การวิเคราะห์ข้อมูล

Download Report

Transcript การวิเคราะห์ข้อมูล

Data Analysis and
Repost Presenting
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการ
นาเสนอข้อมูลในการวิจยั
วัตถุประสงค์ ของการอบรม
เพือ่ ให้ ผู้เรียน
๑. วิเคราะห์และแปลความหมายของสถิติพรรณนาเบื้องต้นได้
๒. เข้าใจ concept ของการวิเคราะห์เชิงเปรี ยบเทียบและการ
วิเคราะห์เชิงความสัมพันธ์
๓. สามารถออกแบบการนาเสนอข้อมูลในการวิจยั ได้อย่างเหมาะสม
๔. สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลง่าย ๆ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สาเร็ จรู ป
๕. สามารถจัดกระทาข้อมูลด้วยตาราง กราฟ chart หรื อวิธี
นาเสนออื่น ๆ ได้
Research Paper
• โครงร่ างการวิจยั Proposal, Paper concept,
Research Topic, โครงการวิจยั ข้อเสนอโครงการวิจยั
• รายงานการวิจยั Research Report ฉบับเต็ม
(Full Report) และฉบับย่อ (Research in Brief)
• บทย่อ Abstract (บทคัดย่อ) บทสรุ ป (Summary)
บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร
รายงานคืออะไร
(หลักของการเขียน คือการเล่ าเรื่ องด้ วยภาษาพูดก่ อนแล้ ว
แปลงมาเป็ นภาษาเขียน)
1. ให้บอกว่าเราคิดอะไร คิดมาได้อย่างไร
2. ให้บอกว่าเราทาอะไร
3. ให้บอกว่าได้ผลอย่างไร โดยเสนอด้วยการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
4. ให้บอกว่าเราจะเสนอแนะว่าอย่างไร
รูปแบบการจัดทารายงาน
- สรุ ปผลอย่างย่อสาหรับการเผยแพร่ ให้
ผูเ้ กี่ยวข้องรับทราบ
- บทสรุ ปการดาเนินการสาหรับผูบ้ ริ หาร
- รายงานการวิจยั อย่างย่อ
- รายงานการวิจยั สาหรับเผยแพร่ ทาง
วิชาการ
Abstract (1-3 หน้ า)
- เสนอสภาพปัญหาและวิธีการ
แก้ปัญหา
- เสนอการดาเนินการและผลที่เกิดขึ้น
- เสนอผลการแก้ปัญหา
ประเด็นการจัดทารายงานวิจยั เต็มรู ปแบบ
- กิตติกรรมประกาศ/ประกาศคุณูประการ
- คานา
- สารบัญตาราง
- สารบัญภาพ
บทที่ 1
บทนา
- ความเป็ นมา
- ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหา
- วัตถุประสงค์
- นิยามศัพท์
- ข้อจากัด, ข้อตกลงเบื้องต้น
บทที่ 2
แนวคิดและทฤษฎี
- ทฤษฎีที่เกี่ยวกับตัวแปรตาม
- การวัดและประเมินลักษณะของเด็ก
- แนวคิดในการพัฒนา
-รู ปแบบและเนื้อหาของนวัตกรรม
-สมมติฐาน
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวจิ ัย
- รู ปแบบการทดลอง
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- เครื่ องมือ
- ขั้นตอนการดาเนินงาน
- วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล
บทที่ 4
ผลการศึกษา
- เสนอข้อมูลของประชากร
- เสนอข้อมูลทางสถิติที่เก็บได้
- เสนอผลการวิเคราะห์
