โรงเรียนมาตรฐานสากล 3

Download Report

Transcript โรงเรียนมาตรฐานสากล 3

ขวัญชีวา วรรณพินทุ
สานักบริหารงานมัธยมศึกษาตอนปลาย สพฐ.
ผู้เรียนมีศักยภาพเป็ นพลโลก
หลักสูตรและการสอน
เทียบมาตรฐานสากล
บริหารด้ วยระบบคุณภาพ
ผลสั มฤทธิ์ทางวิชาการ
Digital-Age Literacy
รู้ ภาษายุคดิจติ ลั
Inventive Thinking
การคิดประดิษฐ์ -สร้ าง
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Effective
High Productivity
Communication
สื่ อสารมีประสิ ทธิผล
มีผลิตภาพสู ง
Academic Achievement
หลักสูตร
กลยุทธ์
World-Class
Curriculum & Instruction
วิสัยทัศน์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
“..มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็ นกาลังของ
ชาติให้ เป็ นมนุษย์ ทมี่ คี วามสมดุลทั้งด้ าน
ร่ างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกใน
ความเป็ นพลเมืองไทย และเป็ นพลโลก....”
หล ักการของหล ักสูตร
ความเป็ นเอกภาพ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้ เป็ นเป้ าหมายพัฒนาเด็กและเยาวชนให้ มี
ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐาน
ของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
จุดหมาย
มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ น
พลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถชี ีวติ
และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
World-Class School ?
ศิลปะ/
ดนตรี
โปรแกรม
เฉพาะ
ทางอืน่ ๆ
EIL/
EIS
ScienceMath
EP/M
EP
HUB
Sister
 Learn to know
 Learn to be
 Learn to do
 Learn to live together
หลักสูตรความเป็ นสากล
Theory of Knowledge ทฤษฏีความร้ ู
 Extended essay การเขียนความเรี ยงชั้ นสู ง
 CAS (Creativity, action, services) กิจกรรมสร้ างสรรค์
ประโยชน์
 Global Education โลกศึ กษา
 ภาษาอังกฤษ
 ภาษาต่ างประเทศที่ 2

