การวิจัยทางการศึกษา

Download Report

Transcript การวิจัยทางการศึกษา

การวิจัยทางการศึกษา
วันเพ็ญ ผ่องกาย สนย.สป.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of
Education) ให้ ความหมายไว้ ว่า “การวิจัย
การศึกษาคือ “การจัดการสื บค้ นอย่ างมีระบบ
เกีย่ วกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้ รับจาก
การศึกษา”
ประเภทของการวิจยั
1. จาแนกตามจุดมุ่งหมาย
1.1 การวิจัยบริสุทธิ์ หรือการวิจัยเบือ้ งต้ น (Basic or Pure
Research)
1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied Research)
2. จาแนกตามวัตถุประสงค์
2.1 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
2.2 การวิจัยเชิงอธิบาย (Explanatory Research)
3. จาแนกตามลักษณะของข้ อมูล
3.1 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
3.2 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
รูปแบบการวิจัย
1. การศึกษาเฉพาะกรณี (Case study) ศึกษาข้ อเท็จจริง โดย
ศึกษาปัญหาที่เกิดขึน้ เฉพาะกรณี
2. การศึกษาแบบสารวจ (Survey Design) เป็ นการสารวจเพือ่
รวบรวมข้ อมูล และใช้ ข้อมูลในปัจจุบันนั้นมาตีความหมายอธิบาย
สภาพการณ์ ต่าง ๆ
3. การศึกษาแบบการทดลอง (Experimental Design) หา
ความสั มพันธ์ เชิงเหตุผลของปรากฏการณ์ ต่าง ๆ โดยดาเนินการทดลอง
เพือ่ วัดผลอย่ างเป็ นระเบียบ
ขั้นตอนในการวิจัยทางการศึกษา
จะศึกษา
1. การเลือกปัญหาการวิจัย
2. การศึกษารายละเอียดเกีย่ วกับปัญหาที่
3. การเลือกวิธีการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมข้ อมูลและการแปล
ความหมายข้ อมูล
5. การเขียนรายงานผลการวิจัย
• การเขียนโครงการวิจยั (Research Proposal)
เป็ นการเขียนเพื่อนาเสนอแผน (Plan) ของการทางาน ซึ่ ง
แสดงถึงโครงสร้าง (Structure) ยุทธวิธี (Strategy)
และคุณค่า (Value) ของงานวิจยั ซึ่งได้มีการกาหนดไว้
ล่วงหน้าก่อนลงมือทาการวิจยั โดยเกิดจากการประมวลความคิด
การวางแผนเค้าโครงการวิจยั ว่าจะวิจยั เรื่ องใด เรื่ องนั้นมี
ความสาคัญอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง กรอบความคิดใน
การวิจยั ที่ทฤษฎีหรื องานวิจยั อะไรสนับสนุน คาตอบที่คาดว่า
จะได้รับเป็ นอย่างไร ขั้นตอนการดาเนินการวิจยั มีอย่างไร
งานวิจยั นั้นมีคุณค่าและสามารถนาไปใช้ประโยชน์อะไรได้บา้ ง
ประโยชน์ การเขียนเค้ าโครงการวิจยั
1. เพื่อใช้เป็ นกรอบในการดาเนินการตามแนวทางที่เสนอ โดยไม่
หลงทางหรื อทาเกินขอบเขตที่ได้กาหนดไว้
•
2. สาหรับไว้ติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลการดาเนินงาน
วิจยั
•
3. เป็ นข้อมูลสาหรับผูร้ ู้ให้ขอ้ เสนอแนะ และปรับปรุ งคุณภาพ
งานวิจยั
•
4. เป็ นเครื่ องยืนยันความสาคัญและคุณค่าของงานวิจยั นั้น และใช้
ขอรับการสนับสนุนทรัพยากรได้
•
• การเขียนโครงการวิจัยมีหัวข้ อเป็ นลาดับไปตั้งแต่
1. ชื่องานวิจัย 2. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 3. ความเป็ นมาและความสาคัญของ
