมูล full text ได้
ทาให้ ไม่ แน่ ใจว่ ามีการใช้ มากน้ อยแค่ ไหน
15. เห็นควรให้ มีการเผยแพร่ ข้อมูลในระบบ Digital Collection เหมือนกันทุก
มหาวิทยาลัย เพื่อการแลกเปลี่ยนข้ อมูลและการใช้ ข้อมูลร่ วมกัน อันจะเกิด
ประโยชน์ ต่อนักศึกษาและการศึกษาวิจัยของทุกสถาบันที่ร่วมโครงการ
16. การสร้ างเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นภาระที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยทุ กแห่ งต้ อง
ดาเนินการอยู่แล้ ว ดังนัน้ ห้ องสมุดมหาวิทยาลัยเกือบทุกแห่ งต้ องมีแผนการ
ดาเนินงานอย่ างชัดเจน
เพื่อให้ การดาเนินงานเป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิผล
ThaiLIS ควรกาหนดกรอบหรื อทิศทางการดาเนินงานให้ ชัดเจน เพื่อที่
ห้ อ งสมุ ด มหาวิท ยาลั ย จะได้ น ากรอบหรื อ ทิศ ทางนี ไ้ ปบรรจุ ไ ว้ ใ นแผนการ
ดาเนินงาน
เนื่ องจากในปั จจุบันทุกองค์ การต้ องได้ รับการประเมิน
ประสิทธิผลองค์ การอย่ างเป็ นรู ปธรรม ฉะนัน้ ผู้บริหารต้ องการข้ อมูลที่ชัดเจน
เพื่อนาไปบูรณาการแผน และต้ องคิดล่ วงหน้ าสาหรั บ การดาเนินงานในขัน้
ต่ อๆ ไปด้ วย
17. ควรหารื อเรื่ องลิขสิทธิ์วิทยานิพนธ์ หรื อเอกสารที่เป็ นของมหาวิทยาลัย ในที่
ประชุมคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยหรื อที่ประชุมอธิการบดี เพื่อให้ มีการแสวงหา
ทางออกร่ วมกัน เมื่อได้ ข้อสรุ ปแล้ วจึงนามาหารื อในกลุ่มงานของ ThaiLIS
อีกครั ง้ ไม่ ใช่ ปล่ อยให้ แต่ ละมหาวิทยาลัยไปดาเนินการเองเพราะอาจเป็ นไป
ได้ ว่าบางมหาวิทยาลัยอาจยังไม่ ตัดสินใจ แต่ ให้ ศึกษาจากการดาเนิ นงานของ
ที่อ่ ืนก่ อน หรื อเลื่อนไปดาเนินการเมื่อพร้ อม มีผลให้ ผ้ ูใช้ บริการอาจไม่ ได้ รับ
การนาเสนอปั ญหา และอุปสรรค
แก่ ประธานคณะกรรมการพัฒนาห้ องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
1. การที่ มหาวิ ท ยาลั ย /สถาบั น บางแห่ งไม่ เปิ ดให้
มหาวิทยาลัย/ สถาบันอื่นใช้ เอกสารฉบับเต็ม (Full
text)
2. การทดกาลั ง คน และงบประมาณสาหรั บดาเนิ นงาน
ของห้ องสมุดแต่ ละแห่ ง
การแก้ ไข
สกอ. ได้ จัดสรรงบประมาณสนับสนุน
การดาเนินงาน Record ละ 200 บาท
ผลผลิต ระยะที่ 1
จั ด ท าเอกสารประเภทวิ ท ยานิ พ นธ์ ได้
จานวน 12,000 Records
รวมได้ รั บงบประมาณสนั บ สนุ น ทั ้ง สิ ้น
2,400,000 บาท
ระยะที่ 2
ปี 2548 - การขยายการดาเนินงาน
มหาวิทยาลัย/สถาบัน
มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย
24 แห่ ง
ราชภัฎ
เทคโนโลยีราชมงคล
สถาบันเทคโนโลยีประทุมวัน
มหาวิทยาลัยสงฆ์
อุปสรรค
- ไม่ มี Hardware และ Software
ข้ อตกลง
- ได้ รับการสนับสนุนการดาเนินงานเป็ นค่ าตอบแทน
Records ละ 200 บาท
- จัดทาเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ สาหรั บ
เอกสารประเภทวิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ งานวิจัย
- กาหนดจานวนการจัดทาสถาบันละ 1,000 Records
- สถาบันที่เข้ าร่ วมจะต้ องดาเนินการจัดทาเอกสารฉบับ
เต็มในรู ปอิเล็กทรอนิกส์ พร้ อมกับต้ องทาการเผยแพร่ ให้
สามารถใช้ งานทรัพยากรร่ วมกันบนเครือข่ าย UniNet
วิธีกาดาเนินงาน - คณะทางานได้ ขอให้ นายจีระพล คุ่มเคี่ยม จากสถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือพัฒนาโปรแกรม
ระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ขนึ ้
การประสานงาน
