CAI - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript CAI - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

บทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน
คุณลักษณะเฉพาะของบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน (CIP) ซึ่งจะต้องมี
คุณลักษณะเฉพาะ 3 ด้าน คือ



1.สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนด้วย
ตนเองได้อาศัยหลักการของการสอนรายบุคคล
2.ความสะดวกสาหรับการเรียนด้วยตนเองบทเรียน
3.การออกแบบกระบวนการสอน
1.




สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้อาศัย
หลักการของการสอนรายบุคคล
ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ
1. การยืดหยุ่นในเรื่องเวลา ผูเ้ รียนแต่ละคนเรียนด้วยอัตราช้า-เร็ว ตาม
ระดับความสามารถของตนเอง เพื่อให้ผเู้ รียนทุกคนบรรลุวตั ถุประสงค์
ที่ตงั ้ ไว้
2. มีอิสระในการเลือกสถานที่เรียนไปศึกษาที่ใดก็ได้ที่มีคอมพิวเตอร์
และผูเ้ รียนมีความพอใจในสถานที่นัน้
1.





สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้อาศัย
หลักการของการสอนรายบุคคล
ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ
3. การมีอสิ ระในการเลือกเนือ้ หาและการเรียน การออกแบบควรจะมีรายการหัว
เรื่องให้ ผ้ เู รียนเลือกศึกษา โดยหัวข้ อเหล่ านั้นควรมีการวิเคราะห์ และจัดลาดับ
โดยอาศัยหลักการเรียนรู้ เป็ นสาคัญ การให้ อสิ ระในการเลือกเนือ้ หาสามารถทาได้
หลายวิธี เช่ น
สามารถย้อนกลับหรือข้ ามไปเรียนเนือ้ หาอืน่ ได้ ทนั ที
มีหัวข้ อให้ ผ้ เู รียนเลือกเรียนได้ ตามต้ องการ มีความสะดวกรวดเร็วในการทีจ่ ะไป
ตามจุดต่ างๆ
สามารถออกจากบทเรียนหรือย้ อนกลับไปเรียนในส่ วนที่ยงั ไม่ ได้ ศึกษา
1.




สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้
อาศัยหลักการของการสอนรายบุคคล
ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ
4. การวินิจฉัย การเรียนซ่อมเสริม และการยกเว้น เป็ นการวินิจฉัยความรู้ก่อน
เรียน และ หลังเรียนเป็ นสาคัญ มี 2 ชนิด คือ
วินิจฉับก่อนเรียน ทาให้ผเ้ ู รียนรู้ว่าผูเ้ รียนนัน้ ๆ มีความรู้พนื้ ฐานพอ และสามารถ ที่
จะเรียนรู้สิ่งที่จะเรียนหรือสิ่งที่ตนเองสนใจได้หรือไม่ ถ้าไม่พอก็ควร จัดบทเรียนซ่อม
เสริมให้ การวินิจฉัยก่อนเรียนมักจะทาในหน่ วยการเรียนที่ผเ้ ู รียนจาเป็ นต้องมี
พืน้ ฐานอื่นๆ มาก่อน
การวินิจฉัยหลังเรียน ส่วนนี้ ทาให้ร้วู ่า ผูเ้ รียนนัน้ ได้เกิดการเรียนรู้หรือเกิด
สมรรถภาพครบถ้วน ตามที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์หรือไม่ ถ้าขาดส่วนใดหรือไม่เกิด
การเรียนรู้ส่วนใด ก็เปิดโอกาสให้เรียนซ่อมเสริมหรือย้อนกลับไปเรียนใหม่ได้
1.



สามารถตอบสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้
อาศัยหลักการของการสอนรายบุคคล
5. การมีอิสระในการเลือกรูปแบบการเรียน ผูเ้ รียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนที่แตกต่าง
กัน จึงจาเป็ นต้องให้โอกาสผูเ้ รียนแต่ละคนได้เลือกรูปแบบการเรียน ทีต่ นเห็นว่าเป็ น
ประโยชน์ ในการเรียนของตน เช่น ให้โอกาสในเลือกหรือไม่เลือกคาอธิบายเพิ่มเติม
เพราะผูเ้ รียนบางคนอาจจะต้องการคาอธิบายเพิ่มเติม แต่อีกคนหนึ่ งอาจจะไม่
ต้องการ เพราะคิดว่าเกินความจาเป็ น ทาให้น่าเบือ่ ดังนัน้ อาจจะเปิดโอกาสให้
ผูเ้ รียนเลือกได้ตามต้องการ
2.






ความสะดวกสาหรับการเรียนด้วยตนเองบทเรียน
คอมพิวเตอร์การสอนควรจะอานวยความสะดวกในประเด็นต่อไปนี้
1. มีวิธีการใช้งานง่าย ไม่ย่งุ ยากหรือซับซ้อนเกินความสามารถของผูเ้ รียน เปิดโอกาสให้
เลือกเรียนได้อย่างอิสระ ไม่บงั คับ รวมทัง้ มีคาแนะนะการเรียนและเนื้ อหาเสริม
2. มีความสมบูรณ์เบ็ดเสร็จในตัวเอง โดยยึดหลักการสอน ผูเ้ รียนสามารถศึกษาได้ด้วย
ตนเองตัง้ แต่ต้นจนจบ
3. มีความยืดหยุ่นเรื่องของเวลาการเรียน ผูเ้ รียนสามารถใช้ในเวลาใด และนานเท่าใดก็ได้
4. มีอิสระในการเลือกสถานที่เรียน และบทเรียนคอมพิวเตอร์มีขนาดกะทัดรัด สะดวกต่อ
การพกพา
5. มีปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูเ้ รียนกับบทเรียนสูง สามารถตอบสนอง โต้ตอบ และบอกผลการ
ตอบสนองแก่ผเู้ รียนได้ทนั ที
6. มีการสื่อสารที่ดีระหว่างผูเ้ รียนกับผูใ้ ช้ โดยผูใ้ ช้ต้องรู้ว่าทาอะไร
3. การออกแบบกระบวนการสอน