ปัญหา 4. ขอบเขตการวิจัย 5. สมมุตฐิ านของการวิจัย (ถ้ ามี)
6. ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น 7. ความจากัดในการวิจัย
8. คาจากัดความหรือนิยามศัพท์ 9. ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ
10. วิธีดาเนินการวิจัย (กลุ่มตัวอย่ างประชากร, เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย, การ
รวบรวมข้ อมูล, การวิเคราะห์ ข้อมูล สถิตทิ ใี่ ช้ ในการวิจัย)
11. แผนการทางาน 12. งบประมาณ และ
13. ผู้รับผิดชอบโครงการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังต่ อไปนี้
• 1. ชื่องานวิจัย ต้ องตั้งชื่อเรื่องให้ ผ้ อู ่ านเข้ าใจว่ าเราจะทาอะไร กับใครอย่างไรให้
ชัดเจน เพือ่ เป็ นการสื่ อให้ ผ้ อู ่ านทราบและเข้ าใจตรงกับเนือ้ หาของงานวิจัย ซึ่งใน
การตั้งชื่อเรื่องในการวิจัย ควรบอกสิ่ งต่ อไปนีไ้ ว้ ในชื่อเรื่องด้ วย
1.1 ควรระบุชื่อตัวแปรสาคัญ คือ ตัวแปรอิสระ
(Independent Variables) และตัวแปรตาม (Dependent
Variables)
•
1.2 ควรระบุกลุ่มเป้ าหมายทีเ่ ป็ นแหล่ งข้ อมูล เพือ่ ให้ ร้ ู ว่าจะ
เก็บข้ อมูลทีไ่ หน หรือกลุ่มเป้ าหมายมีลกั ษณะอย่ างไร
•
1.3 ควรบอกวิธีวจิ ัยอย่ างคร่ าว ๆ ว่ าทาวิจัยประเภทใดถ้ าพอ
บอกได้
ซึ่งในการตั้งชื่อในการวิจัยโดยทั่วไปนิยมทั้งเป็ นข้ อความเชิ งบอกเล่ า ไม่ นิยม
ตั้งเป็ นคาถาม
•
• 2. วัตถุประสงค์ การเขียนวัตถุประสงค์ตอ้ งให้สอดคล้องกับชื่อเรื่ อง
เพื่อให้ทราบอย่างชัดเจนว่าเราต้องทาอะไรเพื่อตอบคาถามอะไร ซึ่ง
เป็ นสิ่ งที่กาหนดขอบเขตของการวิจยั ได้ดว้ ยว่าเราต้องการอะไร
วิธีการเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจยั ควรขึ้นต้นด้วยคาว่า “เพือ่ ”
แล้วตามด้วยข้อความที่แสดงให้เห็นงานที่เราจะทาการวิจยั ในแต่ละเรื่ อง
ได้แก่ คาต่าง ๆ เช่น การศึกษา สารวจ ค้นหา เปรี ยบเทียบ หา
ความสัมพันธ์ โดยเขียนในรู ปคาบอกเล่า วัตถุประสงค์มีได้หลายข้อ ควร
เขียนแยกเป็ นข้อ ๆ ให้เข้าใจอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร โดยจัดลาดับ
ความสาคัญของวัตถุประสงค์แต่ละข้อด้วย
• 3. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
เป็ นการให้เหตุผลสนับสนุนถึงการที่เราเลือกทาวิจยั เรื่ องนี้ ให้เห็น
ความสาคัญว่าจาเป็ นต้องมีการวิจยั เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างไร
ลักษณะการเขียน เขียนเป็ นความเรี ยงมียอ่ หน้าเป็ นตอน ๆ ตามเนื้อหา มี
การอ้างอิงแทรกในข้อความได้ ไม่นิยมอ้างอิงโดยเขียนเป็ นข้อ ๆ ควร
เขียนให้ตรงประเด็นและตอนท้ายกล่าวถึงแรงจูงใจที่จะทาวิจยั เรื่ องนี้
ด้วย
4. ขอบเขตของการวิจัย เป็ นการบอกกรอบของงานวิจยั
ว่ามีขอบเขตแค่ไหน ครอบคลุมอะไรบ้าง บอกประชากร เนื้อหา ตัวแปร
ที่ตอ้ งการศึกษา รวมทั้งช่วงเวลาที่จะศึกษาและเนื้อหาในการวิจยั
•
5. สมมุติฐานของการวิจัย สมมุติฐานคือการคาดเดา
หรื อทายเหตุของปัญหาหรื อผลที่จะได้รับจากการวิจยั ซึ่งคือผลการวิจยั