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผล
- สรุ ปผลการดาเนินทั้งหมดอย่างย่อ
- อภิปรายผลข้อค้นพบ
- ข้อเสนอแนะจาการวิจยั สาหรับครู ,
นักเรี ยน, ผูป้ กครอง, ผูบ้ ริ หารและอื่นๆ
ส่ วนประกอบอืน่ ๆ
- บรรณานุกรม
- ภาคผนวก อื่นๆ ได้แก่
- รายละเอียดของนวัตกรรม
- เครื่ องมือเก็บข้อมูล
- ข้อมูลอ้างอิงประกอบ
- ภาพ, สื่ อ, ประกอบการทดลอง
- ประวัติผวู้ จิ ยั
หลักการเขียนงานวิชาการ
• นาเสนอแนวคิดต่าง ๆ ด้วยภาษาเขียน
• การอ้างถึงแนวคิดของผูอ้ ื่นให้อา้ งได้จากเอกสาร website บทความ ข้อเขียน
งานวิจยั หรื อหนังสื อ ไม่ควรอ้างแบบลอย ๆ ไม่มีที่มาที่ไป ไม่มีที่ให้คน้ คว้าได้
แล้วการอ้างอิงแบบ reference มีท้ งั แบบบรรณนุกรม หนังสื ออ้างอิง และ
เชิงอรรถ มีหลักการว่าให้ผอู ้ ่านสามารถค้นหาต้นต่อได้
• การอ้างอิงบางส่ วน หรื อเนื้อความทั้งหมด ก็ได้โดยต้องบอกให้ผอู ้ ่านรู้อา้ งอิง
ส่ วนไหน
• การอ้างแบบ code ข้อความของเขามา หรื อสรุ ปเป็ นใจความของเราเองก็ได้
โดยต้องบอกให้ผอู ้ ่านรู ้ดว้ ย
• ความรู ้พ้นื ๆ (commonsense) ไม่ตอ้ งอ้าง
• เรื่ องที่ไม่มีแนวคิดนี้มาก่อน ผูว้ จิ ยั ต้องวิเคราะห์เองให้เห็นหลักการวิจยั เช่นนั้น
• แล้วสรุ ปว่างานวิจยั นี้มีกรอบแนวคิดว่าอย่างไร
รายงานวิจัย (research report) เป็ น
เอกสารวิชาการที่นกั วิจยั นาเสนอผลการดาเนิน
งานวิจยั ให้แก่นกั วิชาการ ผูส้ นใจงานวิจยั ผูใ้ ห้
การสนับสนุน ผูบ้ ริ หาร ตลอดจนผูต้ อ้ งการใช้
ประโยชน์จากผลงานวิจยั ได้ทราบถึงข้อค้นพบ
งานวิจยั ข้อเสนอแนะ รวมทั้งสามารถนา
ผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้
วัตถุประสงค์ ของการเขียนรายงานวิจัย มี 4 ประการ คือ
1. เป็ นหลักฐานรายงานแสดงคุณค่าของงานวิจยั และแสดง
กระบวนการวิจยั ทุกขั้นตอน
2. เป็ นเครื่ องเชื่อมโยงองค์ความรู ้ที่มีมาแต่เดิมกับผลงานวิจยั ที่นกั วิจยั
ได้ทาขึ้น
โดยจะแสดงให้เห็นว่า งานวิจยั ที่ทานั้นมีที่มาจากองค์ความรู ้เดิม
อย่างไร และมีการสร้างเสริ มองค์ความรู ้ใหม่อย่างใด และควร
ศึกษาวิจยั เรื่ องใดต่อไป
3. เป็ นสารสนเทศสาหรับผูเ้ กี่ยวข้อง หน่วยงาน ผูส้ นใจ เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ท้ งั ในเชิงนโยบายและเชิงวิชาการ
4. เป็ นหลักฐานแสดงศักยภาพด้านการวิจยั ของนักวิจยั
บทที่ 1 บทนา
ประกอบด้วย
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
จะกล่าวถึงปัญหาที่ตอ้ งการศึกษา เขียนเป็ น
ความเรี ยงมียอ่ หน้าเป็ นตอนตามเนื้อหา มีการ
อ้างอิงแทรกในข้อความ เฉพาะกับเรื่ องที่เกี่ยวข้อง
และกล่าวถึงความจาเป็ นที่ผวู ้ ิจยั ต้องทาเรื่ องนี้
1.2 วัตถุประสงค์ ของการวิจยั
ต้องเขียนให้สื่อความหมายสอดคล้องกับชื่อ