การแบ่ งกลุ่มของมหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคล เพื่อ ท าหน้ า ที่เ ป็ นผู้ ประสานงานกลางของหน่ ว ยงานที่
สังกัดในแต่ ละกลุ่ม และกาหนดให้ หน่ วยงานที่อยู่ในเขตเดียวกันใน
แต่ ละกลุ่ม ส่ งข้ อมูลแบบสอบถามไปยังผู้ประสานงานในหน่ วยงานที่
อยู่ ใ นเขตเดี่ ย วกั น ในแต่ ล ะกลุ่ ม ส่ งข้ อ มู ล แบบสอบถามไปยั ง ผู้
ประสานงานในกลุ่มที่สังกัดอยู่ โดยผู้ประสานงานเป็ นผู้รวบรวมและ
จั ด ส่ งให้ ส านั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษาต่ อไป โดยมี
รายละเอียดของแต่ ละกลุ่มดังนี ้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล แบ่ งเป็ น 9 กลุ่ม
โดยมีผ้ ูประสานงานของแต่ ละกลุ่ม ดังนี ้
ชื่อกลุ่ม
ล้ านนา
ชื่อผู้ประสาน
ผศ.วัฒนาพร
เชือ้ สุวรรณ
หน่ วยงาน
E-mail
โทรศัพท์ /โทรสาร
วิทยาเขตภาคภายัพ [email protected] 09-7003600
เชียงใหม่
สุวรรณภูมิ นายวิทยา ประพิณ
วิทยาเขต
พระนครศรีอยุธยา
[email protected]
01-7567954
ศรีวิชัย
อ.ภณิดา จิตนุกูล
วิทยาเขตภาคใต้
[email protected]
074-324245#1123
/074-324325 /
09-5955589
ธัญบุรี,
อีสาน
นายนิธิ แย่ งคุณเชาว์
ธัญบุรี
[email protected]
02-549364 / 5493637
กทม, พระ นางสาวพรรณวจี
นคร,
จันทร์ น่ ิม
รัตนโกสิน
ทร์
วิทยาเขตพาณิชย์
การ พระนคร
[email protected] 02-2829101#7305 /
06-5295411
ตะวันออก ผศ.มาลี น้ อยไร่ ภมู ิ
วิทยาเขตบางพระ
มหาวิทยาลัยราชภัฎ แบ่ งเป็ น 8 กลุ่ม
โดยมีผ้ ูประสานงานของแต่ ละกลุ่ม
ชื่อกลุ่ม
ชื่อผู้ประสาน
หน่ วยงาน
อีสานบน
ผศ.ทิศาการ
ศิริพันธุ์เมือง
ม.ราชภัฎสกลนคร
อีสานล่ าง
อ.สันทนา กูลรั ตน์
ม.ราชภัฎสุรินทร์
พุทธชิน
ราช
นายตีวัฒน์ ปารี ศรี
ม.ราชภัฎ
พิบูลสงคราม
ศรี อยุธยา
E-mail
โทรศัพท์ /โทรสาร
[email protected]
042-716429/01-7995399
044-521388/06-8757735
[email protected]
[email protected]
055-216386/09-3686092
นายอุเทนชัย ทองมาก ม.ราชภัฎ
พระนครศรีอยุธยา
[email protected]
035-211238/06-9742865
ทราวดี
ผศ.สมคิด ดวงจักร์
ม.ราชภัฎ
หมู่บ้านจอมบึง
[email protected]
09-0379656
ใต้
นายศิรวัฒน์ เฮงชัยโย
ม.สุราษฎร์ ธานี
[email protected]
077-355474/01-3781609
ล้ านนา
นางพิศวง กองกระโทก ม.ราชภัฎลาปาง
[email protected]
054-241017
[email protected]
02-2448308/01-9047328
รั ตนโกสิน นางสาวรั กขณาวรรณ์
ทร์
ชูทอง
ม.ราชภัฎสวนดุสิต
กาหนดผู้แทนสานั กวิทยบริ การมหาวิทยาลัยราชภัฎ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยสงฆ์ และ
สถาบันเทคโนโลยีประทุมวัน แห่ งละ 2 ท่ าน เข้ าร่ วมเป็ น
คณะทางานด้ านระบบ
กาหนดให้ มีการประชุมคณะทางาน และกาหนดให้ มีก าร
จัดฝึ กอบรมสาหรั บเจ้ าหน้ าที่ผ้ ูเกี่ยวข้ องในการดาเนินการจัดทา
เอกสารฉบับเต็มในรู ปอิเล็กทรอนิกส์ สาหรั บมหาวิทยาลัยราช
ภัฎ มหาวิท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคล มหาวิทยาลั ยสงฆ์ และ
สถาบันเทคโนโลยีประทุมวัน โดยมีรายละเอียดดังนี ้
กาหนดการ
1. ประชุมคณะทางานด้ านระบบจัดเก็บ
เอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์
วันที่
11 พฤษภาคม 2548
สถานที่
สานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา
2. ประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร ณ ภูมภิ าค และส่ วนกลาง
- ภาคเหนือ
18 พฤษภาคม 2548
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
18 พฤษภาคม 2548
