การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอILO

Download Report

Transcript การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอILO

การจาแนกประเภทอุบตั เิ หตุของไอแอลโอ
(ILO : International Labour Organization)
I. ประเภทของอุบัตเิ หตุจาแนก ตามชนิดของอุบัตเิ หตุ
1. การพลัดตกของคนงาน
2. การถูกวัสดุหล่ นทับ
3. การถูกชนเฉี่ยวกระแทกโดยวัสดุทุกชนิดยกเว้ น
จากการหล่ น
4. การถูกหนีบหรือจับเข้ าไว้ ระหว่ างวัตถุ 2 ชิ้น
5. การออกแรงเกินกาลัง
6. การสั มผัสกับอุณหภูมสิ ู งหรือตา่ เกินไป
7. การสั มผัสกับกระแสไฟฟ้า
8. การสั มผัสกับสารพิษหรือการรับการแผ่ รังสี ต่าง ๆ
9. อุบัตเิ หตุชนิดอืน่ ๆ ทีม่ ไิ ด้ เข้ าชนิดตามทีร่ ะบุไว้
ในข้ อ 1 ถึงหัวข้ อที่ 8
II. ประเภทของอุบัตเิ หตุจาแนกตามตัวการเกิดอุบัตเิ หตุ
1. เครื่องจักรกล
1.1 เครื่องต้ นกาลังต่ าง ๆ ยกเว้ นมอเตอร์ ไฟฟ้า
1.2 อุปกรณ์ ส่งถ่ ายกาลังกล
1.3 เครื่องขึน้ รู ปโลหะ
1.4 เครื่องจักรกลงานไม้
1.5 เครื่องจักรกลการเกษตร
1.6 เครื่องจักรกลเหมืองแร่
1.7 เครื่องจักรกลอืน่ ๆ ทีม่ ไิ ด้ ระบุเอาไว้
ในข้ างต้ น
2.
วัสดุอุปกรณ์ ในการขนถ่ ายและยกวัสดุ
2.1 รถยกและเครื่องยกต่ าง ๆ
2.2 รถหรือล้ อทีม่ รี างเลือ่ น
2.3 ล้ อเลือ่ นอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ แล่ นบนรางเลื่อน
2.4 พาหนะขนส่ งทางอากาศ
2.5 พาหนะขนส่ งทางนา้
2.6 พาหนะขนส่ งอืน่ ๆ
3. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ อนื่ ๆ
3.1 ภาชนะบรรจุความดันสู ง
3.2 เตาหลอม เตาเผา เตาอบ ฯลฯ
3.3 ระบบเครื่องทาความเย็น
3.4 ระบบไฟฟ้าต่ าง ๆ ที่ติดตั้งถาวรยกเว้ น
เครื่องมือไฟฟ้า
3.5 เครื่องมือไฟฟ้าต่ าง ๆ ที่บันไดแบบต่ าง ๆ
3.6 เครื่องมือเครื่องใช้ ต่าง ๆ ทีไ่ ม่ ใช้ ไฟฟ้า
3.7 บันไดและล้ อเลือ่ นทาหน้ า
3.8 โครงสร้ างและนั่งร้ าน
3.9 เครื่องจักรกลอืน่ ๆ
4. วัสดุ สารและรังสี
4.1 วัตถุระเบิด
4.2 ฝุ่ นผง แก๊ ส ของเหลว สารเคมีต่าง ๆ
ยกเว้ น วัตถุระเบิด
4.3 วัตถุทแี่ ตกกระจายลอยไปในอากาศ
4.4 รังสี และสารกามันตภาพรังสี
4.5 สารอืน่ ๆ ทีม่ ไิ ด้ ระบุไว้
5. สภาพแวดล้ อมในการทางาน
5.1 ภายนอกอาคารโรงงาน
5.2 ภายในอาคารโรงงาน
5.3 ใต้ ดนิ
6. ตัวการอันตรายอืน่ ๆ
6.1 สั ตว์ มอี นั ตรายต่ าง ๆ
6.2 ตัวการอืน่ ๆ ทีม่ ไิ ด้ ระบุไว้
III. ประเภทของอุบัตเิ หตุจาแนกตามลักษณะของ
ความบาดเจ็บ
1. เกิดบาดแผล
2. กระดูกเคลือ่ น
3. เคล็ดขัดยอก ฟกช้าบวม
4. การกระทบกระเทือนและบาดเจ็บภายใน
5. ถูกตัดหรือเฉือนเนือ้ หรืออวัยวะออกไป
6. บาดแผลอืน่ ๆ
7. บาดแผลฉกรรจ์
8. ถูกอัดกระแทกจนเละ
9. ถูกไฟไหม้
10. ถูกสารพิษอย่ างแรง
11. แพ้สภาวะแวดล้ อมในการทางาน
12. การสลบหมดสติ
13. อันตรายจากกระแสไฟฟ้ า
14. อันตรายจากสารกามันตรังสี
