การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และแผนการเรียนรู้

Download Report

Transcript การพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และแผนการเรียนรู้

ไตรรงค์ เจนการ 081-7058686
(อาจารย์ป)ู่
[email protected]
ใช้ กบั โรงเรียนในพืน้ ทีโ่ ครงการพัฒนาดอยตุง จังหวัดเชียงราย
กลุ่มส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษา ครูผส้ ู อนมีความเข้มแข็งทางวิชาาการ
ความรู้พืน้ ฐานที่สาคัญ
รู้และเข้าใจในมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชาี้วดั
รู้และเข้าใจในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รู้และเข้าใจในการออกแบบการเรียนรู้โดย
ยึดผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
รูแ้ ละเข้าใจในการออกแบบการวิจยั และพัฒนาโดย
ยึดผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชาี้วดั ชาัน้ ปี
มาตรฐานการเรียนรู้
สิ่งที่นักเรียนพึงรูแ้ ละปฏิบตั ิ ในสิ่งนัน้ ได้
ทำอะไรได้
“What student should know and be able to do.”
รูอ้ ะไร
(Marzano, 1998)
ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการ
ผลิตและการบริโภค การใชา้ทรัพยากร ที่มีอยู่จากัดได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชาีวิตอย่างมีดลุ ยภาพ
ส ๓.๑ ป ๔/๑. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
 สิ นค้ าและบริการทีม่ อี ยู่หลากหลายในตลาดทีม่ ีความแตกต่ างด้ านราคาและคุณภาพ
 ปัจจัยที่มผี ลต่ อการเลือกซื้อสิ นค้ าและบริการทีม่ ีมากมาย ซึ่งขึน้ อยู่กบั ผู้ซื้อ ผู้ขาย และ
ตัวสิ นค้ า เช่ น ความพึงพอใจของผู้ซื้อ ราคาสิ นค้ า การโฆษณา คุณภาพของสิ นค้ า
ส ๑.๑ รู้ และเข้ าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่
ตนนับถือและศาสนาอืน่ มีศรัทธาทีถ่ ูกต้ อง ยึดมัน่ และปฏิบัตติ ามหลักธรรมเพือ่ อยู่ร่วมกัน
อย่ างสั นติสุข
ส ๑.๑ ป๕ /๑. วิเครำะห์ควำมสำคัญของพระพุทธศำสนำหรือศำสนำทีต่ นนับถือ
ในฐำนะทีเ่ ป็ นมรดกทำงวัฒนธรรมและหลักในกำรพัฒนำชำติไทย
•มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้ รับจากพระพุทธศาสนา
มรดกทางด้ านรูปธรรม เช่ น
ศาสนสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม
มรดกทางด้ านจิตใจ เช่ น หลักธรรมคาสั่งสอน ความเชื่อ และคุณธรรมต่ าง ๆ
 การนาพระพุทธศาสนาไปใช้ เป็ นแนวทางในการพัฒนาชาติไทย
พัฒนาด้ านกายภาพ และสิ่งแวดล้อม เช่ น ภาวนา ๔ (กาย ศีล จิต ปัญญา) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอริยสัจสี่
พัฒนาจิตใจ เช่ น หลักโอวาท ๓
(ละความชั่ว ทาดี ทาจิตใจให้ บริสุทธิ์) และการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การเรียนรู้
กระบวนการใส่ ใจ
การเห็น การฟัง
รับรู้
บันทึกสัมผัส
เครื่ องรับข้อมูล
สิ่ งเร้ า
ความจาระยะสั้ น
ความจาระยะยาว
ความจาช่ วงระยะ
ทางาน
ภาษา /เหตุการณ์
การเคลือ่ นไหว /
อารมณ์ /ความรู้สึก
ตัวสร้ างพฤติกรรม
พฤติกรรมการแสดงออก
สิ่ งแวดล้อม
มิติกระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process)
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
2.6
จา
เข้าใจ
ประยุกต์ใชา้
วิเคราะห์
ประเมินค่า
คิดสร้างสรรค์
Original Terms
New Terms
 Evaluation
•Creating
 Synthesis
•Evaluating
 Analysis
•Analysing
 Application
•Applying
 Comprehension
•Understanding
 Knowledge
•Remembering
(Based on Pohl, 2000, Learning to Think, Thinking to Learn, p. 8)
กระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process)
2.1 จา
ความสามารถทางสมองในการเก็บรักษาไว้ซึ่ง
เรื่องราวที่เป็ นปรากฏการณ์ ข้อเท็จจริง ฯลฯ
แสดงออกโดยการระลึก นึ กถึงสิ่งที่การเก็บรักษาไว้
ด้วยการบอก บรรยาย อธิบาย หรือเขียน
กระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process)
2.2 เข้าใจ
ความสามารถในการบอกนัย ความหมาย ตลอดจนการ
คาดคะเนความเปลี่ยนแปลงใดๆ ของลักษณะหรือ
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับเรื่องราว สิ่งของและปรากฏการณ์
ต่างๆ
แสดงออกโดยการบอก อธิบาย ตีความ สรุป จัดใหม่
เรียบเรียงใหม่ แปรเปลี่ยนรูป ของเรื่องราว
ปรากฏการณ์ ข้อเท็จจริง
กระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process)
2.3 ประยุกต์ใชา้