เนื่ องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน (CIP) เป็ นการสอนเนื้ อหา
ใหม่ที่ผเ้ ู รียนยังไม่เคยศึกษาเนื้ อหาจากที่ใดมาก่อน ผูเ้ รียนสามารถ
ศึกษาเนื้ อหาได้ด้วยตนเอง จึงจาเป็ นจะต้องมีโครงสร้างบทเรียน
ที่
ผ่านการออกแบบอย่างดี ประกอบด้วย การนาเข้าสู่บทเรียน การสอน
การเสริมเข้าใจ การสรุปบทเรียน และการทดสอบหลังเรียน
การนาเข้าสู่บทเรียน มีจดุ มุ่งหมาย 2 ประการ คือ


1.ให้ผเู้ รียนเห็นประเด็นหรือความคิดรวบยอดในเรื่องที่จะเรียน
ทาให้ผเู้ รียนมองเห็นแนวทางหรือประเด็นที่จะเรียน ทาให้
ผูเ้ รียนตระหนักถึงสิ่งที่จะเรียนรู้ โดยใช้เรื่องที่ผเู้ รียนติดตามได้
ง่าย และใช้วิธีการที่ชดั เจน
2.นาเข้าสู่บทเรียนเพื่อสร้างความสนใจ อาจมีอารมณ์ความรู้สึก
และความศรัทธาที่แตกต่างกัน การออกแบบการนาเข้าสู่
บทเรียน ควรออกแบบให้เหมาะสมกับ เรื่องที่จะเรียน
2. การสอน


เป็ นขัน้ การนาเสนอเนื้ อหาบทเรียน ผูเ้ รียนจะเรียนเนื้ อหาจากบทเรียน
คอมพิวเตอร์ด้วยตนเอง ขัน้ สอนนี้ จะต้องมีการออกแบบการสอน ใน
ลักษณะของการสอนผ่านสื่อคอมพิวเตอร์
การสอน ซึ่งผูเ้ รียนสามารถมีปฏิสมั พันธ์กบั บทเรียนได้ รวมทังมี
้ การ
เลือกสื่อมัลติมีเดียที่เหมาะสมมาใช้ในการนาเสนอเนื้ อหาสาระ และมี
กิจกรรมต่างๆ ที่ทาให้ผเ้ ู รียนได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามที่ได้วางไว้
และสามารถเรียนได้ด้วยตนเองจนจบ โดยไม่เบื่อหรือล้มเลิกกลางคัน
เนื่ องมาจากเรียน ไม่เข้าใจ ซึ่งผูผ้ ลิตจะต้องมีการวางแผนการสอนให้
เหมาะสม
3. การเสริมความเข้าใจ

เป็ นการทากิจกรรมต่างๆ หรือแบบฝึ กหัดเพื่อเพิ่มความ
เข้าใจในหลักการเนื้ อหาได้สมบูรณ์และแม่นยาขึน้ รวมทัง้ อาจ
สร้างความเข้าใจในส่วนของการประยุกต์เนื้ อหาต่อไปอย่างไร
เพื่อความเข้าใจเรื่องราวเนื้ อหาเป็ นระบบมากขึน้ อันนาไปสู่
ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้สมบูรณ์ขึน้
4. การสรุปบทเรียน

เป็ นการสรุปประเด็นสาคัญหรือความคิดรวบยอดทีไ่ ด้เรียนไป
ให้ผเู้ รียน อีกครัง้ หนึ่ง เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้ทบทวน และ
ซักซ้อมความเข้าใจสิง่ ทีไ่ ด้เรียนมา
5. การทดสอบหลังเรียน

เป็ นการทดสอบเพือ่ วัดผลสัมฤทธิทางการเรี
ยนของ
์
ผูเ้ รียน โดยการใช้ขอ้ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์เป็ นตัวทดสอบ
เพือ่ แสดงระดับการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน หากผ่านเกณฑ์ก็
สามารถผ่านหน่วยการเรียนไปได้
ใครเป็ นคนใช้






นักวิชาการ
นักการศึกษา
นักฝึกอบรม
นักศึกษา
นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
นักธุรกิจทัวไป
่
ชนิดและรูปแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน

IMMCI-Package คือ Interactive MultiMedia Computer Instruction
Packag งานพัฒ นาทาง IMMCI-Packagจะมี บ ทบาทส าคัญ มาก ในการ
พัฒ นาความรู้ข องมนุ ษ ย์ แบบทางไกล แบบอิ ส ระบนทางด่ ว นข้ อ มู ล
(Internet) จะทาให้การพัฒนาความรอบรู้ของมนุษย์แบบ
ไม่จากัด
เวลา สถานที่ และวัยของผู้เรียน รวมทัง้ ไม่จากัดภาษา หรือประเทศ ระยะ
ทางไกล ใกล้ จะไม่ เป็ นอุป สรรค์ใ นการเรี ย นรู้อี กต่ อ ไป IMMCI-Packag
บนทางด่วนข้อมูลจะทาให้ทุกอย่างเป็ นจริงได้ บทเรียนคอมพิวเตอร์การ
สอน เป็ นการใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาเสริมประสิทธิภาพการเรียน
การสอน ใช้ แทนการสอนขณะที่ สอนในห้องเรียนหรือนอกห้ องเรียน ทัง้
ทางไกลและทางใกล้ สามารถสอนความรู้ใหม่ และสอนซ่ อมเสริมความรู้
ที่เรียนมาแล้ว เป็ นต้น
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เทย์เลอร์ (Taylor.1980)

ได้อธิบายว่า เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ 3 ลักษณะ คือ

1) ใช้เพื่อการทบทวนบทเรียน
2) ใช้เป็ นเครื่องมือและ
3) ใช้เป็ นเครื่องฝึ ก
1 การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นสื่อทบทวนบทเรียน (Tutor)

ในบางรายวิชานัน้ เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยในการทบทวนบทเรียนบาง
เนื้อหาได้ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเนื้อหานัน้ เป็ นผูพ้ ฒ
ั นาโปรแกรมขึน้ มา ใน
โปรแกรมทบทวนบทเรียนคอมพิวเตอร์จะเสนอสิง่ เร้า ซึง่ อาจจะเป็ นข้อความ
คาถาม รูปภาพ หรือกราฟิก และอื่น ๆ ทีเ่ ร้าให้ผเู้ รียนตอบสนอง เมือ่ ได้รบั ผล
การตอบสนองจากผูเ้ รียนแล้ว คอมพิวเตอร์จะประเมินการตอบสนอง และตัดสิน
ว่า ควรเสนอสิง่ เร้าอะไรในช่วงต่อไปตามโปรแกรมทีไ่ ด้สร้างไว้และเมือ่ สิน้ สุด
การทบทวนคอมพิวเตอร์กจ็ ะบันทึกข้อมูลเกีย่ วกับการเรียน และอื่น ๆ เกีย่ วกับ
ผูเ้ รียนทีใ่ ช้โปรแกรมทบทวนนัน้ เอาไว้
2 การใช้เป็ นเครื่องมือ (Tool)

ในบางรายวิชาจาเป็ นต้องใช้เครือ่ งมือในการเรียน เช่น วิชาฟิสกิ ส์
คณิตศาสตร์ และสถิติ คอมพิวเตอร์จะเข้าไปมีบทบาทในฐานะทีเ่ ป็ น
เครือ่ งมือใน การเรียนได้ เช่น ใช้ในการคานวณ การประมวลผลข้อมูล
การวิเคราะห์คา่ ทางสถิติ และการสร้างกราฟจากข้อมูล เป็ นต้น
3 ใช้เป็ นเครื่องฝึ ก

การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ งฝึก จะทาให้ครูและผูเ้ รียนได้เรียนรูแ้ ละมี
ประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ รวมทัง้ ได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับการสร้างโปรแกรม
หรือ การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็จของคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง
การใช้คอมพิวเตอร์ เป็ นเครือ่ งฝึกมีประโยชน์ดงั นี้
ทาให้ครูทจ่ี าเป็ นต้องสอนวิชาเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ ได้มโี อกาสศึกษางาน
ล่วงหน้าก่อนทีจ่ ะจัดเข้าไปในกิจกรรมการเรียนการสอน
ช่วยให้ผเู้ รียนได้เข้าใจการทางานของคอมพิวเตอร์ และมีประสบการณ์ใน การ
สร้างหรือการใช้โปรแกรม และ
ผูเ้ รียนทีไ่ ด้ฝึกการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อาจสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ใช้งานขึน้ มา ทาให้ชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยในการจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพือ่ ใช้
งาน
คาว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer - Assisted Instruction Lesson)
n
นี้ มีกลุ่มคาทีม่ คี วามหมายคล้ายกันอีกมาก เช่น
Computer - Assisted Education
Computer - Assisted Learning
Computer Aided Teaching
Computer Aided Instruction
Computer Administration Education
Computer Based Instruction
Computer Assisted Teaching and Learning
ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน





คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI-Computer Assisted Instruction) เคยนิยมใช้ในสหรัฐอเมริกา มี
ความหมายว่า การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ งช่วย
ปจั จุบนั ใช้วา่ CBT (Computer Based Teaching หรือ Computer Based Training) มากกว่า คา
ใหม่น้ี ถ้าแปลตามตัวก็คงหมายถึง การสอนหรือการฝึกอบรมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ นหลัก
ในสหรัฐอเมริกาก็ยงั มีคาทีน่ ิยมใช้กนั อีกคาหนึ่ง คือ CMI (Computer Managed Instruction)
หมายถึง การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยจัดการให้
คาทีน่ ิยมกันมากในยุโรปในปจั จุบนั คือ CBE (Computer Based Education) หมายถึง การศึกษา
โดยอาศัยคอมพิวเตอร์เป็ นหลัก
นอกจากนี้ ก็มอี กี 2 คาทีแ่ พร่หลายเช่นกัน คือ CAL (Computer Accessed Learning) และ CML
(Computer Managed Learning) นันคื
่ อเปลีย่ นตัวสุดท้ายจาก การสอน (Instruction) เป็ นการ
เรียน (Learning) สาหรับในประเทศไทยนัน้ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องนิยมใช้คาว่า CAI มากกว่า CBT หรือคา
อื่น ๆ ส่วนในภาษาไทยนัน้ ใช้แตกต่างกันไป เช่น ใช้คาว่าบทเรียน CAI ตรงตัว บทเรียน
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน บทเรียนช่วยสอนด้วยคอมพิวเตอร์ บทเรียนสาเร็จรูปด้วยคอมพิวเตอร์
โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์หรืออื่น ๆ
ลักษณะสาคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ

1) สามารถเลียนแบบการสอนได้และ
2) มีสมรรถภาพในการรวบรวมสารสนเทศและข้อมูลต่าง ๆ ทัง้ จุดเด่นและจุด
ด้อยของ ปฏิสมั พันธ์การสอนได้ คุณลักษณะทัง้ 2 ประการนี้ อาจเป็ นสิง่ จาเป็ น
ถ้าเราสามารถพัฒนาคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนให้เป็ นเทคโนโลยีการสอนได้ แต่
ความบกพร่องของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนในปจั จุบนั ก็คอื โปรแกรมบทเรียนหรือ
คอร์สแวร์ (Courseware) หรือโปรแกรมทีน่ กั พัฒนาโปรแกรมผลิตออกสู่
ท้องตลาด ซึง่ บทเรียนทัง้ หลายเหล่านัน้ ยังไม่ได้ผา่ นการทดสอบหรือทดลอง
จริงในห้องเรียนมาก่อน
นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้แตกต่างกัน ดังนี้ :

Stolurow (1971) ได้กล่าวถึงคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนสรุปได้วา่ คอมพิวเตอร์ชว่ ย
สอนเป็ นวิธกี ารของการสอนรายบุคคล โดยอาศัยความสามารถของเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ทจ่ี ะจัดเนื้อหาประสบการณ์ทม่ี คี วามสัมพันธ์กนั มีการแสดงเนื้อหา
ตามลาดับทีแ่ ตกต่างกันด้วยบทเรียนโปรแกรมทีเ่ ตรียมไว้อย่างเหมาะสม

ยืน ภู่วรวรรณ (2532) ให้ความหมายว่า "คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน คือ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ทไ่ี ด้นาเนื้อหาวิชาและลาดับวิธกี ารสอนมาบันทึกเก็บไว้
คอมพิวเตอร์จะช่วยนาบทเรียนทีเ่ ตรียมไว้อย่างเป็ นระบบมาเสนอในรูปแบบที่
เหมาะสมสาหรับนักเรียนแต่ละคน"
นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้แตกต่างกัน ดังนี้ :


ขนิษฐา ชานนท์ (2532) ให้ความหมายว่า คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หมายถึง การ
นาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็ นเครือ่ งมือในการเรียนการสอน โดยทีเ่ นื้อหาวิชา
แบบฝึกหัดและการทดสอบจะถูกพัฒนาขึน้ ในรูปแบบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ซึง่ มักเรียกว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ Computer Courseware ผูเ้ รียนจะเรียน
บทเรียนจากคอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์จะสามารถเสนอเนื้อหาวิชาซึง่ อาจจะ
เป็ นทัง้ ในรูปตัวหนังสือและภาพกราฟิกสามารถถามคาถาม รับคาตอบจาก
ผูเ้ รียน ตรวจคาตอบ และแสดงผลการเรียนในรูปของข้อมูลย้อนกลับ
(feedback) ให้แก่ผเู้ รียน
ศ.ดร.ศรีศกั ดิ ์ จามรมาน: การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ งช่วย
นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้แตกต่างกัน ดังนี้ :

n
n
รศ.ดร.ฉลอง ทับศรี: บทเรียนทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์เป็ นตัวนาเสนอเนื้อหาและ
กิจกรรมการเรียน ส่วนใหญ่มงุ่ ทีจ่ ะให้ผเู้ รียนเรียนด้วยตนเองเป็ นหลัก
ดร.สุกรี รอดโพธิ ์ทอง: โปรแกรมคอมพิวเตอร์หลายๆรูปแบบ ทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ เพือ่
ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการสอนและการรับรูข้ องผูเ้ รียน
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข: เป็ นกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สอ่ื คอมพิวเตอร์
ในการนาเสนอเนื้อหาเรือ่ งราวต่างๆ มีลกั ษณะเป็ นการเรียนโดยตรง และเป็ น
การเรียน แบบมีปฏิสมั พันธ์ (Interactive) คือสามารถโต้ตอบระหว่างผูเ้ รียนกับ
คอมพิวเตอร์ได้
สารานุกรมศัพท์การศึกษาและจิตวิทยา สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
ม.สุโขทัยธรรมาธิราช:

การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในระบบการเรียนการสอนวิชาต่างๆ เช่น
วิชาสังคม ศิลป วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย
ภาษาต่างประเทศ รวมทัง้ วิชาคอมพิวเตอร์ โดยถือว่า คอมพิวเตอร์
เป็ นสือ่ ในระบบการเรียนการสอนทีส่ ามารถให้ผเู้ รียนรูผ้ ลการ
ตอบสนองได้รวดเร็วกว่าสือ่ ประเภทอื่น ยกเว้นสือ่ บุคคล
จากความหมายดังกล่าวอาจสรุปได้ว่า

คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเป็ นเครือ่ งมือช่วยครูในการเรียนการ
สอน โดยบรรจุเนื้อหาทีจ่ ะสอนไว้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพือ่ ให้นกั เรียนสามารถเรียนได้ดว้ ยตนเอง และมีเทคนิคการ
สอนทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูเ้ รียนและ
เครือ่ งคอมพิวเตอร์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อาจหมายถึง

สือ่ การสอนทีใ่ ช้เทคโนโลยีระดับสูงทาให้เกิดการมีปฏิสมั พันธ์กนั ได้ระหว่าง
ผูเ้ รียนกับเครือ่ งคอมพิวเตอร์ มีความสามารถในการตอบสนองต่อ ข้อมูลที่
ผูเ้ รียนป้อนเข้าไปได้ทนั ที เป็ นการช่วยเสริมแรงแก่ผเู้ รียน ซึง่ บทเรียนจะมี
ตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทัง้ เสียงประกอบ ทาให้
ผูเ้ รียนสนุกไปกับการเรียนด้วย
คุณลักษณะความเป็ น CAI
Information : ข้อมูลเนื้อหามีสาระสาคัญ
Individual : สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
Interactive : การมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูใ้ ช้
Immediate : ตอบสนองและป้อนกลับได้ทนั ที
ผูเ้ กี่ยวข้องในการสร้าง CAI




1. ผูเ้ ชีย่ วชาญ
ผูเ้ ชีย่ วชาญเนื้อหา >> ครูผสู้ อน นักวิชาการ
ผูเ้ ชีย่ วชาญการสอน >> ครูผสู้ อน
ผูเ้ ชีย่ วชาญสือ่ >> นักเทคโนโลยีการศึกษา
ผูเ้ ชีย่ วชาญโปรแกรม >> โปรแกรมเมอร์
2. ผูอ้ อกแบบและพัฒนา
ผูว้ เิ คราะห์และออกแบบระบบ วัดผลประเมินผล ทดสอบการทางาน
3. ผูบ้ ริหารโครงการ
4. ผูบ้ ริหารจัดการด้านการเงิน การจัดหาอุปกรณ์ การประสานงานผลิต
เครือ่ งมือในการสร้าง CAI





1. ภาษาโปรแกรมระดับสูง (high-level languages) เช่น BASIC, Pascal, Logo
และ C
2. ภาษานิพนธ์บทเรียน (authoring languages) เช่น Coursewriter, Pilot และ
Tutor
3. ระบบนิพนธ์บทเรียน (authoring systems) เช่น PHOENIX, DECAL, IconAuthor, InfoWindow, LS1, SOCRATIC และ Authorware
4. เครื่องช่วยนิพนธ์บทเรียน (authoring utilities) ซึ่งแบ่งออกได้อีกหลายชนิด
เช่น lesson shell (ตัวอย่างโปรแกรม: Apple Shell Games), code generator
(ตัวอย่างโปรแกรม: Screen Sculptor) และ library routines
5. เครื่องมือการสร้าง (authoring tools) เช่น Authorware, ToolBook,EZ
tools Chula CAI ฯลฯ
วิธีในการสร้าง CAI
หลักการพืน้ ฐานในการพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอร์การสอน
• วิธกี ารพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน (Computer Instruction Package)
• โดยนาวิธกี ารพัฒนาแบบ IMMCI : Interactive Multimedia Computer Instruction
ซึง่ กาหนดวิธกี ารโดยคณะครุศาสตร อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล
าธนบุรี มาเป นแนวทางในการพัฒนา
• ซึง่ เป นรูปแบบการพัฒนาคอมพิวเตอร สาเร็จรูปแบบทีเ่ น นการมีปฏิสมั พันธ
กับบทเรียน ด วยมัลติมเี ดีย(Multimedia) และเน นให เป นบทเรียนทีส่ ามารถ
นามาใช สอนแทนครูผู สอนได ซึง่ จะเป็ นบทเรียนคอมพิวเตอร์ ทีม่ บี ทบาทมากใน
อนาคต สาหรับการจัดการเรียนการสอนแบบรายบุคคล (Individual Instruction) และการ
จัดการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) ผ านเครือข าย อินเตอร์เน็ท
(Internet)
การสร าง IMMCI : Interactive MultiMedia Computer
Instruction มี 5 ขัน้ ตอน คือ
1. การวิเคราะห (Analysis)
2. การออกแบบ (Design)
3. การพัฒนา (Develop)
4. การสร าง (Implement)
5. การประเมินผล (Evaluation)
ในขัน้ ตอนการพัฒนา 5 ขัน้ ตอนนี้
ในแต ละขัน้ ตอนสามารถแบ งเป็ นขัน้ ตอนย อย ๆ
ได รวมทัง้ หมด 16 ขัน้ ตอน ดังรูป
วิธีในการสร้าง
CAI
วิธีในการสร้าง CAI
ประโยชน์ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน



การศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนเป็ นการผสานรวมกันของมัลติมเี ดีย
หลากชนิดทาให้บทเรียนทีไ่ ด้มคี วามน่าสนใจสามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
ของผูเ้ รียนได้เป็ นอย่างดี
บทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนเป็ นบทเรียนทีเ่ กิดจากการวิเคราะห์รวบรวมข้อมูล
จากผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขาต่างๆ ทาให้บทเรียนทีไ่ ด้มคี วามน่าเชื่อถือ ถูกต้อง
ตามหลักการเรียนการสอน เป็ นระบบ สามารถนาไปพัฒนาต่อไปให้ม ี
คุณภาพและระดับทีส่ งู ขึน้ ได้ และผูเ้ รียนจะได้รบั ความรูท้ ถ่ี กู ต้องเหมาะสมใน
รูปแบบทีเ่ ป็ นไปตามทฤษีการเรียนรูต้ ามระดับของผูเ้ รียน
เนื้อหาของบทเรียนเป็ นลาดับขัน้ ตอนทีช่ ดั เจน เหมาะสมกับวัย มีสว่ นของ
บทเรียนทีท่ าหน้าทีช่ ว่ ยเหลือผูเ้ รียนทาให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ และสามารถ
เข้าใจเนื้อหาได้เร็ว ด้วยวิธที ง่ี า่ ย ๆ
ก. Analysis



สร้างแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart) โดยเริม่ จากเขียนชือ่ วิชาไว้ตรงกลางกระดานแล้วให้
ผูเ้ ชีย่ วชาญในวิชานัน้ ๆ จานวน 4-5 คนช่วยกันระดมสมองให้หวั เรือ่ งทีค่ วรจะสอนในวิชานัน้ เขียนโยง
กับชือ่ วิชาอย่างอิสระหรือหากเป็ นหัวเรือ่ งย่อยก็โยงกับหัวเรือ่ งหลักต่อไป โดยไม่ทาการลอกแบบของ
ตาราเล่มใดเล่มหนึ่งเลย เมือ่ เสร็จสิน้ การระดมสมองแผนภูมทิ ไ่ี ด้เป็ นแผนภูมริ ะดมสมอง
สร้างแผนภูมิหวั เรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart) จากแผนภูมริ ะดมสมองนามาทาการวิเคราะห์ความ
ถูกต้องของทฤษฎีหลักการและเหตุผลความสัมพันธ์และต่อเนื่องกันอย่างละเอียด อาจมี การตัด-เพิม่
หัวเรือ่ งตามเหตุผลและความเหมาะสมจนสามารถอธิบายและตอบคาถามได้ผลทีไ่ ด้เป็ นแผนภูมหิ วั เรือ่ ง
สัมพันธ์ (Concept Chart)
สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้ อหา (Content Network Chart) นาหัวเรือ่ งต่างๆ จากแผนภูม ิ หัวเรือ่ ง
สัมพันธ์มาเขียนเป็ นโครงข่าย โดยคานึงถึงความก่อน-หลังต่อเนื่องหรือขนานกันตามหลักการเทคนิค
โครงข่าย แล้วทาการวิเคราะห์เหตุผลความสัมพันธ์ของเนื้อหาโดยวิธกี ารวิเคราะห์ขา่ ยงาน (Network
Analysis) จนสมบูรณ์ผลทีไ่ ด้จะเป็ นโครงข่ายเนื้อหาทีต่ อ้ งการ
ข. Design


การกาหนดกลวิธีการนาเสนอและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Strategic
Presentation Plan vs Behavior Objective) โดยเริม่ จากแผนภูมโิ ครงข่ายเนื้อหานามา
พิจารณากลุม่ หัวเรือ่ งทีส่ ามารถจัดไว้ในหน่วยเดียวกันได้ ภายใต้กรอบเวลาทีก่ าหนดไว้ตี
เป็ นกรอบๆ ไว้จนครบหัวเรือ่ งบนโครงข่ายเนื้อหา จากนัน้ กาหนดเป็ นหน่วยๆ และ
กาหนดอันดับไว้แล้วเขียนกากับด้วยวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมของเนื้อหาแต่ละตอนให้
ชัดเจน จากนัน้ นากรอบหน่วย (Module)
มาลาดับการนาเสนอตามอันดับและ
ความสัมพันธ์แนวเดียวกับแผนภูมโิ ครงข่ายเนื้อหาซึง่ จะได้ผลเป็ นแผนภูมบิ ทเรียน
(Course Flow Chart)
สร้างแผนภูมิการนาเสนอในแต่ละหน่ วย (Module Presentation Chart) ซึง่ เป็ นการ
ออกแบบ การสอน (Instructional Design) จะต้องออกแบบลาดับ การนาเสนอเนื้อหา
บทเรียนตาม หลักการสอนจริง อันเป็ นส่วนทีส่ าคัญมากในการประกันคุณภาพ การเรียน
จากบทเรียน IMMCAI
ค. Development