ที่คาดว่าจะเป็ นนัน่ เอง สมมุติฐานมีประโยชน์ในแง่ของการช่วยให้
มองเห็นแนวทางในการวิจยั ได้ชดั เจนขึ้น และวางแผนการดาเนินงานขั้น
ต่อไปได้สะดวกขึ้น
•
• 6. ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น
เป็ นการกาหนดข้อตกลงในการวิจยั ไว้ล่วงหน้า ซึ่งเป็ นการตกลงที่เชื่อ
ว่าเป็ นไปได้ท้ งั ๆ ที่ไม่ได้ทาการทดลองหรื อมีค่าตัวเลขมาแสดงโดยมี
เหตุผลมารองรับด้วยเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือในข้อตกลงนั้น ซึ่ง
ส่ วนมากจะเป็ นข้อความจริ งพื้นฐานของการวิจยั ที่ไม่ตอ้ งมีการพิสูจน์ ที่
ต้องการให้ผอู ้ ่านยอมรับไว้ก่อน
• 7. ความจากัดในการวิจัย เป็ นการกล่าวถึงปัญหาที่ไม่อาจควบคุมได้
ในการวิจยั นั้น
• 8. คาจากัดความหรือนิยามศัพท์ ให้คาจากัดความของคาที่ใช้ในการ
วิจยั แต่ละเรื่ อง โดยเขียนให้ส้ นั กระชับ และมีความหมายตรงตามในเรื่ อง
ของการวิจยั นั้นเพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกันระหว่างผูว้ จิ ยั กับผูอ้ ่าน
และช่วยให้ความรัดกุมของปัญหามีมากขึ้น
• 9. ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ เขียนเพื่อแสดงความคาดหวังว่า เมื่อทา
การวิจยั แล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร เป็ นสิ่ งที่ใช้สนับสนุนแนวความคิด
ของผูว้ ิจยั ว่า เมื่อลงมือทาวิจยั เรื่ องนี้แล้วจะก่อให้เกิดประโยชน์จริ ง ๆ
หากผูว้ ิจยั ระบุได้อย่างมีเหตุมีผล ก็จะเป็ นเครื่ องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วยให้
งานวิจยั ชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนด้วย
• 10. วิธีดาเนินการวิจัย กล่าวถึงกระบวนการที่วางแผนไว้วา่ จะทาวิจยั
โดยกล่าวถึงประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่เราจะใช้เป็ นกลุ่มเป้ าหมายใน
การวิจยั เครื่ องมือที่ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล สถิติที่
ใช้ในการวิจยั โดยต้องบอกให้ชดั เจน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า
เพื่อที่จะปฏิบตั ิได้จริ ง
• 11. แผนการทางาน คือ การกาหนดรายละเอียดว่าจะเริ่ มดาเนินการ
แต่ละขั้นตอนของการวิจยั อย่างไร เป็ นการควบคุมและกากับตัวเราเอง
ให้ทางานเสร็ จตามแผนที่กาหนดไว้ดว้ ย โดยส่ วนมากจะกาหนดเป็ น
ปฏิทินการปฏิบตั ิงาน
• 12. งบประมาณ คือ ค่าใช้จ่ายที่ประมาณการได้คร่ าว ๆ ที่จะต้องใช้ใน
กระบวนการวิจยั
• 13. ผู้รับผิดชอบโครงการวิจัย คือ ชื่อผูท้ าวิจยั เอง หรื อหน่วยงานซึ่ง
เป็ นเจ้าของงบประมาณในการทาวิจยั นั้น
ลักษณะของโครงการวิจัยทีด่ ี โครงการวิจัยทีด่ คี วรมีลกั ษณะ
ดังต่ อไปนี้ คือ
•
1. ความถูกต้ อง (Correctness) เนื้อหาสาระ
ของโครงการถูกต้อง แม่นยามีหลักฐาน ซึ่ งเป็ นข้อเท็จจริ ง
สามารถนาไปใช้อา้ งอิงได้
• 2. ความเป็ นเหตุผล (Cogency) สาระของโครงการวิจยั ต้องมี
เหตุผลที่น่าเชื่อถือ รับฟังได้ไม่เลื่อนลอย
• 3. ความกระจ่ างแจ้ ง (Clarity) โครงการวิจยั ต้องชัดเจน แจ่มแจ้ง