เรื่ องที่จะทาการวิจยั โดยผูว้ ิจยั ต้องถามตัวเองว่า
จะศึกษาเรื่ องใด ในสิ่ งที่เป็ นปัญหาสาคัญควร
ศึกษาที่สุด แล้วนามาตั้งเป็ นชื่อเรื่ อง และเป็ น
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ว่าเราอยากศึกษาและ
อยากได้คาตอบในเรื่ องใด
1.3 สมมุติฐานของการวิจัย (บางทีจะนาไปสรุปไว้ท้ายบทที่ ๒)
เป็ นการคาดหวังว่าจะได้คาตอบนี้ก่อนดาเนินการวิจยั
โดยศึกษาจากเอกสาร ทฤษฎี หรื องานวิจยั ที่ใกล้เคียง โดย
สมมุติฐานที่ต้ งั ต้องใช้ขอ้ ความที่ชดั เจน ตรวจสอบได้ ใช้
ภาษาง่าย ๆ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจยั
ซึ่งโดยทัว่ ไปจะตั้งในกรณี ที่ศึกษาเปรี ยบเทียบหา
ความสัมพันธ์ แต่ถา้ เป็ นเรื่ องการศึกษา สารวจ วิเคราะห์
ไม่จาเป็ นต้องตั้งสมมุติฐาน
1.4 ขอบเขตของการวิจัย
เป็ นการบอกกรอบของงานวิจยั ว่ามีขอบเขตแค่ไหน
ครอบคลุมอะไรบ้าง บอกประชากร, เนื้อหา, ตัวแปรที่
ต้องการศึกษา รวมทั้งช่วงเวลาที่จะศึกษา และเนื้อหาในการ
วิจยั
1.5 คาจากัดความที่ใช้ ในการวิจัย
เป็ นการให้นิยาม หรื อให้คาจากัดความ เพื่อทาความเข้าใจ
ระหว่างผูอ้ ่านกับผูท้ าวิจยั ให้เข้าใจตรงกัน โดยเขียนให้ส้ นั
กะทัดรัด มี ๒ แบบ คือ นิยามศัพท์เฉพาะ และนิยามปฏิบตั ิการ
1.6 ข้ อตกลงเบือ้ งต้ น
เป็ นการตกลงที่เชื่อว่าเป็ นไปได้ท้ งั ๆ ที่ไม่ได้ทดลอง
หรื อมีค่าตัวเลขมาแสดง และควรมีเหตุผลรองรับด้วย
ส่ วนใหญ่เป็ นสถานการณ์หรื อเงื่อนไขที่ผวู ้ จิ ยั รับมา เช่น
การวัด, การแปรผล, วิเคราะห์ขอ้ มูล
1.7 ข้ อจากัดในการวิจัย
ผูว้ จิ ยั จะกล่าวถึงปัญหาที่ไม่อาจควบคุมได้
1.8 ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ (บางครั้ งเขียนรวม
ไว้ ในความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหาการวิจัย)
ผูว้ ิจยั ต้องตอบคาถามว่าเมื่อทาวิจยั
แล้ว จะได้ประโยชน์อะไร ซึ่ งต้องสอดคล้องกับความ
เป็ นมา และความสาคัญของปัญหาที่กล่าวไว้แล้วใน
ตอนแรก ตลอดจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการ
วิจยั และเรี ยงลาดับจากประโยชน์โดยตรงมากที่สุด ไป
หาน้อยที่สุด
บทที่ 2
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
ผูว้ จิ ยั ต้องศึกษาวรรณคดีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่
ตนกาลังดาเนินการอยู่ โดยการเขียนต้องแสดงถึงข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับหัวข้อการวิจยั เพื่อสนับสนุน ชี้ประเด็นที่โต้แย้ง
เน้นความสาคัญ และเป็ นหลักในการแปลความหมาย ตลอดจน
สรุ ปข้อค้นพบของการวิจยั เพื่อเชื่อมโยงมายังงานวิจยั ที่เราจะ
ทา ซึ่งเรื่ องนี้มกั จะมีปัญหาอยูเ่ สมอ ผูว้ จิ ยั บางคนสร้าง