ความสามารถในการคิดนาความรู้ หลักการ
และข้อเท็จจริงไปใชา้แก้ปัญหาใหม่ที่เกิดขึน้
แสดงออกโดยการบอกวิธีปฏิบตั ิ หรือขัน้ ตอน
การแก้ปัญหาใหม่ที่เกิดขึน้
กระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process)
2.4 วิเคราะห์
ความสามารถในการจาแนก เปรียบเทียบ วิจารณ์
เพื่อให้ได้ซึ่งส่วนที่เป็ น ลักษณะสาคัญ ความสัมพันธ์
และหลักการของเรื่องราวที่เป็ นข้อเท็จจริง
ปรากฏการณ์ ต่างๆ
แสดงออกโดยการบอก อธิบายในสิ่งที่เป็ นจุดใหญ่
ใจความสาคัญ ความสัมพันธ์ และหลักการที่เกี่ยวข้อง
กับข้อเท็จจริง ปรากฏการณ์ ต่างๆ
กระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process)
2.5 ประเมินค่า
ความสามารถในการตรวจสอบ การวิจารณ์ ประเมิน
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกกระทาหรือไม่กระทา
ในเรื่องราวที่เป็ นปรากฏการณ์ ข้อเท็จจริงต่างๆ ฯลฯ
แสดงออกโดยการระบุเหตุผลได้อย่างเหมาะสมใน
การตัดสินใจเลือกการกระทา หรือไม่กระทาต่อเรื่องราว
ที่เป็ นปรากฏการณ์ ข้อเท็จจริงต่างๆ ฯลฯ
กระบวนการทางปัญญา (Cognitive Process)
2.6 คิดสร้างสรรค์
ความสามารถในการวางแผนสร้าง การลงมือสร้าง
จนสาเร็จ การผลิตผลงาน ที่มีสมมุติฐานอยู่ใน
กฎเกณฑ์และเหตุผล
แสดงออกโดยการตัง้ สมมุติฐาน ออกแบบ
นาเสนอแนวคิดใหม่ๆ ประดิษฐ์ ผลิตผลงานที่สนใจ
มิติของความรู้
(Knowledge dimension)
1.1 ความรู้ข้อเท็จจริง (Factual Knowledge)
1.2 ความรู้ในความคิดรวบยอด(Conceptual knowledge)
1.3 ความรู้กระบวนการ (Procedural knowledge)
1.4 ความรู้ในอภิปัญญา (Meta-Cognitive knowledge)
มิติของความรู้ (Knowledge dimension)
1.1 ความรู้ลกั ษณะข้อเท็จจริง
๐ ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบพืน้ ฐานผู้เรียน
ต้องรู้ เพื่อปรับให้เข้ากับศาสตร์หรือ
เนื้ อหาวิชาาที่เรียน
- คาศัพท์ นิยาม
- รายละเอียดและองค์ประกอบต่างๆ
มิติของความรู้ (Knowledge dimension)
1.2 ความรู้ในลักษณะความคิดรวบยอด
๐ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบพืน้ ฐานต่างๆที่
มีอยู่ภายในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ทาให้องค์ประกอบ
พืน้ ฐานเหล่านัน้ สามารถทางานร่วมกันได้
- การจัดประเภท หมวดหมู่
- การจัดลาดับขัน้ ตอน
- หลักการ ทฤษฎี
- แบบแผน โครงสร้าง
มิติของความรู้ (Knowledge dimension)
1.3 ความรู้ในลักษณะกระบวนการ
๐ ความรู้เกี่ยวกับวิธีการที่จะทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ ง วิธีการ
เสาะหาความรู้ และบรรทัดฐานสาหรับการใชา้ทกั ษะ
ลาดับขัน้ การแก้ปัญหา เทคนิคและวิธีต่างๆ
- ความรู้ในเรื่องของทักษะเฉพาะอย่างและ
ลาดับขัน้ การแก้ปัญหา
- ความรู้ในเรื่องของเทคนิคและวิธีการเฉพาะอย่าง
- ความรู้ในเรื่องของเกณฑ์สาหรับการพิจารณา
เลือกใชา้กระบวนการที่เหมาะสม
มิติของความรู้ (Knowledge dimension)
1.4 ความรู้ในลักษณะอภิปัญญา
๐ ความรูเ้ กี่ยวกับกระบวนการทางปัญญาหรือกระบวนการ
เรียนรูข้ องตนเอง ความรูเ้ กี่ยวกับกระบวนการจัดกระทาข้อมูล
ข่าวสาร
- ยุทธวิธีการเรียนรู้ หรือการได้มาซึ่งความรู้
- ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการใชา้ปัญญา รวมไปถึงการใชา้เนื้ อหาและ
เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรรู้ว่าเวลาใด เหตุผลใดที่จะใชา้ความรู้ใน
เรื่องนัน้ ๆ
- ความรู้เกี่ยวกับตนเอง รู้จดุ อ่อน จุดแข็งของตนเอง รู้ว่าตนเอง
รู้อะไร และมีความรู้ในระดับไหน
มิติของความรู้
ความรู้ ในข้ อเท็จจริง
(Factual Knowledge)
ความรู้ ในความคิดรวบยอด
(Conceptual Knowledge)
ความรู้ ในกระบวนการ
(Procedural Knowledge)
ความรู้ ในอภิปัญญา
(Meta-cognitive Knowledge
มิติของกระบวนการทางปัญญา
จา
เข้ าใจ ประยุกต์ วิเคราะห์ ประเมิน คิดสร้ างสรรค์
- เราไม่ สามารถประเมินความสามารถ
ของนักเรียนได้ ถ้ามิได้ มอบหมายงาน
ให้ เขาทา
- เราไม่ สามารถประเมินผลสั มฤทธิ์ของ
เขาได้ ถ้ าหากเขามิได้ ลงมือทางาน
อย่ างใดอย่ างหนึ่ง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เลือกรูปแบบการประเมิน
ตรงกับเป้ าหมายการเรียนรู้
Measurement
Evaluation
formative evaluation
summative evaluation
Assessment
* diagnostic assessment
* formative assessment
* summative assessment
What is the difference between assessment and evaluation ?