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- ภาคใต้
18 พฤษภาคม 2548
มหาวิทยาลัยทักษิณ
- ภาคกลางและภาคตะวันออก
18 พฤษภาคม 2548
กรุ งเทพฯ
2-3 มิถุนายน 2548
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ รังสิต
3. อบรม วิทยากรแกนนา ระบบจัดเก็บ
เอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์
4. อบรม การจัดทาระบบจัดเก็บเอกสารในรู ปอิเล็กทรอนิกส์ ณ ภูมภิ าค และส่ วนกลาง
- ภาคเหนือ
9-10 มิถุนายน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
9-10 มิถุนายน
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- ภาคใต้
9-10 มิถุนายน
มหาวิทยาลัยทักษิณ
- ภาคกลางและภาคตะวันออก
9-10 มิถุนายน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ รังสิต
ทัง้ นี ้ สานักงานบริ หารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
ได้ ดาเนิ นการแบ่ งรายชื่อมหาวิทยาลัย /สถาบันตามเขตภูมิภาคแล้ วเป็ น
ดังนี ้
ภาคเหนือประกอบด้ วย
1. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
2. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่
3. มหาวิทยาลัยราชภัฎลาปาง
4. มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์
5. มหาวิทยาลัยราชภัฎกาแพงเพชร
6. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์
7. มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
8. มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์
9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ล้ านนา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้ วย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครพนม
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์
8.
9.
10.
11.
12.
13.
มหาวิทยาลัยราชภัฎศรี สะเกษ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฎร้ อยเอ็ด
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
อีสาน
ภาคกลาง ประกอบด้ วย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา
มหาวิทยาลัยราชภัฎราไพพรรณี
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาญจนบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง
มหาวิทยาลัยราชภัฎจัทรเกษม
มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้ านสมเด็จเจ้ าพระยา
มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลอลงกรณ์ ในพระ
บรมราชุปถัมภ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
รัตนโกสินทร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณ
ภูมิ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ภาคใต้ ประกอบด้ วย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต
มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา
มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ ธานี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
ผู้ ป ระสานงานจากส านั ก งานบริ ห ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ
พัฒนาการศึกษา
1. นางสาวปิ ยะนุช ปรางค์ มณี e-mail [email protected]
2. นางสาวปั ทมา บุนนาค
e-mail [email protected]
3. นางสาวชบาไพร ลออ
e-mail [email protected]
หรื อสามารถติดตามข้ อมูลข่ าวสารโครงการ ThaiLIS ได้ ท่ ีเว็บไซด์
http://www.thails.or.th
ผลผลิต ปี 2548 (รวมมหาวิทยาลัย/สถาบัน 70 แห่ ง)
1.