แบบสอบถามเรื่ องหนึ่ง แต่ศึกษาวรรณคดีและงานวิจยั คนละ
เรื่ อง จากชื่อเรื่ องงานวิจยั จะตอบได้ทนั ทีวา่ จะศึกษางานวิจยั
อะไรบ้าง
วิธีการประมวลเอกสาร
• อาจจะบอกหัวข้อในภาพรวมก่อนว่าจะมีเรื่ องอะไรบ้าง (มีหรื อไม่กไ็ ด้)
• ให้พดู ถึงใจความสาคัญ หรื อเนื้อเรื่ องหลักก่อน มักจะเป็ นตัวแปรตาม ว่า
มีแนวคิดอย่างไร สาคัญอย่างไร วัดได้อย่างไร บางทีอาจจะกล่าวพาดพิง
ถึงเป้ าหมายที่จะศึกษาด้วย
• ให้พดู ว่าเรื่ องที่กล่าวมาวัดได้อย่างไร หรื อมีนิยามปฏิบตั ิการอย่างไร
• ให้อธิบายว่าเรื่ องที่กล่าวมา เกี่ยวข้องกับตัวแปรอิสระอืน่ ๆ อย่างไร
อธิบายทีละตัวแปร เมื่อวิเคราะห์และอ้างอิงแล้วสรุ ปว่ามีสมมุติฐานว่า
อย่างไร
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
ผูว้ ิจยั บอกลาดับขั้นตอนของการวิจยั ซึ่ งเป็ นการ
อธิบายรายละเอียดของวิธีดาเนินการวิจยั เป็ นขั้นตอน
ต่าง ๆ คือ
วิธีดาเนินการวิจัย (Method and Procedure)
ประกอบด้วย การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจยั
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล การ
วิเคราะห์ขอ้ มูล และสถิติที่ใช้ในการวิจยั
การเลือกกลุ่มตัวอย่ างในการวิจัย
(Selection of Sample) เป็ นการเขียน
แสดงให้ทราบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ
วิจยั คือใคร ได้มาจากแหล่งใด ได้มาโดยวิธี
ใด (โดยการสุ่มหรื อไม่ มีการสุ่มถ้ ามีการสุ่มเป็ น
การสุ่มแบบใด) จานวนกลุ่มประชากรเท่าใด
และเป็ นกลุ่มตัวอย่างเท่าไร
การเก็บรวบรวมข้ อมูล (Data Collection) เป็ นการ
อธิบายว่าผูว้ จิ ยั จะเก็บข้อมูลอย่างไร เก็บด้วยตนเอง หรื อ
ต้องอาศัยผูอ้ ื่นช่วย หรื อใช้การส่ งทางไปรษณี ย ์
การวิเคราะห์ ข้อมูล (Analysis of Data) เป็ นการบอก
ถึงการจัดกระทาข้อมูล จาแนกข้อมูลตัวแปร และวิธี
วิเคราะห์ขอ้ มูล ใช้วิธีการทางสถิติใดในการวิเคราะห์ และ
วิธีการทางสถิติน้ นั มีสูตรการคานวณอย่างไร
บทที่ 4ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ผู้วจิ ัยต้ องเขียนในเชิงของการเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล คือ
1. ควรเสนอเรี ยงลาดับตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั หรื อตามสมมุติฐานของการวิจยั ทีละ
ข้อ
2. ถ้าสามารถรวมผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็ นตารางเดียวกันได้กค็ วรจะรวมกันไว้ และการ
แปลผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลก็ควรแปลเฉพาะประเด็นที่สาคัญหรื อข้อค้นพบที่เด่น ๆ แปล
ความเชิงสถิติเป็ นหลัก ไม่ควรตีความหรื อขยายความเพิม่ เติมในบทนี้