Assessment เป็ นการเก็บสารสนเทศเกี่ยวกับองค์ความรู้ของ
นักเรียนรวมถึงทักษะ ความสามารถและเจตคติของนักเรียน
Assessment จะเก็บสำรสนเทศด้วยวิธกี ำรหลำยรูปแบบ เช่น แบบ
สอบ ชุดปญั หำต่ำงๆ กำรเขียนเรียงควำม เอกสำร บทควำม กำร
ทดลองในห้องlap กำรสำธิต โครงงำน กำรนำเสนอ กำรประเมินค่ำผล
กำรสำรวจ กำรสัมภำษณ์ แผนผังควำมคิดรวบยอด และแฟ้มสะสมงำน
กำรใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอ่นื เป็ นเครือ่ งมือช่วยซึง่ เป็ นส่วนหนึ่ง
ของกำรสร้ำงและกำรเก็บผลผลิตของกิจกรรมกำรประเมินผล
Evaluation
เป็ นการพิจารณาตัดสินใจบนฐานข้อมูล
สารสนเทศที่ได้เก็บรวบรวมมา
เน้ นสาคัญของการให้ระดับผลการเรียน ซึ่งเป็ น
ผลการเรียนในองค์รวม และเป็ นการกระทาขัน้
สุดท้าย
มิติของความแตกต่ าง
Content: timing,
primary purpose
Assessment
Evaluation
Formative:
Summative:
Orientation:
ongoing, to improve
final, to gauge quality
learning
Process-oriented: how Product-oriented:
focus of measurement
learning is going
what’s been learned
Findings:
Diagnostic:
Judgmental:
uses thereof
identify areas for
improvement
arrive at an overall
grade/score
ลักษณะเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
(มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด)
1. ความรู้/ข้อมูลสารสนเทศ
(knowledge/information)
2. ทักษะ /กระบวนการต่างๆ
(skills/processes)
3. การคิดและการใชา้เหตุผล
(thinking and reasoning)
4. การสื่อสาร
(Communication)
ประเภทของการประเมินผล
การเลือกตอบ (Selected Response)
การสร้างคาตอบ (Constructed Response)
การประเมินความสามารถ
(Performance Assessment)
การประเมินไม่เป็ นทางการ (Informal Assessment)
/การประเมินตนเอง (Self-Assessment)
Selected Response
 หาตัวเลือกที่ดีที่สดุ /ถูกต้อง
ที่สดุ
 ข้อสอบถูก-ผิด
 ข้อสอบจับคู่ (Matching)
Constructed Response
 เขียนคาหรือข้อความ  เขียนแผนภูมิสายงาน/ผังงาน
ลงในชา่องว่าง
 เขียนกราฟ
 เขียนตาราง
 เขียนความเรียง
 เขียนคาตอบสัน้ ๆ  เขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ 2ทาง
 เขียนภาพประกอบการอธิบาย
 เขียนแผนภูมิ
ิ

เขี
ย
นแผนผั
ง
ความค
ด
รวบยอด
 เขียนขอบข่ายงาน
 ฯลฯ
Performance Assessment
แฟ้ มสะสมผลงาน
การนาเสนอ
การปฏิบตั ิ งาน
ปฏิบตั ิ การทาง
วิทยาศาสตร์
 ทักษะพละศึกษา
 การแสดงละคร




การทาโครงงาน
การโต้วาที
การจัดนิทรรศการ
การเล่นดนตรีเดี่ยว//การ
บรรยาย
 การอ่านออกเสียง
 การเขียนประกาศ//ข้อบังคับ




Informal/Self- Assessment





ตอบคาถามปากเปล่า
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การประชาุม
การกาหนดรายละเอียดของ
กระบวนการ
 แบบสารวจรายการ
การพิจารณา
เป้าหมาย และรูปแบบประเมินผล
การประเมินผลที่ควบคู่ไปกับมาตรฐาน
รูปแบบการประเมิน
เป้ าหมาย
ประเมิน
ผลสั มฤทธิ์
องค์ ความรู้ /
สารสนเทศ
การเลือกคาตอบ การสร้ างคาตอบ
สามารถประเมิน
ความรอบรู้ ใน
รายละเอียด
เฉพาะเจาะจงของ
องค์ ความรู้ ด้าน
เนือ้ หา
การตอบสั้ นๆที่
ให้ นักเรียน
สามารถ
ประยุกต์ องค์
ความรู้ ด้าน
เนือ้ หาได้
ภาระงาน/
ชิ้นงาน
การประเมินอย่าง
ไม่ เป็ นทางการ
ไม่ ใช่ ทางเลือกที่
ดีสาหรับ
เป้ าหมายนี้
น่ าจะเลือก
ทางเลือกอืน่
ดีกว่ า
ครู สามารถถาม
คาถามต่ างๆ, ประ
เมินผลจากการตอบ
คาถาม,และลง
ความเห็นว่านร.