ไม่กากวม ผูอ้ ่านสามารถเข้าใจได้โดยไม่ตอ้ งมีการตีความ หรื อคาดคะเน
ความหมายของข้อความนั้น ๆ
• 4. ความสมบูรณ์ (Completeness) จะต้องมีสาระสาคัญ
ครบถ้วนทุกหัวข้อตามขั้นตอนกระบวนการวิจยั มีเนื้อหาสาระสาคัญ
สมบูรณ์ ครอบคลุมสิ่ งที่ผอู ้ ่านต้องรู ้
• 5. ความกระทัดรัด (Concise) ไม่ตอ้ งมีความยาวมาก ควรใช้คา
ง่าย ๆ ประโยคสั้น กระทัดรัด สื่ อให้ผอู ้ ่านเข้าใจได้เร็ วและประหยัดเวลา
• 6. ความสม่าเสมอ (Consistency) มีความคงเส้นคงวา มีความ
สม่าเสมอในรู ปแบบของข้อความและการใช้คา เป็ นแบบเดียวกันตลอด
ทั้งฉบับ
• 7. ความสั มพันธ์ เชื่อมโยงสอดคล้อง (Correspondence) การ
เสนอสาระต้องมีการการจัดระเบียบ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน มี
ความเป็ นเหตุเป็ นผลสอดรับกันอย่างต่อเนื่อง ไม่สะดุดหรื อขาดตอน
กระบวนการวิจัยและการดาเนินงาน (11 ขั้นตอน)
1. กาหนดขอบเขตของปัญหา
2. ตั้งสมมุตฐิ าน (Hypothesis)
3. กาหนดตัวแปร (Variable)
4. กาหนดรู ปแบบการวิจัย
5. การกาหนดกลุ่มตัวอย่ าง
6. การกาหนดเครื่องมือและวิธีการรวบรวมข้ อมูล
7. การกาหนดวิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล
8. การสร้ างเครื่องมือในการรวบรวมข้ อมูล
9. การรวบรวมข้ อมูล
10. การวิเคราะห์ ข้อมูล
11. การสรุ ปผล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากร (Population or Universe) ในการ
วิจยั คือ กลุ่มของสิ่ งที่จะนามาศึกษาทั้งหมด ถ้า
สามารถนับได้ครบถ้วน เราเรี ยกกลุ่มประชากรนั้น
ว่า “ประชากรที่มีจานวนจากัด” (Finite
population) ไม่สามารถนับจานวนสมาชิกได้
ครบถ้วน เราจะเรี ยกประชากรกลุ่มนี้วา่ “ประชากร
มีจานวนไม่ จากัด” (Infinite population)
ตัวอย่ าง (Sample or Subjects) ในการวิจยั คือ
สมาชิกบางหน่วยในกลุ่มประชากรที่ถูกเลือกมา
ศึกษาวิจยั หรื ออีกนัยหนึ่งคือ Subject ของ
ประชากรที่ถูกเลือกมาศึกษานัน่ เอง ซึ่งหน่วยย่อย
แต่ละหน่วยของตัวอย่างที่เลือกมาทาการศึกษา
เรี ยกว่า “หน่ วยตัวอย่ าง” (Sampling unit)
ลักษณะของตัวอย่ างทีด่ ี
1. มีประสิ ทธิภาพ คือ ให้ขอ้ มูลที่มีประโยชน์คุม้
ค่าใช้จ่าย
2. เป็ นตัวแทนของประชากรทั้งหมด ตัวอย่างที่
เลือกมาจะต้องถูกเลือกโดยการสุ่ ม (Random) หรื อ
ประชากรมีโอกาสที่จะถูกเลือกเท่าเทียมกัน
3. มีความเชื่อถือได้ คือ หากมีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลซ้ า ๆ กัน จากตัวอย่างชุดเดิมก็จะได้ขอ้ เท็จจริ ง
เหมือนเดิม
4. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายความว่า
สามารถเพิ่มหรื อลดจานวนตัวอย่างได้โดยไม่ทาให้ผล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลผิดพลาด
การเลือกตัวอย่ างเพือ่ ใช้ ในการวิจัย
แบ่งออกได้เป็ น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
1. Probability Sampling
2. Non-probability Sampling
1. Probability Sampling
วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่ างแบบสุ่ ม
1. วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ มอย่างง่าย (Simple Random
Sampling)
2. วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ มตามระดับขั้น (Stratified
Random Sampling)
3. การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling)
4. การเลือกตัวอย่างแบบ (Area or Cluster Sampling)
5. การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ มหลาย ๆ ขั้น (Multi-Stage
Sampling)
6. Multiple Matrix Sampling Sampling เป็ นวิธีที่ใช้กบั กรณี
ที่มีจุดมุ่งหมายจะลดภาวะของสมาชิกที่ถูกเลือกเป็ นตัวอย่างที่จะให้
ข้อมูล โดยที่สมาชิกแต่ละหน่วยที่ถูกเลือกไม่จาเป็ นจะต้องให้ขอ้ มูล
ครบทุกอย่าง
2. Non-probability Sampling
Non-probability Sampling
การเลือกสุ่ มตัวอย่ างโดยไม่ ให้ หน่ วยของตัวอย่ าง
มีโอกาสในการ ถูกเลือกเท่ ากัน
1. เลือกโดยการวินิจฉัย (Judgement Sampling)
ตัดสิ นใจโดยอาศัยเกณฑ์ บางอย่ างทีว่ างไว้
2. เลือกโดยกาหนดโควต้ า (Quota Sampling)
วิธีนีผ้ ้ ูวจิ ัยจะใช้ วธิ ีวนิ ิจฉัยผสมกับการสุ่ ม
ประโยชน์ของการสุ่ มกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่ มกลุ่มตัวอย่ างในการวิจัยนอกจากจะสะดวกใน
การปฏิบัติ เพราะมีประชากร บางประเภทไม่ สามารถจะศึกษา
ได้ ท้ั ง หมดจ าเป็ นต้ อ งสุ่ มกลุ่ ม ตั ว อย่ า งมาเป็ นตั ว แทนใน
การศึ ก ษาแล้ ว ยัง ประหยัด ค่ า ใช้ จ่ า ยและประหยัด เวลาด้ วย
เพราะการเก็บข้ อมูลจากกลุ่มตัวอย่ างจานวนน้ อย จะประหยัด
เงิน และสามารถเก็บข้ อมูลได้ ในเวลาอันรวดเร็วมากกว่ าทากับ
ประชากรทั้งหมด นอกจากนี้ ถ้ าการสุ่ มกลุ่มตัวอย่ างทาถูกต้ อง
ตามหลักทฤษฎีแล้ ว จะมีความเชื่ อมั่น และถูกต้ องแม่ นยากว่ า
เพราะการวิ จั ย ที่ ท ากั บ จ านวนกลุ่ ม น้ อ ย ผู้ วิ จั ย ซึ่ ง เป็ นผู้ มี
ความสามารถย่ อมจะควบคุมคุณภาพของความถูกต้ องได้ ดกี ว่ า
ทดสอบหรือทาวิจยั กับประชากรกลุ่มใหญ่
การกาหนดตัวแปร
ตั ว แปร (Variable) หมายถึ ง ลั ก ษณะหรื อ
คุ ณ สมบัติ ที่ ผูว้ ิ จัย สนใจจะศึ ก ษา ซึ่ งลัก ษณะหรื อคุ ณ สมบัติ
ดังกล่าวจะต้องวัดได้ เมื่อวัดแล้วจะได้ผลการวัดที่แตกต่างกัน
ออกไปหลายค่าหรื อหลายลักษณะ โดยอย่างน้อยต้องมี 2 ค่า
หรื อ 2 ลัก ษณะ ตัว อย่า งเช่ น เพศ มี ช ายกับ หญิ ง อาชี พ มี
มากมายหลายอาชี พ อายุ มีอายุต่าง ๆ แตกต่างกันไป ดังนั้น
เพศ อาชีพ และอายุจึงเป็ น ตัวแปร วิธีการกาหนดตัวแปร ต้องดู
ที่ผลของการวัดสิ่ งนั้น ถ้าผลที่ได้มีลกั ษณะมากกว่า 1 ลักษณะ
หรื อมีค่ามากกว่า 1 ถือว่าเป็ นตัวแปรทันที
ในการวิจัยเราแบ่ งประเภทตัวแปรตามลักษณะ
ได้เป็ น 4 ชนิด คือ
1. ตัวแปรต้ นหรือตัวแปรอิสระ (Independent
Variable)
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable)
3. ตัวแปรแทรกซ้ อน (Extraneous variable)
4. ตัวแปรสอดแทรก (Intervening variable)
การตั้งสมมุตฐิ านในการวิจัย