3. ใช้เทคนิคในการแปลผลที่เรี ยกว่า “ข้อมูลพูดได้” เช่น ใช้แผนภูมิแผนภาพต่าง ๆ
ประกอบในการแปลผล ไม่จาเป็ นจะต้องเสนอตารางที่มีตวั เลขมาก ๆ
4. ใช้ภาษาเขียนที่อ่านง่ายและเหมาะสมกับผูอ้ ่าน พยายามแปลงภาษาทางสถิติให้เป็ นภาษา
เขียนที่ผอู้ ่านสามารถเข้าใจได้ง่าย ๆ
5. การเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลระหว่างตาราง ควรมีขอ้ ความนาเพื่อเชื่อมโยงให้เห็น
ความต่อเนื่องระหว่างสิ่ งที่เสนอไปแล้วกับสิ่ งที่จะเสนอต่อไปอย่างไร
6. การเขียนหัวตาราง ในการเขียนหัวตารางจะต้องเขียนให้ชดั เจน ไม่คลุมเครื อบอกลาดับ
ตารางเพื่อง่ายแก่การค้นคว้าจากสารบัญตาราง เช่น ตาราง 1 ตาราง 2 เป็ นต้น
7. เสนอผลกระทบ (lmpact) ซึ่งเกิดจากการดาเนินการแก้ปัญหา
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย อภิปราย และข้ อเสนอแนะ
- เป็ นการที่ผวู้ จิ ยั สรุ ปวิธีการดาเนินการวิจยั ทั้งหมด จนถึงขั้น
การวิเคราะห์ สรุ ปกลุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่ มตัวอย่าง เครื่ องมือที่
ใช้ ตลอดจนการรวบรวมข้อมูล
- สรุ ปผลการวิจยั ที่ได้จากการประมวลและวิเคราะห์ขอ้ มูล
ทั้งหมด
- อภิปรายผลการวิจยั ในเชิงเปรี ยบเทียบกับทฤษฎี การได้มาซึ่ง
ข้อสรุ ปสอดคล้อง หรื อโต้แย้งอย่างไร มีเหตุผลใดมาสนับสนุน
- ข้อเสนอแนะในลักษณะการนาผลการวิจยั ไปใช้ หรื อ
ข้อเสนอแนะเพื่อเป็ นแนวทางให้แก่ผทู้ ี่จะทาวิจยั ต่อไป
บรรณานุกรม หรือ หนังสื ออ้ างอิง
(Bibliography) เป็ นการอ้างอิง รายชื่อหนังสื อ
สิ่ งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น วารสาร จุลสาร เป็ นต้น รวมทั้ง
วารสารงานวิจยั ปริ ญญานิพนธ์ต่าง ๆ ทั้งของในประเทศ
และต่างประเทศที่ผวู ้ จิ ยั ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ผูว้ ิจยั
ต้องนาเสนอโดยเขียนให้ถูกต้องตามหลักการเขียน
บรรณานุกรม โดยจะเสนอที่เป็ นรายชื่อภาษาไทยไว้
ก่อนแล้วตามด้วยภาษาอังกฤษ
ภาคผนวก (Appendices) คือ ส่ วนที่นารายละเอียด
ปลีกย่อยของเนื้อหาที่ไม่จาเป็ นต้องใส่ ไว้ในส่ วนของเนื้อหามารวมไว้
ตอนท้ายเล่ม เพื่อการอ้างอิงในรายละเอียด อาจเป็ นข้อมูลตัวเลข
ตารางผลการวิเคราะห์เอกสารต่าง ๆ ตัวอย่างเครื่ องมือ ฯลฯ เท่าที่
ผูว้ จิ ยั เห็นว่าจะเป็ นประโยชน์ในการศึกษางานวิจยั เท่านั้น อาจจะแยก
เป็ นประเภทของภาคผนวกก็ได้ เช่น
ภาคผนวก ก. เป็ นเรื่ องของตารางผลการวิเคราะห์ที่เป็ น
รายละเอียดเพิ่มเติม
ภาคผนวก ข. เป็ นตัวอย่างเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ทั้งหมด
ภาคผนวก ค. เป็ นเอกสารประกอบอื่น ๆ เช่น หนังสื อขอความ
ร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็ นต้น