รอบรู้ หรือไม่ แต่ จะ
ไม่ มเี วลาสามารถ
ทาได้
รูปแบบการประเมิน
เป้ าหมาย
ประเมิน
ผลสั มฤทธิ์
การเลือกคาตอบ
การสร้ างคาตอบ
ภาระงาน/
ชิ้นงาน
การประเมิน
อย่างไม่ เป็ น
ทางการ
ทักษะ/
กระบวนการ
ไม่ ใช่ ทางเลือกที่ดี
สาหรับเป้ าหมายนี้
น่ าจะเลือกทางอืน่
สามารถประเมิน
ความเข้ าใจขั้นตอน
ต่ างๆของ
กระบวนการ,แต่
ไม่ ใช่ ทางเลือกที่ดี
สาหรับการประเมิน
ทักษะ
สามารถสั งเกต
และประเมิน
ทักษะต่ างๆใน
ขณะทีม่ ีการ
ปฏิบัตกิ าร
เหมาะสม
ทีส่ ุ ดเมือ่
ทักษะนั้นคือ
การสื่ อสาร
ปากเปล่า
การประเมินผลที่ควบคู่ไปกับมาตรฐาน(ต่ อ)
รูปแบบการประเมิน
เป้ าหมาย การเลือกคาตอบ
ประเมิน
ผลสั มฤทธิ์
การคิดและ สามารถ
การใช้ เหตุผล ประเมินการ
ประยุกต์ ใช้ ได้
ในบางรู ปแบบ
ของการให้
เหตุผล
การสร้ างคาตอบ
ภาระงาน/ชิ้นงาน
การประเมินอย่าง
ไม่ เป็ นทางการ
การเขียน
รายละเอียด การ
แก้ปัญหาที่
สลับซับซ้ อน
สามารถมองเห็น
ความชานิชานาญ
ของการให้ เหตุผล
ภายในได้
สามารถเฝ้ าดูในการ
แก้ปัญหาของ
นักเรียนบางปัญหา
หรือตรวจสอบ
ผลงานบางผลงาน
และลงสรุ ปการให้
เหตุผลอย่ างมีความ
ชานาญของนักเรียน
ได้
สามารถถาม
นักเรียนให้ คดิ ดังๆ
หรือสามารถตั้ง
คาถามส่ งท้ ายตาม
เพือ่ ตรวจสอบการ
ให้ เหตุผล
การประเมินผลที่ควบคู่ไปกับมาตรฐาน(ต่ อ)
รูปแบบการประเมิน
เป้ าหมาย การเลือกคาตอบ
ประเมิน
ผลสั มฤทธิ์
การสื่ อสาร
ไม่ ใช่ ทางเลือกที่ดี
สาหรับเป้ าหมาย
นี้ ควรเลือกทาง
อืน่ ดีกว่ า
การสร้ างคาตอบ ภาระงาน/ชิ้นงาน
ไม่ ใช่ ทางเลือกที่ดี
สาหรับเป้ าหมาย
นี้ ควรเลือกทาง
อืน่ ดีกว่ า
สามารถสั งเกตและ
ประเมินผลการ
สื่ อสารจากการ
เขียนและการพูด
จากการะนาเสนอ
ผลงาน/ชิ้นงาน/
ภาระงาน
การประเมิน
อย่างไม่ เป็ น
ทางการ
เหมาะสมทีส่ ุ ด
สาหรับทักษะ
การสื่ อสาร
บางอย่าง
โดยเฉพาะการ
สื่ อสารการพูด
ปากเปล่า
Adapted from Marzano and Stiggins
ออกแบบการเรียนรู้
โดยยึดผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
การเรียนรู้ ของมนุษย์
1. Behaviorism (1960)
2. Cognitivism (1976)
3. Constructivism (1990)
1. พฤติกรรมนิยม Behaviorism (1960)
 มองนักเรียนเหมือนกระดาษขาวว่ างเปล่ า
 จัดสิ่ งเร้ า สิ่ งแวดล้ อมให้ นักเรียนตอบสนอง
 มีการเสริมแรง บวก – ลบ
 มีการกระทาซ้าๆ
1. Behaviorism (1960)
วิธีการจัดการเรียนการสอนเมือ่ ใช้ แนวคิดของ Behaviorism
 การสอนตรง ๆ หรือการแสดงให้ ดู
 การให้ ทาแบบฝึ กหัดและปฏิบัติ หรือการทาซ้า ๆ
 การสอนเกมต่ างๆ
1. เมื่อใดควรใช้ Behaviorism
1. ผู้เรียนไม่ มอี งค์ ความรู้ แรก ๆ ของเนือ้ หาวิชานั้นๆ
2. ต้ องการให้ จดจาข้ อเท็จจริงพืน้ ฐาน
3. ภาระงานเล็กๆ
4. ผู้เรียนจะได้ ความรู้ จากการเสริมแรงอย่ างต่ อเนื่อง
5. ต้ องการความถูกต้ องและความรวดเร็ว
6. ต้ องการให้ เกิดผลสาเร็จภายในช่ วงระยะเวลาอันสั้ น
2. ปัญญานิยมCognitivism (1976)
 เป็ นกระบวนการประมวลผลทางปัญญาของผูเ้ รียน
 การแสดงออกทางพฤติกรรมต้อง ผ่านกระบวนการ
คิดมาก่อน
 การประมวลทางปัญญา จะกระทาได้กต็ ่อเมือ่ ได้
มีการรับรู้ข้อมูลบางส่วนมาบ้างแล้ว
 ดูเหมือนว่ามีรปู แบบที่กาหนดไว้แล้ว โดยผูเ้ รียนเอง
2. Cognitivism (1976)
วิธีการจัดการเรียนการสอนเมือ่ ใช้ แนวคิดของ Cognitivism
• ให้ โอกาสในการโต้ เถียง อภิปรายและการให้ เหตุผล
• ให้ แก้ ปัญหา และจัดทาโครงงานทีย่ ่ งุ ยากซับซ้ อน
• การให้ เปรียบเทียบ การใช้ สานวน อุปมา อุปมัย
• ให้ ทางานเป็ นชิ้นจากข้ อมูลสารสนเทศ
• การให้ เขียนสานวนหรือคาประพันธ์ ส้ั น ๆ
2. เมื่อใดควรใช้ Cognitivism
1.
