การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบตั ิงาน สู่การเลื่อนวิทยฐานะชานาญการพิเษ โดย นายษักดิ์ดา พูลสุ ข ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านดอน (ษรี เสริ มกสิ กร)
Download
Report
Transcript การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบตั ิงาน สู่การเลื่อนวิทยฐานะชานาญการพิเษ โดย นายษักดิ์ดา พูลสุ ข ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านดอน (ษรี เสริ มกสิ กร)
การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบตั ิงาน
สู่การเลื่อนวิทยฐานะชานาญการพิเษ
โดย
นายษักดิ์ดา พูลสุ ข
ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านดอน (ษรี เสริ มกสิ กร)
นายศักดิ์ดา พูลสุ ข
ผู้อานวยการ โรงเรียนบ้ านดอน(ศรีเสริมกสิ กร)
อันดับ คศ.4 วิทยฐานะเชี่ยวชาญ
การศึกษา กศ. ม. บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
การทางาน พ.ศ. 2519 ครู
พ.ศ. 2527 ครูใหญ่
พ.ศ. 2528 ศึกษานิเทศก์
พ.ศ. 2538 ผู้อานวยการโรงเรียนบ้ านร้ องกวาง
พ.ศ. 2543 ผู้อานวยการโรงเรียนวัดศรีดอก
พ.ศ. 2547 ผู้อานวยการโรงเรียนบ้ านดอน(ศรีเสริมกสิ กร)
ผลงานดีเด่ น
19 มกราคม พ.ศ. 2542 ผู้อานวยการโรงเรียน ระดับ 9
5 ตุลาคม 2545
ได้ รับเข็มเชิดชู เกียรติ “คุรุสดุดี”
9 พฤษภาคม 2546
บุคลากรต้ นแบบการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
พ.ศ. 2549 - ปัจจุบัน
- คณะกรรมการเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา น่ านเขต 1
- คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
นิเทศของ สพท. น่ านเขต 1
- ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินผลงานวิชาการ
วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ
เส้ นทางการเลือ่ นวิทยฐานะชานาญการพิเศษ
ส่ งคาขอประเมิน วฐ.
เข้ าอบรมตามหลักสู ตรการพัฒนา
คุณธรรมจริยธรรม
ประเมินด้ านที่ 1 และด้ านที่ 2
ส่ งรายงานผลการปฏิบัติงาน 5 - 10 หน้ า
ผลงานวิชาการ 1 เรื่อง
คุณภาพการปฏิบัติงาน
ภายใน 1 ปี
ฉบับร่ าง
หลักเกณฑ์ และวิธีการฯใหม่
1. ภาระงานสอนไม่ต่ากว่า 18 ชม/สัปดาห์
2. ผ่านเกณฑ์การประเมิน 3 ด้าน
2.1 ด้านวินยั คุณธรรมจริ ยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
2.2 ด้านคุณภาพการปฏิบตั ิงาน 1 ปี
- สมรรถนะ
- ประจัก พ์ ยานการสอนอย่างน้อย 1 กลุ่มสาระ
- รายงานการประเมินการสอน
- งานอื่นๆ
3. ผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั ิหน้าที่
- ผลการสอน
- ผลการพัฒนาที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน
ทาอย่ างไรจะได้ ชานาญการพิเศษก่ อนเข้ าสู่ เกณฑ์ ใหม่ (5,600+5,600)
1.มีผลงานนวัตกรรม
2.ไม่ มีผลงานนวัตกรรม
ยืน่ แบบวฐ.(ตค.50)
รวมกลุ่ม/ปรึ ก า
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
อบรมพัฒนา
จัดทาตามรู ปแบบ
ผลงานฯ
ประเมินด้าน 1-2
จัดพิมพ์ - รู ปเล่ม
ส่ งผลงานวิชาการ
จัดส่ งภายใน 30 กันยายน 2551
วิเคราะห์ผลงานวิชาการ
1 พ.ค. 50 - 31 มี.ค.51
รวมกลุ่ม/ปรึ ก า
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
จัดทาวิธีลดั
ภาคเรี ยนที่ 2
ประเมินคุณภาพการปฏิบัตงิ าน
การประเมินสมรรถนะ
พัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน
พัฒนาตนเอง
รับการประเมิน
เป้ าประสงค์
1. มีความรู้ ความเข้ าใจเรื่องสมรรถนะ
2. มีความรู้ ความเข้ าใจสมรรถนะหลัก
และสมรรถนะประจาสายงาน
3. ประเมินสมรรถนะ จัดทาแผนพัฒนา
ตนเองได้
เกณฑ์ผา่ นการประเมินร้อยละ 60
“ Competency ”
สมรรถนะ :คือ อะไร?