การวิเคราะห์ ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณ
1.กรอบความคิดแนวแคบ
2.จากัดตัวแปร
3.เชื่อตัวเลข
4.นาเสนอด้วยสัญลักษณ์
Statistics for Analysis
สถิติคืออะไร
๑. สถิติ คือตัวเลขข้อมูล
๒. สถิติ คือการนาเสนอตัวเลขข้อมูล
๓. สถิติ คือวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ประเภทของวิธีการทางสถิติ
1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
2. สถิติอนุมาน (Inferential Statistics)
การใช้ สถิติในการวิจัยทางการศึกษา
ประเภทของวิธีการสถิติที่ใช้ ในการวิจยั
Borg and Gall (1989:366) จาแนกชนิดของเทคนิคการวิเคราะห์ ทาง
สถิติออกเป็ น 3 ประเภท ได้ แก่
1. สถิติพรรณนา (descriptive statistics)
2. สถิติอนุมานหรือสถิติอ้างอิง (inferential statistics)
3. สถิติเพือ่ การตรวจสอบ (test statistics)
สถิติพรรณนา เป็ นระเบียบวิธีทางสถิติที่มุ่งหมายอธิ บายภาพรวมของ
ข้อมูลกลุ่มที่ศึกษาเท่านั้น ผลที่ได้จะไม่นาไปอธิ บายหรื ออ้างอิงถึงกลุ่ม
อื่นๆ เป็ นสถิติที่ที่ใช้อธิบายลักษณะที่สาคัญของข้อมูล ได้แก่
1.1. การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าต่าสุ ด ค่าสูงสุ ด
1.2. การวัดแนวแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางได้แก่ ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน
ฐานนิยม
1.3. การวัดการกระจาย ได้แก่ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
สัมประสิ ทธิ์ของความผันแปร หรื อความแปรปรวน (C.V.)
สถิตอิ นุมานหรือสถิตอิ ้ างอิง
เป็ นกระบวนการของตัวเลขทีจ่ ะใช้ ในการตัดสิ นใจ โดยระเบียบ
วิธีการทางสถิตจิ ะศึกษาข้ อมูลจากกลุ่มตัวอย่ าง (sample) แล้ วนาผล
การศึกษาไปอธิบายลักษณะของประชากร การวิเคราะห์ ข้อมูลอาศัย
ทฤษฎีความน่ าจะเป็ นในการอ้ างอิงถึงลักษณะประชากร สามารถ
จาแนกสถิตปิ ระเภทนีต้ ามวัตถุประสงค์ ของการอนุมาน เช่ น
1 การประมาณค่ า (ประมาณค่ าเฉลีย่ สั ดส่ วน ความแปรปรวนของ
ประชากร)
2 การทดสอบสมมติฐาน (Z-test , t-test)
3 การหาความสั มพันธ์ (Pearson-r , Chi-square test)
4 การหาความแตกต่ าง (t-test , ANOVA , MANOVA)
5 การพยากรณ์ (simple regression , multiple regression)
สถิติเพื่อการตรวจสอบ เป็ นวิธีการทางคณิ ตศาสตร์ที่ใช้อธิ บายและวิเคราะห์
คุณสมบัติของแบบทดสอบหรื อเครื่ องมือวัดในเชิงจิตวิทยาต่างๆ จาแนกได้ 3 ชนิ ด
ได้แก่
3.1 การตรวจสอบความถูกต้อง (test validity) เช่น
validity coefficient , standard error of estimate
3.2 การตรวจสอบความเชื่อถือได้ (test reliability) เช่น
split - half , test - retest , Kuder – Richardson , Cronbach’s alpha