2.
3.
4.
ผู้เรียนมีความรู้ ในเนือ้ หาสาระนั้นๆอยู่แล้ ว
แหล่ งการเรียนรู้ (resources) มีจานวนมากมายและหลากหลาย
ผู้เรียนต้ องการพัฒนาความเข้ าใจมากขึน้ ในองค์ ความรู้น้ันๆ
ไม่ จากัดเวลาอย่ าง เข้ มงวด เพือ่ ต้ องการให้ เกิดการเรียนรู้
เกิดความเข้ าใจอย่ างแท้ จริง
3. Constructivism (1990-ปัจจุบัน)
 หลักฐานที่ปรากฏ เกิดจากการปรับโครงสร้าง
ความรู้ภายในของตัวผูเ้ รียนเอง
 การสร้างองค์ความรู้ถกู สร้างขึน
้ ตามแต่ละ
บุคคลของผูเ้ รียนเองเพราะต่างคนต่างมีชาดุ
โครงสร้างองค์ความรู้ที่แตกต่างกัน
 มุ่งเน้ นในการแก้ปัญหา จัดสร้างแบบจาลอง
ทางความคิดใหม่ เพื่อนาไปบูรณาการเข้ากับ
ความรู้เก่า
3. Constructivism (1990-ปัจจุบัน)
วิธีการจัดการเรียนการสอนเมือ่ ใช้ แนวคิดของ Constructivism
1)
2)
3)
4)
5)
6)
กรณีศึกษา (case studies) / แก้ปัญหาเพือ่ การเรียนรู้
การนาเสนอผลงาน/ชิ้นงาน
การกากับดูแลการทางานหรือการฝึ กงาน
การเรียนรู้ ร่วมกัน (collaborative learning)
การเรียนรู้ โดยการสื บค้ น (Discovery learning)
การเรียนรู้ โดยการกาหนดสถานการณ์
เมื่อใดควรใช้ Constructivism
1. การเรียนรู้ เกิดขึน้ ในกระบวนการทีไ่ ด้ มีการปฏิสัมพันธ์ ต่อกัน
2. ผู้เรียนจะรวบรวมจัดองค์ ความรู้ ทมี่ ีอยู่แล้ วกับ
สถานการณ์ ใหม่ ๆ ทีไ่ ด้ มา
3. แหล่ งการเรียนรู้ มีจานวนมากหลากหลายเท่ าทีส่ ามารถ
จัดหามาได้
4. มีเวลาเพียงพอจะสามารถทาผลงาน/ชิ้นงาน/
การปฏิบัตกิ ารได้
ออกแบบการวิจยั และพัฒนา
โดยยึดผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
การวิจยั
เป็ นกระบวนกำรแสวงหำควำมรูอ้ ย่ำงเป็ น
ระบบเพือ่ ให้ได้มำซึง่ ข้อควำมรู้ หรือข้อ
ค้นพบใหม่ทเ่ี ชือ่ ถือได้ โดยใช้กระบวนกำร
ทำงวิทยำศำสตร์เป็ นเครือ่ งมือในกำรคิดและ
ดำเนินกำร
กระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
มี 6 ขัน้ ตอน:
1.
ระบุปัญหา
2. ตัง้ สมมุติฐาน
3. ทดลองเพื่อพิสจู น์ (ทดสอบสมมุติฐาน)
4. เก็บรวบรวมข้อมูล
5. วิเคราะห์ข้อมูล
6. สรุปผลการทดลอง
กระบวนการวิจยั มี 6 ขันตอน
้
1. ระบุปัญหาวิจยั
2. ตัง้ สมมติฐานการวิจยั
3. พิสจู น์ ทดสอบสมมติฐาน
4. เก็บรวบรวมข้อมูล
5. วิเคราะห์ข้อมูล
6. สรุปผลการวิจยั
การวิจัย คือ กระบวนการแสวงหาความจริง
หรือการค้ นหาคาตอบอย่ างมีระเบียบแบบแผน
และ มีจุดมุ่งหมายทีแ่ น่ นอน
การวิจัย และพัฒนา คือ กระบวนการแสวงหาคาตอบ
อย่ างมีระเบียบแบบแผน ทีม่ ีจุดมุ่งหมายที่
แน่ นอนและนาผลการค้ นพบไปใช้ ปรับปรุง
พัฒนาผู้เรียนและตนเอง
อะไรคืออะไร และทาอย่างไร
หน่ วยการเรียนรู(้ Unit plan)คืออะไร ?
แผนหรือแนวทางที่ครูผส้ ู อนจัดทาขึ้นเพื่อใชา้
ในการจัดการเรียนการสอนใชา้ชานั ้ เรียน
หน่ วยการเรียนรู้มีความสาคัญอย่างไร ?
รู้เป้ าหมาย
มีหลักฐานยืนยัน
แสดงเกณฑ์การตรวจที่ชาดั เจน
มีการเตรียมการพัฒนาสู่เป้ าหมายที่มีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบที่สาคัญของหน่ วยการเรียนรู้มีอะไรบ้าง ?