สมมุตฐิ าน (Hypothesis) คือ ผลการวิจัยทีค่ าดว่ า
จะเป็ น ซึ่งเป็ นลักษณะของการคาดเดา หรือทายเหตุของ
ปัญหาหรือผลทีจ่ ะได้ รับจากการวิจัย
สมมุตฐิ านอาจเป็ นได้ เป็ น 2 ประเภท คือ
1. สมมุตฐิ านเชิงบรรยาย (Descriptive
Hypothesis)
2. สมมุตฐิ านเชิงสถิติ (Statistical Hypothesis)
ลักษณะของสมมุติฐานทีด่ ี สมมุติฐานทีด่ ีควรมีลกั ษณะดังต่ อไปนีค้ อื
1. ต้ องสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการวิจัย
2. ต้ องสอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริงทีร่ ู้กนั อยู่ทวั่ ไป
3. สามารถทดสอบได้ ด้วยข้ อมูลหรือหลักฐาน
4. ต้ องอธิบายหรือตอบคาถามได้ หมด สามารถสรุปได้ ว่าจะสนับสนุน หรือ
คัดค้ าน
5. ต้ องสมเหตุสมผลตามทฤษฎี และความรู้พนื้ ฐาน และจากัด
ขอบเขตการตรวจสอบได้ สมมุติฐาน 1 ข้ อ ควรใช้ ตอบคาถามเพียง 1 ข้ อ เท่ านั้น
6. ภาษาทีเ่ ขียนต้ องง่ ายต่ อการเข้ าใจทั้งในแง่ ของภาษา และเหตุผล
ตลอดจนวิธีที่จะตรวจสอบ
7. ต้ องมีอานาจในการพยากรณ์ สูง นาไปใช้ อธิบายในสภาพการณ์
คล้าย ๆ กันได้
ข้ อมูล (data) มี 2 ประเภท คือ
1. ข้ อมูลเชิงปริมาณ
2. ข้ อมูลเชิงคุณภาพ
ถ้าแบ่งชนิดของข้อมูลความแหล่งที่มา จะแบ่งได้
2 ชนิด คือ
1. ข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary data)
2. ข้ อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary data)
เครื่องมือคืออะไร
เครื่องมือ (Tool or Instrument) คือ สิ่ งที่ใช้วดั
ตัวแปรเพื่อให้ได้ผลการวัดที่เรี ยกว่าข้อมูล (Data)
เครื่องมือในการวิจัย หมายถึง สิ่ งที่เราจะใช้ใน
การเก็บข้อมูล ซึ่ งเราต้องสร้างขึ้นให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการวิจยั โดยมีหลักการของการใช้
เครื่ องมือดังนี้
เครื่องมือวิจัย
ใช้ วดั
ตัวแปร
จะได้
ข้ อมูล
ตัวอย่ างเช่ น
แบบทดสอบ
ใช้วดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ได้ คะแนนผลการสอบ
แบบสังเกต
ใช้วดั พฤติกรรม
ได้ คะแนนพฤติกรรม
แบบสอบถาม/สัมภาษณ์ ใช้วดั ความคิดเห็น
ได้ ผลความคิดเห็น
แบบวัดเจตคติ
ใช้วดั เจตคติ
ได้ คะแนนเจตคติ
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
1. ต้ องมีความเทีย่ งตรง (Validity) คือ ต้องวัดได้ในสิ่ งที่ตอ้ งการวัด
2. ต้ องมีความเชื่อถือได้ (Reliability) คือ วัดได้คงที่แน่นอน ไม่
เปลี่ยนไป เปลี่ยนมาไม่วา่ จะวัดกี่ครั้งกี่หน เมื่อไร ที่ไหน (โดย
สิ่ งที่ถูกวัดคงที่)
3. ต้ องมีประสิ ทธิภาพ (Efficiency) เช่น ถ้าใช้เครื่ องมือที่วดั ได้ดีแต่
สิ้ นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่ายสูงก็ถือว่าไม่มีประสิ ทธิภาพ
4. ต้ องมีอานาจจาแนก (Discrimination) คือ สามารถแบ่งแยกหรื อ
ชี้ได้วา่ กลุ่มตัวอย่างหรื อประชากรที่เราศึกษา มีทศั นคติดี
หรื อไม่ดีต่างกันได้
การสร้ างเครื่องมือมีหลักเกณฑ์ อย่ างไร
1. สร้ างความเข้ าใจอันดีแก่ ผ้ ูตอบคาถาม
2. มีการกาหนดขอบข่ ายของข้ อคาถาม
3. การจัดลาดับข้ อคาถามเป็ นไปอย่ างเหมาะสม