2.
จัดทา วิทยานิพนธ์ /ปริญญานิพนธ์ /งายวิจัยฉบับเต็ม จานวน 39,069 รายการ
ใช้ งบประมาณ (อัตราค่ าตอบแทน 200 บาท : Record) 7,813,800 บาท
จัดทาบทความวารสารฉบับเต็ม
จานวน 13,969 รายการ
ใช้ งบประมาณ (อัตราค่ าตอบแทน 50 บาท : Record) 698,450 บาท
รวม 53,038 รายการ เป็ นเงิน 8,512,250 บาท
สิ่งที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต
การทบทวนปั ญหา อุปสรรค ร่ วมกับ สกอ.
1. ทรั พยากรการให้ บริการระบบจัดเก็บเอกสารในรู ปอิเล็กทรอนิกส์
- การด าเนิ น การกั บ สถาบั น ที่ เ ข้ า ร่ วมโครงการ แล้ ว ไม่ เ ปิ ดให้ บ ริ การ
เอกสารฉบับเต็ม (Full text)
- การเปิ ดให้ บริการแก่ สาธารณะ (Public) ที่มใิ ช่ สถาบันสมาชิก ThaiLIS
* Full text เต็มรู ปแบบ
* ค้ นได้ เฉพาะ Metadata
* ค้ นได้ เฉพาะ Metadata และสาระสังเขปวิทยานิพนธ์
* ถ้ าไม่ ใช่ สมาชิก ThaiLIS ต้ องเสียค่ าใช้ จ่ายในการเปิ ดใช้ Full
text หรื อไม่
2. การบริหารจัดการส่ วนกลาง
- ผู้บริหารห้ องสมุดไม่ ได้ รับข้ อมูล รายละเอียด/ขอบเขตการดาเนินงาน
- ปั ญหาการเบิกจ่ ายเงินค่ าตอบแทน
3. การบริหารงาน
- ยั ง ไม่ มีก ารมอบหมายผู้ ท าหน้ า ที่ เ ป็ นผู้ บริ ห ารระบบ และผู้ ท่ ี ทาหน้ า ที่
สารองข้ อมูล
4. โปรแกรม
- iKnowledge = สาหรั บมหาวิทยาลัย 24 แห่ ง
- โปรแกรมที่พัฒนาโดย นายจีระพล คุ่มเคี่ยม สาหรั บมหาวิทยาลั ยราชภัฎ
/ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล / มหาวิทยาลัยสงฆ์ และสถาบันเทคโนโลยี
ปทุมวัน
5. การบริการ
-ปั ญหาจากการใช้ โปรแกรม 2 ระบบ ทาให้ ผ้ ูใช้ ต้องค้ น 2 ครั ง้
6. การตรวจสอบ Metadata และ Object
7. การเปลี่ยน IP ของแต่ ละสถาบัน
โมเดลความร่ วมมือ
ให้ คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้ วย
1. ที่ปรึกษา
2. ผู้แทนเลือกจาก node ต่ าง ๆ ในภูมภิ าค
3. ผู้เชี่ยวชาญทางด้ านระบบ และข้ อมูล
N1
N1
N1
ที่ปรึกษา
N1
N1
N1
คุณสมบัตขิ องผู้ท่ จี ะเป็ นตัวแทน Node ต่ าง ๆ
1. หน่ วยงานนัน้ ต้ องมีความพร้ อมทางด้ านบุคลากร
2. เครือข่ ายของสถาบันนัน้ จะต้ องดี มั่นคง รวดเร็ว
3. ต้ องสามารถให้ คาปรึกษาในการแก้ ไขปั ญหาการใช้ งานทัง้
2 ระบบ
4. ต้ องติดตามงานของสถาบันในกลุ่ม
5. บุคคลนัน้ ต้ องรับอนุมัตจิ ากสถาบัน
การดาเนินงาน ปี 2549