สานักงานก.พ.
• สมรรถนะคือ กลุ่มของความรู้ ความสามารถ ทักษะ
ทัศนคติที่จาเป็ นในการทางานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และประสิ ทธิผล
•
Hay Group
สมรรถนะ คือ ชุดของแบบแผน
พฤติกรรม ความสามารถทีผ่ ู้ปฏิบัติงาน
ควรมีในการปฏิบัติหน้ าที่ให้ ประสบ
ผลสาเร็จ
บริษทั ปูนซีเมนต์ไทย
สมรรถนะ คือ คุณลักษณะความสามารถ
ทีอ่ งค์ กรต้ องการให้ พนักงานมีและปฏิบัติงาน
ในความรับผิดชอบให้ สาเร็จลุล่วงด้ วยดี
สรุป
สมรรถนะ คือ ความสามารถของบุคคล
ในด้ านความรู้ ทักษะ พฤติกรรมนิสัย
ทีจ่ าเป็ นต่ อการปฏิบัตงิ านให้ บรรลุผลอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ
องค์ ประกอบของสมรรถนะ
1. ความรู้ (Knowledge)
2. ทักษะ (Skill)
3. พฤติกรรมนิสัย (Attributes)
.
ผู้ริเริ่มสมรรถนะคือใคร
Mr. David Meclelland
- นักจิตวิทยา มหาวิทยาลัย Harward
ประเทศอเมริกา
- ปี คศ.1960 (2503)
โมเดลภูเขานา้ แข็ง (Iceberg Model
คือการเปรียบเทียบลักษณะของบุคคล
เหมือนภูเขานา้ แข็งโดยมีส่วนทีเ่ ห็นได้ ง่าย
และพัฒนาได้ ง่ายคือ ส่ วนทีล่ อยอยู่เหนือนา้
และส่ วนทีม่ องเห็นได้ ยากพัฒนาได้ ยาก
คือส่ วนทีอ่ ยู่ใต้ ผวิ นา้
ข้ อมูลความรู้ที่บุคคลมีในสาขาต่ างๆ
ความเชี่ยวชาญชานาญพิเศษในด้ านต่ างๆ
องค์ความรู ้
และ
ทัก ะต่างๆ
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (social Role)
ความรู้สึกนึกคิดเกีย่ วกับเอกลักษณ์
และคุณค่าของตน
บทบาททีบ่ ุคคลแสดงออกต่ อผู้อนื่
ภาพลัก ณ์ภายใน(Self Image
ความเคยชินพฤติกรรมซ้าๆ
ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
อุปนิสัย (Traits)
จินตนาการ แนวโน้ มวิธีคดิ วิธีปฏิบัตติ น
อันเป็ นไปโดยธรรมชาติของบุคคล
แรงผลักดันเบื้องต้น ( Motive)
โมเดลภูเขานา้ แข็ง (Iceberg Model
ความสั มพันธ์ ระหว่ างคุณลักษณะของบุคคล สมรรถนะ และผลงาน
คุณลักษณะของบุคคล
สมรรถนะ
องค์ความรู ้
และ
ทัก ะต่างๆ
บทบาทที่แสดงออกต่อสังคม (social Role)
ภาพลัก ณ์ภายใน(Self Image)
สมรรถนะ
พฤติกรรม
1
2
สมรรถนะ
3
สมรรถนะ
4
อุปนิสัย (Traits)
แรงผลักดันเบื้องต้น ( Motive)
สมรรถนะ
5
ผลงาน
ประเภทของสมรรถนะ
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency)
2. สมรรถนะประจาสายงาน
(Functional Competency)
.
ความหมายของสมรรถนะหลัก
Core Competency
สมรรถนะหลัก คือ คุณลักษณะร่ วมของ
ข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ทุกตาแหน่ ง เพือ่ หล่ อหลอมค่ านิยม
และพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ร่วมกัน
สมรรถนะหลัก (Core
1.
2.
3.
4.