มาตรฐาน/ตัวชาี้วดั ที่เป็ นเป้ าหมายของหน่ วย
สาระการเรียนรูซ้ ึ่งเป็ นองค์ความรู้/ทักษะที่สาคัญ
ชาิ้นงานหรือภาระงานที่ผเู้ รียนปฏิบตั ิ และ
เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมการเรียนการสอน
องค์ประกอบของหน่ วยการเรียนรู้
• มาตรฐานการเรียน ตัวชาี้วด
ั และสาระการเรียนรู้
• ผลงานหรือภาระงาน/ชาิ้นงานรวบยอด
ที่จะเป็ นหลักฐานยืนยันว่าบรรลุตามมาตรฐาน/ตัวชาี้วดั นัน้ ๆ
แล้วในระดับคุณภาพที่ยอมรับได้
• กิจกรรมการฝึ ก/พัฒนา หรือกิจกรรมการเรียนการสอน
• ถ้าจะเขียนให้เห็นเป็ นแนวทางการฝึ กหรือพัฒนาก็ได้
• หรือจะเขียนเป็ นแผนการเรียนรู้อย่างละเอียดก็ได้
(ถ้าเขียนในลักษณะนี้ แผนการเรียนรู้จะเป็ นส่วนหนึ่ งของหน่ วยการเรียนรู้นัน่ เอง)
แผนการเรียนรู้ (Lesson plan)
แผนหรือแนวทางการจัดการการเรียน
การสอน ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่ งของหน่ วยการเรียนรู้
เมื่อดาเนินการเรียนการสอนครบทุกแผน
ของแต่ละหน่ วยการเรียนรู้ ผูเ้ รียนจะได้
พัฒนาบรรลุตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่
ละหน่ วยการเรียนรู้
องค์ ประกอบหลักของ แผนการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้
1. จุดประสงค์ การเรียนรู้ (Objective) คือ สิ่งทีต่ ้ องการให้ เกิดขึน้ กับผู้เรียน
1.1 พุทธิพิสยั (Cognitive) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางสมอง (Head)
ความรู้ในเนื้อหา และ ทฤษฎี
1.2 ทักษะพิสยั (Skill) คือ จุดประสงค์ที่เน้นความสามารถทางปฏิบตั ิ (Hand)
1.3 จิตพิสยั (Affective) คือ จุดประสงค์ที่เน้นคุณธรรม และจิตใจ (Heart)
2. การเรียนการสอน (Learning) คือ กระบวนการทีจ่ ะทาให้ บรรลุจุดประสงค์
การเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรู้
2.2 เนือ้ หาวิชา
2.3 กิจกรรมการเรียนการสอน
2.4 สื่ อการเรียนการสอน
3. การวัด และประเมินผล (Evaluation)
คือ การตรวจสอบว่ าผู้เรียนมีพฤติกรรม หรือลักษณะพึงประสงค์ ตาม
จุดประสงค์ การเรียนรู้ มากน้ อยเพียงใด
องค์ ประกอบ ในการเขียนแผนการสอน หรือเอกสารประกอบการสอน
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระสาคัญ
จุดประสงค์ การเรียนรู้
จุดประสงค์ ปลายทาง
จุดประสงค์ นาทาง
เนือ้ หาสาระ
สื่ ออุปกรณ์ การเรียนการสอน
ลาดับกิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนรู้
การวัด และประเมินผล
กิจกรรมเสนอแนะ
บันทึกผลหลังการสอน - ผลการสอน
- ปัญหาอุปสรรค - แนวทางแก้ไข - ข้ อเสนอแนะ
ชื่อผู้สอน
จะพัฒนาหน่ วยการเรียนรู้ไปสู่
โครงสร้างรายวิชาาได้อย่างไร ?
การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้ “แบบย้อนกลับ”
นักเรียนของเราต้อง ‘รู้อะไร’ และมาตรฐาน/ตั
‘ ปฏิบตั ิ อะไรได้
วชาี้วดั ’
?
จะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนรู้ ชาิ้และปฏ
ตั ิ ได้แล้ว ?
นงาน/ิ บภาระงาน
ยนการสอน
ิ บตั ิ สิ่งนัน้
ต้องทาอะไรบ้างที่จะชา่วยให้กิจนกรรมการเรี
ักเรียนรู้ และปฏ
ได้ ?
แผนการน
อมูตลามที
ย้อนกลั
จะทาอย่างไรกับนักเรียนที
่ยงั ไม่บาข้
รรลุ
่ บ
คาดหวัง ?
ทาอย่ างไร? คิดอย่ างไร ?
อ่านและท
าความเข้าใจในตัวยชาีนรู้วดั้และเนื
และสาระการ
สารวจขอบเขตการเรี
้ อหา
เรียนรู้ทกุ ทีตั่จวะจั
ในรายว
้ ว่าๆอย่
ดการเรีิ ชายานั
นรูน
ควรจัาดงละเอี
กี่หน่ วยยด
เริ่มแรกให้พิจารณาเพียงหนึ่ งตัวชาี้วดั ภาระงาน
ิ ดการบู
การเก
ณาการและการ
ิ นรผลในตั
หรือชาิ้นงานที
่จะประเม
วชาี้วดั นี้ คือ
นาตัวชาี้วดั มาบู่อรมโยงกั
ณาการอย่
อะไร? ถ้าภาระงานไปเชาื
บตัวางมี
ชาี้วดั ตัว
ดภาระงานที
่ในหน่่ตวรง
ใดๆ ให้นาตัเหตุ
วชาี้วผดั ลนัโดยยึ
น้ ๆมาอยู
ยการ
กับนมาตรฐาน/ตัวชาี้วดั เป็ นหลัก
เรียนรู้เดียวกั
.....Wiggins 1993
ทาอย่างไร? คิดอย่างไร ?