4. จัดวางรู ปแบบและคาชี้แจงในการตอบให้ เหมาะสม
5. พยายามถามให้ ผ้ ูตอบให้ ข้อมูลตามความเป็ นจริง
6. เลือกใช้ ข้อคาถามในการสร้ างเครื่องมือให้ เหมาะสม
“การวิเคราะห์ ข้อมูล” เป็ นขั้นตอนหนึ่งของระเบียบวิธี
ทางสถิติ ซึ่งมีท้ งั หมด 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
1. ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้ อมูล (Collection Data)
2. ขั้นตอนการนาเสนอข้ อมูล (Presentation of Data)
3. การวิเคราะห์ ข้อมูล (Analysis of Data)
4. การตีความข้ อมูล (Interpretation of Data)
ข้ อตกลงเบือ้ งต้ นในการใช้ วธิ ีการทางสถิติ
1. ลักษณะการกระจายของข้ อมูลทีไ่ ด้ จากประชากร
2. ระดับของการวัดตัวแปรและประเภทของตัวแปร
3. การสุ่ มตัวอย่ าง
ระดับการวัดตัวแปร (Level of Measurement)
เราสามารถแบ่งระดับการวัดออกได้ 4 ระดับ หรื อ 4 มาตรา (Scale)
1. มาตรานามบัญญัติ (Nominal scale)
2. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal scale)
3. มาตราอันตรภาค (Interval scale)
4. มาตราอัตราส่ วน (Ratio)
สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตาม
ลักษณะของการนาไปใช้ประโยชน์ ได้แก่
1. สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive statistic) เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล แล้ว
สรุ ปผลจากกลุ่มตัวอย่างมาโดยแปลผลการวิเคราะห์ครอบคลุมเฉพาะกลุ่มนั้น
โดยไม่อา้ งอิงไปถึงกลุ่มอื่น
2. สถิติเชิงอ้างอิง (Inferential statistic) เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้มาจาก
กลุ่มตัวอย่าง เพื่อสรุ ปผลจะใช้อา้ งอิงไปยังกลุ่มประชากรทั้งหมดได้ดว้ ย
ความแตกต่างระหว่างสถิติเชิงบรรยายกับสถิติเชิงอ้างอิง คือ สถิติเชิง
บรรยาย ไม่มีการทดสอบนัยสาคัญทางสถิติ แต่สถิติเชิงอ้างอิงต้องมีการ
ทดสอบนัยสาคัญทางสถิติตามวิธีการที่กาหนด เพื่อที่จะให้ผวู ้ ิจยั สามารถสรุ ป
อ้างอิงไปยังกลุ่มประชากรได้ท้ งั หมดนัน่ เอง
การแปลผลและสรุปผลการวิจัย
แปลผลการวิเคราะห์ เพือ่ ให้ ผู้อ่านทราบว่ า ผลทีไ่ ด้ ค้นพบคืออะไร
โดยมีหลักในการแปลผลดังนี้
1.1 ผู้วจิ ัยต้ องเข้ าใจความหมายของตัวเลข หรือค่ าสถิติว่าหมายความ
ถึงอะไร แสดงถึงสิ่ งใด ควรจะแปลความหมายว่ าอย่ างไรจึงจะถูกต้ องตามหลัก
วิชา
1.2 แปลผลอยู่ภายในขอบเขตของข้ อมูล วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
และประชากรที่ศึกษา
1.3 แปลผลการวิเคราะห์ ให้ สอดคล้องกับข้ อจากัดของข้ อมูลและสถิติ
โดยใช้ ภาษาง่ ายรัดกุม ชัดเจน
1.4 พิจารณาว่ าผลทีไ่ ด้ พาดพิงถึงสิ่ งใด ควรแปลผลในลักษณะใดจึงจะ
ถูกต้ อง มีความสอดคล้องสนับสนุน หรือคัดค้ านกับสมมุตฐิ านการวิจัย
การสรุปผลการวิจัย
เมื่อวิเคราะห์ขอ้ มูล ตลอดจนแปรผลเสร็ จแล้ว ให้สรุ ปข้อมูล อภิปราย
ผล และให้ขอ้ เสนอแนะดังนี้
1. การสรุ ปผล ผลของการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะถูกนามาสรุ ปในขั้นนี้