Competency)
การมุ่งผลสั มฤทธิ์ (Achievement Motivation)
การบริการทีด่ ี (Service Mind)
การพัฒนาตนเอง (Self Development)
การทางานเป็ นทีม (Team Work)
การมุ่งผลสั มฤทธิ์ (Achievement Motivation)
การม่ ุงผลสั มฤทธิ์ คือการปฏิบัติงานที่
เป็ นระบบม่ ุงเน้ นผลสั มฤทธิ์หรือผลการ
ปฏิบัติงานเป็ นหลัก
เป้าหมายผลสั มฤทธิ์
การประเมิน
การปฏิบัติงาน
หลักการปฏิบตั ิงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์
1. เน้ นทีว่ ตั ถุประสงค์
2. ผลงานที่สาเร็จ
3. เน้ นความร่ วมมือ
การปฏิบตั ิงานทีม่ ุ่งผลสัมฤทธิ์
ครู : แผนจัดการเรียนรู้ /สื่ อนวัตกรรม/รายงานผล
ศน. : แผนการนิเทศ/สื่ อเครื่องมือนิเทศ/รายงานผล
ผู้บริหาร : แผนปฏิบัติงาน.คู่มอื ปฏิบัตงิ าน/
นวัตกรรม/รายงานผล
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ประเมินการมุ่งผลสั มฤทธิ์
ครู
1.
2.
3.
4.
แผนจัดการเรียนรู้
นวัตกรรม
วิจยั ชั้นเรียน
รายงานผล
ศึกษานิเทศก์
1.
2.
3.
4.
แผนการนิเทศ
นวัตกรรม
คู่มือ
รายงานผล
ผู้บริหาร
1.
2.
3.
4.
แผนปฏิบัติ
คู่มือฯ
นวัตกรรม
รายงานผล
2. การบริการที่ดี (Service Mind)
คือ การจัดระบบบริการให้ มี
ประสิ ทธิภาพเพือ่ ตอบสนอง
ความต้ องการของผู้รับบริการ
ผูร้ บั บริการ
ครู : นักเรียน - ผู้ปกครองนักเรียน
ศน. : ครู - ผู้บริหาร - โรงเรียน
ผู้บริหาร : ครู : นักเรียน - ผู้ปกครองนักเรียน - ชุมชน
การจัดบริการ
1. ศึกษาความต้ องการ : สารวจข้ อมูล
2. วางแผนปรับปรุงพัฒนา : งาน/โครงการ
3. ดาเนินการ : บันทึกการบริการ
4. ประเมิน : สารวจความคิดเห็น/พึงพอใจ
การบริการที่ดี
ระดับ1
ระดับ2
ระดับ3
ระดับ4
ระดับ5
เต็มใจให้ บริการ
ให้ บริการตามที่ต้องการ
เต็มใจช่ วยแก้ปัญหา
ให้ บริการได้ ตามที่คาดหวัง
ผู้รับบริการมีความประทับใจ
สรุปการบริการทีด่ ี
ร้ ู จกั
“สวัสดี ขอโทษ ขอบคุณ”
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ประเมินการจัดบริการทีด่ ี
ครู
1.
2.
3.
4.
5.
สารวจความต้ องการ
บันทึกการประชุ ม
การประชาสั มพันธ์
การเยีย่ มบ้ าน
สอบถามความพึงพอใจ
ศึกษานิเทศก์
1.
2.
3.
4.
5.
สารวจความต้ องการ
ปฏิทนิ การนิเทศ
การประชาสั มพันธ์
รายงานการนิเทศ
สอบถามความพึงพอใจ
ผู้บริหาร
1.
2.
3.
4.
5.