15. ได้ รับอันตรายผสมกันจากหลายสาเหตุ
16. อันตรายอืน่ ๆ ทีม่ ไิ ด้ ระบุเอาไว้
4. ประเภทของอุบัตเิ หตุจาแนกตามจุดทีเ่ กิดแก่ ร่างกาย
1. ศรีษะ
2. คอ
3. ลาตัว
4. แขนช่ วงบน
5. แขนช่ วงล่ าง
6. ขาช่ วงบน
7. ปลายขา (ข้ อเท้ า,ฝ่ าเท้ า)
8. ความบาดเจ็บทั่วไป
9. ความบาดเจ็บหลายแห่ งพร้ อม ๆ กัน
10. จุดบาดเจ็บอืน่ ๆ ทีม่ ไิ ด้ ระบุไว้
การคานวณอัตราการเกิดอุบัตเิ หตุ
มาตรฐานเปรียบเทียบจานวนครั้งของอุบัตเิ หตุที่
เกิดขึน้ ต่ อเวลาทางาน 1 ล้ าน
ชั่วโมง-คนงาน
(man-hours of exposure) หน่ วยทีไ่ ด้ เรียก อัตราความถี่
ของอุบัตเิ หตุ (Frequency rate) , F
อัตราความถี่ของอุบัตเิ หตุ
(Frequency rate, F)
=
จานวนครั้งของอุบัตเิ หตุ x 1,000,000
จานวนชั่วโมง - คนงานทั้งหมด
F = N x 1,000,000
(m-h)
หรือ
โดยที่
N
= จานวนครั้งของอุบัตเิ หตุ
(m-h)
= จานวนชั่วโมง – คนงานทั้งหมด
ในช่ วงเวลาทีค่ านวณ
ตัวอย่ าง
โรงงานแห่ งหนึ่งมีคนงาน 500 คน ทางานปี ละ
50 สั ปดาห์ และสั ปดาห์ ละ 48 ชั่วโมง
และมีการ
ขาดงานของคนงานทั้งสิ้น 5 % เนื่องจากเจ็บป่ วย
และธุรกิจส่ วนตัวในเวลา 1 ปี มีอุบัตเิ หตุเกิดขึน้ 60 ครั้ง
จะมีความถี่ของอุบัตเิ หตุเป็ นเท่ าใด
วิธีการคานวณ
จานวน m - h ใน 1 ปี = 500 x 50 x 48 = 1,200,000 ชั่วโมง-คนงาน
. . . มีการขาดงาน 5 %
= 1,200,000 - 0.05 (1,200,000)
. . . จานวน (m - h) จริง
= 1,200,000 - 60,000
. . . (m - h)
= 1,140,000 ชั่วโมง-คนงาน
จะได้ F =
60 x 1,000,000
1,140,000
คาตอบ
F =
52.63 ครั้ง/หนึ่งล้ านชั่วโมงคนงาน
ค่ าความร้ ายแรงของอุบัตเิ หตุ (Severity rate ; S)
=
จานวนวันทางานที่สูญเสี ย x 1,000,000
จานวนชั่วโมง-คนงานทั้งหมด
หรือ
S = DL x 1,000,000
(m - h)
โดยที่ DL = จานวนวันทางานทีส่ ู ญเสี ย (No. of days lost)
ตัวอย่ าง
จากตัวอย่ างข้ างต้ น หากสารวจพบว่ า ในจานวน
อุบัตเิ หตุ 60 ครั้ง ในปี นั้นคิดเป็ นเวลา สู ญเสี ยทั้งสิ้น
1,720 วัน จะคิดเป็ นค่ าความร้ ายแรงของอุบัตเิ หตุเป็ น
เท่ าใด
วิธีคานวณ
จาก
S =
คาตอบ
แทนค่ า S =
=
DL x 1,000,000
(m-h)
1,720 x 1,000,000
1,140,000
1,508 วัน
ตัวอย่ าง
จากตัวอย่ างที่ (1) และ (2) หากว่ าใน
จานวนอุบัตเิ หตุ 60 ครั้ง มีการตายเพิม่ ขึน้ อีก
1 ราย จะมีค่าความร้ ายแรงของอุบัตเิ หตุเป็ น
เท่ าใด
วิธีคานวณ
จากตัวอย่ าง (2) จานวนวันทางานสู ญเสี ย
= 1,720 วัน
การตาย 1 รายถือว่ ามีจานวนวันทางานสู ญเสี ย = 6,000 วัน
ดังนั้น คิดเป็ นจานวนวันทางานสู ญเสี ยรวม = 7,720 วัน
ดังนั้น ค่ า S =
7,720 x 1,000,000
1,140,000
= 6,772 วัน
สรุป
เราพบว่ าเมื่อมีการเสี ยชีวติ เกิดขึน้ ค่ า S จะ
เปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ เป็ นอย่ างมาก ขณะที่ค่า F
มีความเปลีย่ นแปลงเพียงเล็กน้ อยเท่ านั้น