(ต่อ)
ิง
นี้ คือเวลาที
่
จ
ะใชา้
จ
ด
ั
การเรี
ย
นรู
ท
้
่
ี
จ
ร
ภาระงานหรือชาิ้นงานนี้ จะต้องใชา้เวลาฝึ ก
ในแต่
ล
ะหน่
ว
ยการเรี
ย
น
ิ
นี่ คือการทาให้เกดความเชาื่อถือได้
ให้กบั นักเรียนทุกคน ทุกคนทาได้ จะใชา้
เวลากี่ชาวโมง
ั ่ ในการจัดการเรียนรู้และการ
ประเมินผล และเป็ นฐานข้อมูลใน
การรายงานผลความก้าวหน้ า
ตัวชาี้วดั ทุกตัวควรนาไปใชา้จดั การเรียนรู้
ซา้ ๆหลายๆครัง้
จานวนมาตรฐาน/ตัวชาี้วดั ในแต่ละหน่ วยการเรียนรู้
มาตรฐาน/
ตัวชี้วดั ที่
๑
๒
๓
๔
รวม
รวม
หน่ วยการเรียนรู้ ที่
1
2
√
─
3
4
5
6
√
√
√
─
─
─
√
√
√
√
√
√
3
4
15
─
√
√
─
─
√
─
2
2
3
√
√
2
─
2
4
5
3
จัดทาหน่ วยการเรียนรู้และแผนการเรี ยนรู้
กำหนดภำระงำนหรือช้ ิ นงำนที่นักเรียนต้องทา
ส่งเพื่อการประเมินผลรวบยอด โดยภาระงานหรือ
ชาิ้นงานต้องครอบคลุมตัวชาี้วดั ทุกตัวภายในหน่ วย
การเรียนรู้นัน้ ๆ
กำหนด Rubrics เพื่อใชา้ตรวจสอบคุณภาพ
ภาระงานหรือชาิ้นงาน ซึ่งแง่มมุ หรือด้านแห่งการ
ตรวจสอบต้องครอบคลุมทุกตัวชาี้วดั
จัดทาหน่ วยการเรียนรู้และแผนการเรี ยนรู้
ถ้าหากมีตวั อย่ำงผลงำนของรุ่นพีท่ ีท่ ำไว้ดีๆเป็ น
ตัวอย่าง ควรนามาให้ดเู ป็ นตัวอย่าง และควร
กระตุ้นให้ทาให้ดีกว่ารุ่นพี่ๆที่ได้ทาไว้
คิดกิจกรรมกำรฝึ ก หรือกิจกรรมกำรเรียนกำร
สอน ให้สอดคล้องกับกลุ่มนักเรียน หรือนักเรียน
แต่ละบุคคล โดยมีเป้ าหมายที่นักเรียนทุกคนต้อง
สามารถทาผลงานภาระงานได้และมีคณ
ุ ภาพใน
ระดับที่ได้กาหนดไว้
จัดทาหน่ วยการเรียนรู้และแผนการเรี ยนรู้
คิดแผนกำรนำข้อมูลย้อนกลับ เพื่อใชา้เป็ นฐาน
นี
่
ค
ื
อ
หั
ว
ใจส
าคั
ญ
ของ
ในการพัฒนานักเรียนแต่ละบุคคลไว้ ในกรณี ที่
ิ
การประเม
น
เพื
่
อ
พั
ฒ
นา
นักเรียนบางคนไม่สามารถทาผลงานนี้ ได้สาเร็จ
ดผูเ้ รีแล้
ยนเป็
โดยเก็บข้อผูมูเ้ รีลยไว้น ทุโดยยึ
กระยะๆ
วนนาข้อมูล
สาคัวญยเหลือพัฒนานักเรียน
ย้อนกลับมาหาวิธีการชา่
นัน้ ๆทันที
STANDARDS-BASED UNIT OF STUDY PLANNING MAP
Level:……...
Organizer
Life Issue
Or
Problem
Or
Question
Course:………………………
Unit Title:..............................
Approximate:
Time:.................
Targeted Standards
• Academic Expectations
• Major Content
Essential Questions
Culminating Performance/Product
(Evidence of Learning)
Scoring Guide
Enabling
Instructional/
Assessment Activities
Enabling
Skills/processes
Knowledge
Scoring Guide
Critical Resources
หน่ วยการเรียนรู้
รหัสวิชาา.............วิชาา........ชาัน้ .............ชาื่อหน่ วย............เวลาเรียน.......
รายวิชาาที่นามาบูรณาการ ( ) ท........... คะแนน.........
( ) ค............ ( ) อ............... ( ) พ................
( ) ส................ ( ) ว..................... ( ) ศ...................... ( ) ง........................
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชาี้วดั
มาตรฐาน /ตัวชาี้วดั ……………………………………………
มาตรฐาน/ ตัวชาี้วดั .....................................................................
มาตรฐาน/ตัวชาี้วดั ......................................................................
2. สาระการเรียนรู้
2.1 สำระแกนกลำง........................................................................................
2.2 สำระท้องถิน่ (อื่น ๆ).................................................................................
3. สาระสาคัญ
3.1 ความคิดรวบยอด/หลักการ...................................................................
..................................................................................................
3.2 ทักษะ /กระบวนการ...............................................................................
.................................................................................................................
3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์(จิตพิสยั ที่ดี)............................................
4. ชาุดคาถามที่สาคัญ
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..............................................................................................................
5. หลักฐาน/ผลงาน/การปฏิบตั ิ งานรวบยอดการประเมินผลรวบยอด)
..................................................................................................................
..................................................................................................................
.................................................................................................................
...................................................................................................................