สารวจความต้ องการ
แผนงาน/โครงการ
บันทึกการประชุ ม
การให้ บริการ
สอบถามความพึงพอใจ
3. การพัฒนาตนเอง
SELF DEVELOPMENT
หมายถึง การสร้ างความสามารถของตนเองให้ มีมากขึน้
และพัฒนาความสามารถที่ยงั ไม่ ได้ พฒ
ั นา
ของตนเองด้ วย
การดาเนินการพัฒนาตนเอง
1. วิเคราะห์ ตนเอง
- ประเมินตนเอง จุดเด่ น จุดด้ อย
- ประเมินสมรรถนะ
2. พัฒนาตนเอง
- ทาแผนพัฒนาตนเอง
- พัฒนาตนเองด้ วยวิธีการต่ างๆ
3. นามาใช้ พฒ
ั นางาน
วิธีการในการพัฒนาตนเอง
1. เรียนรู้ จากการปฏิบัติ (Action learning)
2. พบผู้เชี่ยวชาญ (Exspert Briefing)
3. แลกเปลีย่ นงาน (Job Swap)
4. การสอนงาน (Coaching)
5. ศึกษาดูงาน (Field trip)
6. พีเ่ ลีย้ ง (Mentoring)
7. การปฏิบัติในงาน (On the job training)
8. ศึกษาด้ วยตนเอง (Self Study)
9. ติดตามผู้มปี ระสบการณ์
(Work Shadowing)
10. มอบหมายงาน (Project Assignment)
11. ฝึ กอบรม (Training)
12. ประชุมปฏิบัตกิ าร (Workshop)
13. การสั มมนา (Seminar)
14. การประชุมต่ างๆ (Conference)
15. การเรียนรู้ ผ่านสื่ อสาเร็จรู ป CD.Rom,VDO
16. การเรียนรู้ ผ่านสื่ อทางไกล
(Distance learning)
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ประเมินการพัฒนาตนเอง
1.แฟ้ มสะสมผลงาน
2.แผนพัฒนาตนเอง
3.ข้อมูล หลักฐานการเข้าอบรม ประชุม สัมมนา
4.เอกสาร งานเขียนเผยแพร่ ความรู ้
5.การเข้าประชุมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้
การทางานเป็ นทีม(TEAM
1. วางแผนการทางานร่ วมกัน
2. รับฟังความคิดเห็น
3. ยอมรับข้ อตกลง
4. ร่ วมมือ ช่ วยเหลือ สนับสนุน
5. เป็ นผู้นา ผู้ตาม
6. ปรับตัวให้ เข้ ากับผู้อนื่
7. การเสริมแรง ให้ กาลังใจ
WORK)
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ประเมินการทางานเป็ นทีม
1.คาสัง่ แต่งตั้งเป็ นคณะกรรมการต่างๆ
2.บันทึกการมอบหมายงาน
3.การเป็ นผูน้ า ผูต้ าม
4.ผลสาเร็ จการทางานเป็ นทีม
5.ภาพถ่ายการเข้าร่ วมกิจกรรม
สมรรถนะประจาสายงาน
(Functional Competency)
คือ สมรรถนะ ที่กาหนดเฉพาะสาหรับแต่
ละตาแหน่ ง เพือ่ สนับสนุนให้ บุคลากรที่
ดารงตาแหน่ งนั้นแสดงพฤติกรรมที่
เหมาะสมกับหน้ าที่ และส่ งเสริมให้ สามารถ
ปฏิบัติภารกิจในหน้ าทีไ่ ด้ ดยี งิ่ ขึน้
สมรรถนะประจาสายงานของครู
1.
2.
3.
4.
ออกแบบการเรียนรู้
การพัฒนาผ้ ูเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การวิเคราะห์ สั งเคราะห์ และการวิจัย
ออกแบบการเรียนรู้
1. ความรู้ ความเข้ าใจในการออกแบบการเรียนรู้
.
2 ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้
3. นาผลการออกแบบการเรียนรู้ ไปใช้
หลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
หลักสู ตรสถานศึกษา
มาตรฐานการเรี ยนรู้
ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง
สาระการเรี ยนรู้
คาอธิบายรายวิชา
หน่วยการเรี ยนรู ้
แผนจัดการเรี ยนรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. จัดทาหน่ วยการเรียนรู้
2. ออกแบบการเรียนรู้
3. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
•ทาความรู้จักผู้เรียน วิเคราะห์ ผู้เรียน
•เลือกวิธีสอน/รูปแบบการสอนเทคนิคการสอน
•เลือกสื่ อ/นวัตกรรม/แหล่ งเรียนรู้
•เลือกวิธีวดั และประเมินผล
5. วัดและประเมินผลการเรียนรู้
4.จัดการเรียนรู้ตามแผนการ
จัดการเรียนรู้
6. พัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไข
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward Design
กาหนดเป้ าหมายการเรียนรู้
กาหนดการวัดผลประเมินผล กาหนดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
1. กาหนดหัวเรื่อง
2. หัวเรื่องย่ อย
3. ความเข้ าใจคงทน
ออกแบบการประเมิน
4. จิตพิสัยที่จะพัฒนา
5. กลุ่มสาระที่บูรณาการ
6. มาตฐานการเรียนรู้ของกลุ่ม สาระ
ที่บูรณาการ
7. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
8. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
9. ความรู้และทักษะคร่ อมวิชา
นักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู้
ตามเป้ าหมายการเรี ยนรู้
สอดคล้องกับการประเมิน
แผนการจัดการเรียนรู้
1. ส่ วนประกอบครบถ้ วน
2. สอดคล้องผู้เรียน
3. เน้ นกระบวนการคิด
- นักเรียนมีส่วนร่ วม
- ใช้ กระบวนการกลุ่ม
4. การวัดและประเมินผล
5. บันทึกผลหลังสอน
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ประเมินการออกแบบการเรียนรู้
1.การวิเคราะห์หลักสูตร
2.แผนการจัดการเรี ยนรู ้
3.บันทึกผลหลังสอน
4.ผลงานนักเรี ยน
5.หลักฐานการวัดและประเมินผลการสอน
2. การพัฒนาผู้เรียน
1. ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
2. พัฒนาทักษะชีวติ สุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
3. ความเป็ นประชาธิปไตย
4. ความภูมใิ จในความเป็ นไทย
5. การจัดระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
ระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
1. รู้ จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล
2. คัดกรองนักเรี ยน
กลุ่มปกติ
กลุ่มเสี่ ยง / มีปัญหา
3. ส่ งเสริ มนักเรี ยน
4. ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
ดีข้ ึน
พฤติกรรม
ดีข้ ึนหรื อไม่
ไม่ดีข้ ึน
5. ส่ งต่อ
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ประเมินการพัฒนาผู้เรียน
1.แผนการจัดการเรี ยนรู ้
2.โครงการ/กิจกรรม
3.การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน
4.ข้อมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล
5.การสอนซ่อมเสริ ม
3. การบริหารจัดการชั้นเรียน
1. การจัดบรรยากาศชั้นเรียน
2. งานธุรการชั้นเรียน
3. การกากับดูแลชั้นเรียน
ข้ อมูลทีใ่ ช้ ประเมินการบริหารจัดการชั้นเรียน
1.การจัดห้องเรี ยน
2.ป้ ายนิเทษ
3.มุมวิชาการ/สื่ อการสอน
4.เอกสารงานธุรการชั้นเรี ยน
5.สอบถามนักเรี ยน
การวิเคราะห์ สั งเคราะห์ และการวิจัย
การวิเคราะห์ หมายถึง การ
แยกแยะทางความคิด หรือทางวัตถุ ของ
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพือ่ ให้
เห็นองค์ ประกอบ
การวิเคราะห์ สั งเคราะห์ และการวิจัย
การสั งเคราะห์ หมายถึง กระบวนการ หรือ
ผลของการนาเอาปัจจัยสองอย่ างหรือมากกว่ าที่
แยกกันโดยเฉพาะ ความคิดนามารวมกันเข้ าเป็ น
หนึ่งก่อให้ เกิดสิ่ งใหม่ เครื่องมือใหม่ ทางความคิด
การวิจัย หมายถึง กระบวนการค้ นหา
ความรู้ ความจริงทีเ่ ชื่อถือได้
การประเมินเลื่อนวิทยฐานะ
วิทยฐานะ
องค์ประกอบ
ชานาญการพิเษ
เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเษ
1. ด้านวินยั คุณธรรม จริ ยธรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพ (100)
70%
75%
80%
2. คุณภาพการปฏิบตั ิงาน (100)
70%
75%
80%
3. ผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั ิ
หน้าที่ (200)
3.1 ผลการปฏิบตั ิงาน (100)
3.2 ผลงานทางวิชาการ (100)
70%
75%
80%
(เฉลี่ย)
(เฉลี่ย)
(เฉลี่ย)
65%
70%
75%
(50+20 หน้า)
(50+20 หน้า)
(10 หน้า)
65%
70%
75%
ความหมายการประเมินสมรรถนะ
การประเมินสมรรถนะ
การประเมินสมรรถนะ เป็ นกระบวนการตัดสิน ตีค่าหา
คุณภาพของความรู ้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ และ
บุคลิกลักษณะของบุคคลทีแ่ สดงออกทางพฤติกรรมการ
ปฏิบตั ิสาหรับเป็ นข้อมูลนาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ หรือ
มาตรฐานทีก่ าหนด เพือ่ ดาเนินการพัฒนาบุคคลให้
สอดคล้องกับความต้องการ และเป้าหมายขององค์กร
ความจาเป็ นในการประเมินสมรรถนะ
พรบ.การษึก าแห่งชาติ พ.ษ. 2542
หมวด7 ม.52 “ให้กระทรวงกากับ และประสานให้
สถาบันผลิต และพัฒนาครู ฯ มีความพร้อมในการ
พัฒนาบุคลากรประจาอย่างต่อเนื่อง”
สมษ.เกณฑ์ประเมินคุณภาพสถานษึก า
ม.20 ผูบ้ ริ หารมีภาวะผูน้ า และมีความสามารถ
ในการบริ หารจัดการ
ม.24 ตัวบ่งชี้ 24.3 ครู ได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอนไม่ต่า
กว่า 20 ชัว่ โมง/ปี
ความจาเป็ นในการประเมินสมรรถนะ
ก.ค.ศ.