เขียนรายละเอียดเนื้ อหาตามรูปแบบที่ได้กาหนด (Script Development) โดยเขียนเป็ นกรอบๆ
จะต้องเขียนให้เป็ นไปตามทีไ่ ด้ออกแบบไว้ โดยเฉพาะถ้าเป็ น IMM จะต้องกาหนดภาพ เสียง สี ฯลฯ
และการกาหนดปฏิสมั พันธ์ (Interactive) ไว้ให้สมบูรณ์ดว้ ย
จัดทาลาดับเนื้ อหา (Story board Development) เป็ นการนากรอบเนื้อหา หรือทีเ่ ขียนเป็ น Script มา
เรียบเรียงตามลาดับการนาเสนอตามทีไ่ ด้วางแผนไว้ ซึง่ จะยังเป็ นเอกสารสิง่ พิมพ์อยู่ การลาดับกรอบนี้
สาคัญมาก
นาเนื้ อหาที่ยงั เป็ นสิ่งพิมพ์นี้มา ตรวจสอบความถูกต้อง (Content Correctness) โดยเฉพาะเป็น
การสร้าง IMMCI ทีเ่ ป็ นการเขียนตาราใหม่ทงั ้ เรือ่ ง ควรอาศัยผูเ้ ชีย่ วชาญในวิชานัน้ ๆ (Subject
Specialist) เป็ นผูต้ รวจสอบให้ จากนัน้ จะต้องนาเนื้อหาไปทดลองหาค่า Content Validity และ Reader
Reliability โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป้าหมายมาทดสอบด้วย แล้วปรับปรุงให้สมบูรณ์
การสร้างแบบทดสอบส่วนต่างๆ ต้องนามาหาความยากง่าย อานาจจาแนกความเทีย่ ง และ
ความเชือ่ มันทุ
่ กแบบทดสอบ และต้องปรับปรุงให้สมบูรณ์ผลทีไ่ ด้ทงั ้ หมดทัง้ เนื้อหา (ทีจ่ ดั อยูใ่ น
โครงสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์แล้ว) และแบบทดสอบต่างๆรวมกันจะเป็ นตัวบทเรียน (Courseware)
ง. Implementation



เลือก Software หรือ โปรแกรมสาเร็จรูปทีเ่ หมาะและสามารถสนองตอบต่อ
ความต้องการทีก่ าหนดไว้ เป็ นตัวจัดการนาเสนอบทเรียนบนคอมพิวเตอร์
จัดเตรียมรูปภาพ เสียง หรือการถ่ายวิดีโอ หรือภาพนิ่ง หรือ Caption ไว้
พร้อมทีจ่ ะใช้งาน สร้างไว้เป็ นแฟ้มๆ
จัดการนา Courseware เข้าในโปรแกรม (Coding) ด้วยความประณีต
และด้วยทักษะทีด่ ี ทาการ Edit ภาพ เสียง VDO ให้เรียบร้อยสมบูรณ์ ซึง่ จะ
ได้เป็ นบทเรียน (วิชา) บนคอมพิวเตอร์ตามทีต่ อ้ งการ [(Subject) IMMCI
Software]
จ. Evaluation




การตรวจสอบคุณภาพของ Package (Quality Evaluation) จัดการให้คณะผูเ้ ชีย่ วชาญ
ทาง IMMCI ตรวจสอบคุณภาพของ Package ปรับปรุงให้สมบูรณ์
ทาการทดลองการดาเนินการทดสอบหาประสิทธิภาพ ด้วยกลุม่ ตัวอย่างเป้าหมาย
จานวนไม่เกิน 10 คน ทาการปรับปรุง และนาผลมากาหนดกลวิธกี ารหาประสิทธิภาพ
จริงต่อไป
ทาการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ (efficiency E1/E2) ของ Package และหา
ผลสัมฤทธิ ์ทาง
การเรียน (Effectiveness) จากกลุม่ ตัวอย่างเป้าหมายไม่น้อย
กว่า 30 คน หากได้ผลตามเป้าหมาย
ทีต่ อ้ งการเป็ นอันใช้ได้
จัดทาคู่มือการใช้ Package (User Manual) หรือ Package Instruction ควร
ประกอบด้วยหัวเรือ่ งดังนี้ บทนา อุปกรณ์ทใ่ี ช้งานการกาหนดหน้าจอมอนิเตอร์การเริม่
เข้าบทเรียน เป้าหมายของบทเรียน ข้อมูลเสริมทีส่ าคัญ ข้อควรระวังข้อมูลผูพ้ ฒ
ั นา
บทเรียน และวันทีเ่ ผยแพร่
เทคโนโลยีที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอร์การสอน
n
จากการศึกษาถึงกระบวนการขัน้ ตอนการพัฒนาบทเรียน
คอมพิวเตอร์การสอนจะพบว่าใน การพัฒนานัน้ จะมีองค์ประกอบหลัก
ที่สาคัญอยู่ 4 ประการ คือ
n
n
n
n
1.
2.
3.
4.
เนื้ อหาบทเรียน
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
ระบบคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีเครือข่าย
องค์ประกอบทัง้
4 ประการ จะ
ประกอบไปด้วย
รายละเอียดปลีกย่อย
ดังแผนภูมิ
ประโยชน์ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน



ผูเ้ รียนมีการโต้ตอบ ปฏิสมั พันธ์กบั คอมพิวเตอร์ และบทเรียนฯ มีโอกาสเลือก
ตัดสินใจ และได้รบั การเสริมแรงจากการได้รบั ข้อมูลย้อนกลับทันที
ลักษณะของบทเรียนเป็ นการเรียนรูจ้ ากสิง่ ทีเ่ ข้าใจง่ายไปสูส่ งิ่ ทีเ่ ข้าใจยาก และ
สามารถจาลองสิง่ ทีเ่ ป็ นนามธรรมเป็ นนามธรรมช่วยให้ผเู้ รียนมีความคงทนใน
การเรียนรูส้ งู เพราะเนื้อหาไม่ยาก อีกทัง้ บทเรียนสามารถสร้างปฏิสมั พันธ์กบั
ผูเ้ รียนทาให้มโี อกาสปฏิบตั กิ จิ กรรมด้วยตนเอง ซึง่ จะเข้าใจบทเรียนมากยิง่ ขึน้
ผูเ้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้ตามความสนใจ และความสามารถของตนเอง บทเรียน
มีความยืดหยุน่ สามารถเรียนซ้าได้ตามทีต่ อ้ งการ
ประโยชน์ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอน




ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบต่อคนเอง ต้องควบคุมการเรียนด้วยตนเอง
มีการแก้ปญั หา และฝึกคิดอย่างมีเหตุผล
สร้างความพึงพอใจแก่ผเู้ รียน เกิดทัศนคติทด่ี ตี ่อการเรียน สามารถรับรูผ้ ลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียน ได้อย่างรวดเร็ว เป็ นการท้าทายผูเ้ รียน และเสริมแรงให้อยากเรียนต่อ
ทาให้ครูมเี วลามากขึน้ ทีจ่ ะช่วยเหลือผูเ้ รียนในการเสริมความรู้ หรือช่วยผูเ้ รียนคนอื่น
ทีเ่ รียนอ่อน
ประหยัดเวลา และงบประมาณในการจัดการเรียนการสอน โดยลดความจาเป็ นที่
จะต้องใช้ครูทม่ี ปี ระสบการณ์สงู หรือเครือ่ งมือราคาแพง เครือ่ งมืออันตราย
ลดช่องว่างการเรียนรูร้ ะหว่างโรงเรียนในเมือง และชนบท เพราะสามารถส่ง
บทเรียนฯ ไปยังโรงเรียนชนบทให้เรียนรูไ้ ด้ดว้ ย
ข้อเสียของคอมพิวเตอร์การสอน



การเรียนการสอนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนแต่เพียงอย่างเดียวทาให้
นักเรียนขาดการปฏิสมั พันธ์กบั สังคมในลักษณะของการเป็ นอยูร่ ว่ มกันในสังคม
ถ้าผูเ้ รียนไม่ได้รบั การดูแลอย่างทัวถึ
่ งอาจส่งผลกระทบต่อคุณธรรม จริยธรรม
ของผูเ้ รียนได้
การพัฒนาบทเรียนต้องใช้ผเู้ ชีย่ วชาญหลายท่านจากหลากสาขา ทาให้
กระบวนการพัฒนาเป็ นไปด้วยความยากลาบาก
การส่งเสริมให้มกี ารเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนทัง้ คอร์สยัง
เป็ นไปได้ยากเนื่องจากการพัฒนาบทเรียนมีอยูใ่ นวงจากัด ทาให้บทเรียนไม่
ครบทัง้ คอร์ส
ข้อเสียของคอมพิวเตอร์การสอน




การจัดการการบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนผ่านระบบเครือข่ายมีความซับซ้อน
ต้องใช้ผเู้ ชีย่ วชาญทัง้ ด้านการศึกษาและระบบคอมพิวเตอร์ในการพัฒนา
เนื่องจากรูปแบบการศึกษาในปจั จุบนั มีความหลากหลายตามลักษณะของ
ท้องถิน่ ทาให้บทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนต้องมีการพัฒนาทีห่ ลากหลายตาม
ไปด้วย ทาให้มาตรฐานการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนแต่ละท้องถิน่ แตกต่างกัน
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนต้องใช้เวลาในการพัฒนายาวนาน
อาจทาให้บทเรียนทีส่ าเร็จไม่ทนั ต่อยุคสมัยของการเรียนรู้ เช่น วิชา
คอมพิวเตอร์ทม่ี กี ารพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
บทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนไม่สามารถส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบ
วินยั ให้กบั ผูเ้ รียนได้ จึงต้องมีการควบคุม อบรมจากครอบครัว ครู และสังคม
ควบคูต่ ลอดเวลา
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ได้กล่าวถึงแนวโน้ มในอนาคตของ CAIไว้ว่า






CAI online
Learning Organization
Training on the workplace
Anytime Anywhere
ICAI
Virtual Reality
แนวโน้ มของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในปี 2555


ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ได้กล่าวถึงแนวโน้มในอนาคตของ CAIไว้วา่ จะเป็ น CAI
ในรูปแบบของVirtual Reality
ซึง่ ปจั จุบนั นี้จากการทีค่ อมพิวเตอร์ได้รบั การพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว
โปรแกรมช่วยพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน จึงได้รบั การพัฒนาให้ม ี
ศักยภาพมากขึน้ ด้วยเช่นกัน ทัง้ ในแง่ของความสะดวกในการใช้ และการ
เปลีย่ นแปลงรวมไปถึงเทคโนโลยีทเ่ี กิดขึน้ และพัฒนาอยูต่ ลอดเวลานัน้
เทคโนโลยี Virtual Reality จะเป็ นอีกเทคโนโลยีหนึ่งทีม่ คี วามสามารถเป็ นตัว
ช่วยในการพัฒนาและการนาเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน และจาก
ความสามารถดังกล่าวแล้วจะกลายมาเป็ นองค์ประกอบหลักของบทเรียน
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนในรูปแบบของ Virtual Reality ในปี 2555