3.3 การตรวจสอบลักษณะข้อคาถาม (item characteristics) เช่น
item – validity coefficient , index of item difficulty
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากตัวแปรตัวเดียว
2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากตัวแปรสองตัว
ระดับของการวัดตัวแปร
การแบ่งข้อมูลหรื อตัวแปรตามระดับการวัดแบ่งได้เป็ น 3 ระดับ ดังนี้
1. นามมาตร (nominal scale) จาแนกตามลักษณะหรื อคุณสมบัติที่เหมือนกัน เช่น เพศ
ศาสนา ถิ่นที่อยูอ่ าศัย
2. อันดับมาตร (ordinal scale) วัดโดยการจัดเรี ยงลาดับ ซึ่ งไม่สามารถบอกปริ มาณ
ความแตกต่างว่าเป็ นเท่าใด เช่น ให้เรี ยงลาดับจังหวัดที่ตอ้ งการไปเที่ยวจากมากไปหาน้อย
ลาดับที่ 1 เชียงใหม่
ลาดับที่ 2 นครศรี ธรรมราช
ลาดับที่ 3 ชัยภูมิ
3. ช่วงมาตร (interval scale) วัดข้อมูลที่สามารถกาหนดช่วงความห่ างได้เท่ากัน แต่
ไม่ได้เริ่ มจากจุดศูนย์แท้ เช่น เทอร์ โมมิเตอร์ การวัด IQ การวัดความคิดเห็นที่ใช้สเกลอันตร
ภาค
4.อัตราส่ วนมาตร (ratio scale) วัดข้อมูลที่สามารถกาหนดช่วงความห่ างได้เท่ากัน โดย
เริ่ มต้นจากจุดศูนย์แท้ เช่น การวัดความสู ง น้ าหนัก ความเร็ ว
สถิติพรรณนา
การพิจารณาข้อมูลของกลุ่ม
•
•
•
•
•
•
•
Mean
Mode
Median
Standard Deviation
Variance
ความเบ้
ความโด่ง
การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากตัวแปรตัวเดียว
• การวิเคราะห์ขอ้ มูลจากตัวแปรตัวเดียว
– การออกตารางแจกแจงความถี่ การหาค่าร้อยละ
– การวิเคราะห์แนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง (ข้อมูลอันตรภาค)
– การการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ข้อมูลอันตรภาค)
– การทดสอบสมมติฐานแบบ z-test (ข้อมูลอันตรภาค)
– การทดสอบสมมติฐานแบบ t-test (ข้อมูลอันตรภาค)
– การทดสอบสมมติฐานแบบ chi-square (ข้อมูลนาม)
ความสัมพันธ์เชิงเส้น (ทางบวก)
Linear Model
Y
rxy = +
X
ความสัมพันธ์เชิงเส้น (ทางลบ)
Linear Model
Y
rxy = -
X
Multiple Regression
•Stepwise
•Enter
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง
การศึกษา
ของพ่อแม่
ฐานะทางเศรษฐกิจ
การสนับสนุน
จากครอบครัว
สังคมเพื่อน
ที่กวดวิชา
ถิ่นที่อยูใ่ นเมือง
การได้เรี ยน
กวดวิชา
การได้เรี ยน
โรงเรี ยนยอดนิยม
ลักษณะใฝ่ เรี ยนรู้
เพศ
สายวิชาวิทย์ฯ
ผลสัมฤทธิ์ ทาง
การเรี ยน
การสอบเข้า
มหาวิทยาลัยได้
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
•กราฟ หรื อ pie chart
•ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
•สรุ ปเป็ น model หรื อโครงสร้างการคิด
(Mind map)
•บรรยายเรื่ องในเชิงทฤษฎี หรื อเปรี ยบเทียบ
แบบนามธรรม
•เล่าเรื่ อง