การประเมินเพือ่ ขอมี หรือเลือ่ นวิทยฐานะครู และบุคลากร
ทางการศึกษา ให้ คานึงถึงความประพฤติ คุณภาพการ
ปฏิบัตงิ าน ( สมรรถนะ ) และผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้ าที่
( ที่ ศธ 0206.3/ว 25 )
คุรุสภา
การขอต่ อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ “ทุกคนจะมีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพต้ องพัฒนา”
การประเมินตนเอง
•ประเมินสมรรถนะหลัก
•ประเมินสมรรถนะประจาสายงาน
•สรุป
ความหมายของแผนพัฒนาตนเอง
แผนพัฒนาตนเอง
(Individual Development Plan = ID – Plan)
แผนที่บุคคลได้กาหนดขึ้ นเป็ นแนวทางในการ
เสริมสร้าง หรือเพิม่ พูนสมรรถนะ คุณลักษณะ ที่
จาเป็ นในการปฏิบตั ิงานให้มีประสิทธิภาพมุ่งสู่
คุณภาพ ระดับสูง และบรรลุเป้าหมายวิชาชีพของ
ตน
ประโยชน์ของการประเมินสมรรถนะ
► ตรวจสอบความสามารถของตนเองว่า มีสมรรถนะการ
ปฏิบตั ิงานแต่ละเรือ่ งอยู่ในระดับใด
► ได้ขอ้ มูลสาหรับการพัฒนาตนเองให้เป็ นไปในทิศทาง
ทีอ่ งค์กรต้องการ
► สามารถจัดทาแผนพัฒนาตนเอง (ID - Plan) และ
แผนพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Path)
บนพื้ นฐานข้อมูลทีเ่ ชื่อถือได้
ประโยชน์ของการประเมินสมรรถนะ
►
บุคลากรมีความกระตือรือร้นที่จะ พัฒนา
ตนเองให้มีพฤติกรรมการทางานที่ พึง
ประสงค์ เพือ่ ให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพของ
องค์กร
► สามารถวางแผนดาเนินการพัฒนา
บุคลากรได้ตรงกับความจาเป็ นของบุคลากร
เป็ นรายบุคคล และเป็ นระบบ
ประโยชน์ของการประเมินสมรรถนะ
►
มีข้อมูลที่จะใช้ เป็ นแนวทางในการพิจารณา
ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรได้ ชัดเจน
และเชื่อถือได้
► เป็ นแนวทางพิจารณาคัดเลือก /
แต่งตั้งบุคลากรให้ ดารงตาแหน่งที่สอดคล้ อง
กับสมรรถนะที่มีอยู่
ประโยชน์ของแผนพัฒนาตนเอง
ประโยชน์ของแผนพัฒนาตนเอง
ทาให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาแต่ ละคนมีแผน
สาหรับพัฒนาตนเองจากข้อมูลที่เชื่อถือได้
ทาให้รูส
้ มรรถนะที่ดี และสมรรถนะที่บกพร่อง ของ
ตน
ทาให้การพัฒนาตนเองเกิดจากความต้องการและ
ความพร้อมของผูจ้ ดั ทาแผนเอง
ประโยชน์ของแผนพัฒนาตนเอง
ประโยชน์ของแผนพัฒนาตนเอง (ต่อ)
ทาให้ได้แนวทางสาหรับการพัฒนาสมรรถนะในการ
ปฏิบตั ิงานของตนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้ นและมี
ความก้าวหน้าในวิชาชีพ
ทาให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง
อย่าง
มีเป้าหมาย
ทาให้องค์กรมีการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็ นระบบ และ
มีประสิทธิภาพ
ขอให้ ประสบความสาเร็จในการ
พัฒนาตนเอง
นาไปสู่ การพัฒนาวิชาชีพ