Theory of Knowledge
TOK เป็ นสาระการเรียนรู้ ทวี่ ่ าด้ วยเรื่องประเด็น
ความรู้ ต่างๆ (Knowledge Issues) องค์ ความรู้
(Body of Knowledge) และทฤษฎีความรู้ (Theory)
ของสาระการเรียนรู้ พนื้ ฐานทั้งหมด
(Interdisciplinary) ในเชิงบูรณาการ
วิถขี องการรู้
Ways of
Knowing
How do we know?
เป็ นวิชา
สหวิทยาการ
Interdisciplinary
Course
ขอบข่ ายของความรู้
Areas of
Knowledge
What do we
OUTCOMES
(claim to )know?
มุ่งพัฒนาทักษะ
การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์
Critical Thinking
Theory of Knowledge Diagram
Theory of Knowledge Diagram
ตัวผู้รู้
KNOWER(S
)
Extended essay
การเขียนความเรียงขั้นสู ง (Extended Essay) เป็ นสาระการเรียนรู้
ที่จดั การเรี ยนการสอนเพื่อให้ ผูเ้ รี ยนสามารถเขียนและเรี ยบเรี ยงความ
คิดข้อคิดเห็น การให้ขอ้ เสนอเชิงวิชาการ โดยใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
วัตถุประสงค์ Extended essay
1. ค้ นคว้ าหาความรู้เกีย่ วกับสิ่ งทีต่ นสนใจ
และต้ องการค้ นคว้ าหาความรู้เพิม่ เติม
2. พัฒนาทักษะการเขียนรายงานการ
ค้ นคว้ าอย่ างอิสระ
3. พัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ และ
การคิดวิเคราะห์
4. มีความรู ้ ความเข้าใจในกระบวนการ
ค้นคว้าที่เหมาะสมในแต่ละสาขาวิชา
5. มีวธิ ีการและสัง่ สมประสบการณ์ในการ
ค้นคว้าหาความรู ้ดว้ ยสติปัญญาของ
ตนเองอย่างมีประสิ ทธิภาพ
โลกศึกษาคืออะไร?
โลกศึกษาเป็ นสหวิทยาการ (Interdisciplinary)
ไม่ ม่ ุงเน้ นการสอนเนือ้ หาใหม่ ๆ แต่ เน้ นการเพิม่ พูน
ความรู้ ความคิดรวบยอดและเนือ้ หาสาระทีเ่ กีย่ วกับ
สถานะการณ์ ที่เกิดขึน้ ในโลก
โลกศึกษาเป็ นการศึกษาความเข้าใจ
เกี่ยวกับการพัฒนาด้านสิ ทธิมนุษยชน
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน สันติภาพ การป้ องกัน
ความขัดแย้ง และการศึกษาระหว่าง
วัฒนธรรมตลอดจนความเป็ นพลเมืองโลก
Global Citizenship
ความเป็ นพลเมืองโลก
Social justice
ความเป็ นธรรมในสั งคม
GLOBAL
Human Rights
สิ ทธิมนุษยชน
Conflict Resolution
การแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง
DIMENSION
Interdependence
การพึง่ พาอาศัยกัน
Diversity
ความหลากหลาย
Values &Perceptions
ค่ านิยม และการสั มผัสรับรู้
Sustainable Development
การพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน
• วิสัยทัศน์ ในการกาหนดทิศทาง หรือ
พัฒนาหารู ปแบบวิธีการในการแก้ ปัญหา
• กระบวนการเปลีย่ นแปลงเพือ่ มุ่งสู่
ความเป็ นพลเมืองโลกทีร่ ับผิดชอบ
CAS
กิจกรรมสร้างสรรค์ประโยชน์
Creativity
Action
Service
CAS
Creativity, Action, Service
การเรียนรู้จากประสบการณ์ การปฏิบัตภิ าระงานจริง
นอกเหนือจากการเรียนในห้ องเรียน
ให้ รู้จักคิดริเริ่ม สร้ างสรรค์ วางแผน
ลงมือปฏิบัติ บริการด้ วยจิตอาสา
CAS : WHAT FOR? =
วัตถุประสงค์
1. มุง
่ พ ัฒนาผูเ้ รียนให้ได้พ ัฒนาตนเอง
ั
ตามศกยภาพอย่
างรอบด้าน
้ อาทรผูอ
2. ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกอือ
้ น
ื่
ั
และการทาประโยชน์เพือ
่ สงคม
3. สามารถจ ัดการตนเอง
และอยูร่ ว่ มก ับผูอ
้ น
ื่ ได้อย่างมี
ความสุข
C
ริเริม่ สร้างสรรค์
A
ปฏิบตั ิกิจกรรม
จากประสบการณ์ตรง
S
บริการ อาสา
ช่วยเหลือผูอ้ ื่น
หลักสูตร
World-Class
Curriculum & Instruction
TQA
กลยุทธ์
บริหาร
คุณภาพ
้ งต้น
ข้อมูลเบือ
สู.่ ....มาตรฐานสากล
จุดเริม
่ จากข้อจาก ัด
สู.่ .....มาตรฐานสากล
1
ยกระด ับคุณภาพการปฏิบ ัติงาน
2
แนวทางพัฒนาการบริหารสู่ มาตรฐานสากล
3
กรอบการประเมินตนเอง
4
บรรทัดฐานการติดตามประเมินผล
โครงร่ างองค์ กรลักษณะสาคัญ
สภาพแวดล้ อม ความสัมพันธ์ และความท้ าทาย
2. การวางแผน
กลยุทธ์
5. การมุ่งเน้น
บุคลากร
7. ผลลัพธ์
การดาเนิ นงาน
1. การนาองค์กร
3. การมุ่งเน้ นนักเรียน
และ
ผู้มสี ่ วนได้ ส่วนเสี ย
6. การจัดการ
กระบวนการ
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
สร้างโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล
อัตลักษณ์
(Identity)
Strategy Map
เป็
นเลิ
ศ
ตาม
คุณภาพผู้เรียน
ศักยภาพ
กระบวนการ
จัดการศึกษา
ในโรงเรียน
การพัฒนาองค์ กร
หลักสู ตร
การสอน
เทียบสากล
นักสื่อสาร -นัก
คิด
นักสร้ างสรรค์
บริหารได้
คุณภาพ
ครูพฒ
ั นา
ทรั พยากร&
เครื อข่ ายร่ วม พอเพียง/เหมาะสม
พัฒนา
เป็ นคนดีของ
สังคมโลก
ผู้เรียนได้ รับ
การส่ งเสริม
ศักยภาพ
ห้ องเรียน
คุณภาพ
ICT-KM
LO
ทั่วถึง/คุ้มค่ า
Partnerships
หลักสูตร
R&D
กลยุทธ์
บรรยากาศ/
วัฒนธรรม
การเรี ยนรู้
ครู
Smart.
Global
Citizenship
สื่อ/ICT
ห้ องเรียน
คุณภาพ
ดูแล
ช่วยเหลือ
บริหาร
คุณภาพ
Partners/
Networks
ผู้เรียนมีศักยภาพเป็ นพลโลก
Smart
Communicator
เป็ นเลิศวิชาการ
สื่ อสารสองภาษา
ลา้ หน้ าทางความคิด
ร่ วมกันรับผิดชอบสั งคมโลก
Thinker
Global Citizenship
ผลิตงานอย่ างสร้ างสรรค์
Innovator
การดาเนินงาน ปี 2553
กุมภาพันธ์
มีนาคม
1.ปรับแผนกลยุทธ์
-พัฒนาหลักสูตร
เมษายน
2. สัมนนา
-ทา MOU
(18-19 มีค.)
4.ผลิต/จัดหาตาราเรียน (สวก.)
3. สร้าง WEBSITE
WORLD-CLASS SCHOOL THAI
5.พัฒนาครู
วิทย์-คณิต (สอน Eng)
6.พัฒนาครู
ภาษา ตปท. 2
การดาเนินงาน ปี 2553
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
7. พัฒนาผูบ้ ริหาร
QM/English/ICT
8. ประสาน-จัดตัง้
โรงเรียนร่วมพัฒนา-ภาคีเครือข่าย
9. นิเทศ ติดตาม ส่งเสริม
10.พัฒนาครู &
บุคลากร
การดาเนินงาน ปี 2553
กรกฎาคม
สิ งหาคม
กันยายน
11. จ้ดกิจกรรมร่วมพัฒนา โรงเรียนร่วมพัฒนา-ภาคีเครือข่าย
12. วิจยั และพัฒนา (R &D –PAR)
13.จัดกิจกรรมเทียบเคียง-แลกเปลี่ยนเรียนรู ้
(Benchmarking)
14. สรรหา รร. ต้นแบบการพัฒนา
15. นิเทศ
กากับ
ติดตาม
ประเมินผล
16. National
Symposium
เว็บไซตประชาสั
มพันธโครงการโรงเรี
ยน
์
์
มาตรฐานสากล
- www.worldclassschoolthai.net
- www.secondary.obec.go.th
• ติดต่อประสานงาน ผู้จดั การโครงการโรงเรี ยนมาตรฐานสากล
ขวัญชีวา วรรณพินทุ
สานักบริ หารงานมัธยมศึกษาตอนปลาย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน
โทร. 02 2885940 / 0816494098