ทาให้มองเห็นผลโดยส่ วนรวมของงานวิจยั ชิ้นนี้ งานวิจยั ชิ้นหนึ่งอาจมี
ผลสรุ ปมากมายหลายข้อความจานวนของปัญหาหรื ออาจนาเสนอผลที่
ค้นพบในปัญหาย่อยแต่ละข้อสามารถสรุ ปเป็ นข้อมูลใหญ่ขอ้ เดียวก็ได้
2. การอภิปรายผล คือ การนาเอาผลสรุ ปที่คน้ พบมาอภิปราย ในการ
อภิปรายอาจมีการกล่าวพาดพิงถึงทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งในแง่สนับสนุน
หรื อคัดค้านแล้วแต่ผลการค้นพบของงานวิจยั ผูอ้ ภิปรายจะต้องมีความรู ้
ในเรื่ องวิจยั พอสมควรจึงจะสามารถอภิปรายได้ดี
3. ข้ อเสนอแนะ
จากผลของการอภิปรายจะนาไปสู่ขอ้ เสนอแนะ คือ การแสดง
ข้อคิดเห็นของผูท้ าการวิจยั ที่จะเสนอแนะต่อผูท้ ี่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้น ๆ ว่า ผลการวิจยั ชี้ให้เห็นว่าควร
ดาเนินงานหรื อควรปรับปรุ งงานในเรื่ องนั้น ๆ อย่างไรบ้าง
การเขียนรายงานการวิจัย
รายงานวิจัย (research report) เป็ นเอกสาร
วิชาการทีน่ ักวิจัยนาเสนอผลการดาเนินงานวิจัยให้ แก่
นักวิชาการ ผู้สนใจงานวิจัย ผู้ให้ การสนับสนุน ผู้บริหาร
ตลอดจนผู้ต้องการใช้ ประโยชน์ จากผลงานวิจัยได้ ทราบถึงข้ อ
ค้ นพบงานวิจัย ข้ อเสนอแนะ รวมทั้งสามารถนาผลงานวิจัยไป
ใช้ ประโยชน์ ต่อไปได้
วัตถุประสงค์ ของการเขียนรายงานวิจัย มี 4 ประการ คือ
• 1. เป็ นหลักฐานรายงานแสดงคุณค่ าของงานวิจัย และแสดง
กระบวนการวิจัย ทุกขั้นตอน
• 2. เป็ นเครื่องเชื่อมโยงองค์ ความรู้ทมี่ ีมาแต่ เดิมกับผลงานวิจัยทีน่ ักวิจัยได้
ทาขึน้
โดยจะแสดงให้ เห็นว่ า งานวิจัยที่ทานั้นมีที่มาจากองค์ความรู้เดิมอย่ างไร
และมีการสร้ างเสริมองค์ ความรู้ใหม่ อย่ างใด และควรศึกษาวิจยั เรื่องใด
ต่ อไป
• 3. เป็ นสารสนเทศสาหรับผู้เกีย่ วข้ อง หน่ วยงาน ผู้สนใจ เพือ่ นาไปใช้
ประโยชน์ ท้งั ในเชิงนโยบายและเชิงวิชาการ
• 4. เป็ นหลักฐานแสดงศักยภาพด้ านการวิจัยของนักวิจัย
การเขียนรายงานวิจัย
รู ปแบบของรายงานการวิจัย รู ปแบบของการเขียนรายงานการ
วิจัยทีใ่ ช้ กนั อยู่ทวั่ ๆ ไป คือ
1. ส่ วนนา ได้ แก่ - ปกหน้ า
- ปกใน
- คานา
- บทคัดย่ อ
- สารบัญ
- สารบัญตาราง
2. ส่ วนเนือ้ หาของการวิจัย ได้ แก่
บทที่ 1
บทนา
- ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
- วัตถุประสงค์ ของการวิจยั
-ขอบเขตของการวิจยั
- ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น
- ความจากัดในการทาวิจยั
- คาจากัดความทีใ่ ช้ ในการวิจยั หรือนิยามศัพท์
- ประโยชน์ ที่จะได้ รับจากการวิจยั
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง
บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย
-กลุ่มตัวอย่ างและวิธีการสุ่ มตัวอย่ าง
-เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย
-การรวบรวมข้ อมูล
-การวิเคราะห์ ข้อมูล
-สถิตทิ ี่ใช้ ในการวิจัย
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ
•
3. ส่ วนเอกสารอ้ างอิง ได้ แก่
- บรรณานุกรม
- ภาคผนวก
Thank You for Your Attention