6. แนวทางการให้คะแนน. (RUBRIC)
ด้ าน/เกณฑ์
ดีมาก (๔)
ดี (๓)
พอผ่าน (๒)
ปรับปรุ ง (๑)
7.กิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล สื่อและแหล่งการเรียนรู้
7.1 แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
7.1.1 เป้ าหมายการเรียนรู้ (ปรับมาจากคาถามที่สาคัญ)
............................................................................................
7.1.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบตั ิ การ
..................................................................
7.1.3 วิธีการตรวจให้คะแนน
............................................................................
7.1.4 กิจกรรมการเรียนรู้
...................................................................................
7.1.5 สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้
.............................................................
7.2 แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
7.2.1 เป้ าหมายการเรียนรู้ (ปรับมาจากคาถามที่สาคัญ)
..................................................................................
7.2.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบตั ิ การ
.................................................................
.................................................................................
7.2.3 วิธีการตรวจให้คะแนน
............................................................................
7. 2.4 กิจกรรมการเรียนรู้
.........................................................................................
.
........................................................................................
7.2.5 สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้.......................................
..........................................................................................
7.3 แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
7.3.1 เป้ าหมายการเรียนรู้ (ปรับมาจากคาถามที่สาคัญ).
..................................................................
7.3.2 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบตั ิ การ.
......................................................................
.........................................................................................
7.3.3 วิธีการตรวจให้คะแนน...........................................
.................................................................................
7.3.4 กิจกรรมการเรียนรู้..............................................
....................................................................................
7.3.5 สื่อการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้
....................................................................................
...................................................................................
8. แผนการจัดการเรียนรู้
8.1. แผนการจัดการเรียนรู้ แผนที่ .... (ชาื่อเรื่อง)... เวลา.......ชาัวโมง......
่
คะแนน
1. เป้ าหมายการเรียนรู้(จุดประสงค์).........................................................
...................................................................................................
2. สาระสาคัญ(concepts / ทักษะ/ กระบวนการ)................
....................................................................................................
3 สาระการเรียนรู้...............................
4 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบตั ิ การ...................................................
.......................................................................................................
5. แนวทางการตรวจให้คะแนน...................................................
6. กิจกรรมการเรียนรู้..................................
......................................................................................................
7 สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้....................................................
8. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้.......................................
..........................................................................................................
8.2. แผนการจัดการเรียนรู้ แผนที่ .... (ชาื่อเรื่อง)... เวลา.......ชาัวโมง......
่
คะแนน
1. เป้ าหมายการเรียนรู้(จุดประสงค์).........................................................
...................................................................................................
2. สาระสาคัญ(concepts / ทักษะ/ กระบวนการ)................
....................................................................................................
3 สาระการเรียนรู้...............................
4 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบตั ิ การ...................................................
.......................................................................................................
5. แนวทางการตรวจให้คะแนน...................................................
6. กิจกรรมการเรียนรู้..................................
......................................................................................................
7 สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้....................................................
8. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้.......................................
..........................................................................................................
8.3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนที่...(ชาื่อเรื่อง)... เวลา....ชาัวโมง......
่
คะแนน
1. เป้ าหมายการเรียนรู้(จุดประสงค์).........................................................
...................................................................................................
2. สาระสาคัญ(concepts / ทักษะ/ กระบวนการ)................
....................................................................................................
3 สาระการเรียนรู้...............................
4 หลักฐาน/ผลงาน/ปฏิบตั ิ การ...................................................
.......................................................................................................
5. แนวทางการตรวจให้คะแนน...................................................
6. กิจกรรมการเรียนรู้..................................
......................................................................................................
7 สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้....................................................
8. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้.......................................
..........................................................................................................
9. แผนการประเมินผลงานรวบยอด หน่ วยการเรี ยนรู้ ท่.ี ...

รายวิชาา....... ชาัน้ ........... .เวลา...........ชาม.

มาตรฐานการเรียนรู้......................
คะแนน.........คะแนน
ตัวชาี้วดั ที่ .................
 ลักษณะของงาน (จาก ข้อ 5 )
 แนวทางการตรวจให้คะแนน (จากข้อ 6 )
10.
ความคิดเห็นของผูบ้ ริหาร
.................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
ลงชื่อ.................................. ผูบ้ ริหำร
(...........................................)
........../......../...............
11. บันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหน่ วยการเรียนรู้
...................................................................................................................
.................................................................................................................
ลงชื่อ..................................ผูส้ อน
(...........................................)
คาอธิบายรายวิชา
รหัส…………………………… วิชา…………………………….. 120 ชม. 3 หน่วยกิต
ม.ฐ. 1
สาระ 1
ม.ฐ. 2
สาระ 2
ม.ฐ. 3
สาระ 3
ม.ฐ. 4
สาระ 4
ม.ฐ. 5
สาระ 5
ม.ฐ. 6
สาระ 6
หน่วย 1
2801
ม.ฐ.
ม.ฐ.2
สาระ
25 ชม.
หน่วย 2
1602
ม.ฐ.
ม.ฐ. 3
สาระ
25 ชม..
หน่วย 3
หน่วย 4
1204
ม.ฐ.
ม.ฐ.5
สาระ
20 ชม.
ม.ฐ.2405
ม.ฐ.6
สาระ
30 ชม..
แผน 1
แผน 2
แผน 3
แผน 4
50
40
4 ชม.
60
6 ชม.
50
5 ชม.
5 ชม.
SUM : COURSE
200
1000
20 ชม..
SUM : Unit
80
5 ชม..
280
????
????
ไตรรงค์ เจนการ
????
โทร 081- 7058686
[email protected]
สวัสดี
โชาคดีทกุ ๆท่าน