3. ยาความเสี่ยงสูง ปี 2557 - โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม

Download Report

Transcript 3. ยาความเสี่ยงสูง ปี 2557 - โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม

ยาความเสีย่ งสูงในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม
ภญ. อุมาพร คาพรหม รพร.ธาตุพนม 21/7/57
ยาความเสีย่ งสูง (High Alert Drug)
 ยาความเสี่ยงสูง (High Alert Drug) คือยาที่จะทาให้ เกิดอันตรายร้ ายแรงกับ
ผู้ป่วยเมื่อเกิดความผิดพลาดในการสั่งจ่ายและการบริหารยาแก่ผ้ ปู ่ วย
รายการยาความเสีย่ งสูงใน รพร ธาตุพนม
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
Adrenaline inj
Adenosine inj
Amiodarone inj/tab
Atropine inj
Calcium gluconate inj
Digoxin inj/tab
do-Butamine inj
Dopamine inj
Enoxaparin inj
Heparin inj
Levophed inj (Norepinephrine inj )
รายการยาความเสีย่ งสูงใน รพร ธาตุพนม
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
Hypertonic sodium chloride(3% NaCl)
Insulin
Magnesium sulfate 50% inj
Morphine inj
Nitroglycerine inj
Pethidine inj
Phenytoin inj/tab
Potassium chloride inj
Sodium bicarbonate inj
Strptokinase inj
Warfarin tab
Epinephrine/Adrenaline
ขนาด 1 mg/ml
ขนาดและวิธีใช้
• 1 mg IV. push ทุก 3-5 นาที
• 2-2.5 mg dilution จานวน 10 ml ทาง ET-tube
• 0.1-1 mg / kg / min IV infusion ปรับขนาดตาม
ความดันโลหิ ตที่ตอ้ งการ และขนาดยาที่สูงขึ้นจะ
ทาให้หวั ใจเต้นเร็ วและผิดจังหวะมากขึ้น
• 0.01 mg/kg IV /SC ในเด็ก
ข้อควรระวัง
 ห้ามผสมหรือให้พร้อมกับสารละลายที่เป็ นด่าง เช่น โซเดียมไบคาร์บอเนต อาจเกิ ด Auto
–oxidation ทาให้ Epinephrine เสื่อมสภาพได้
 ระมัดระวังการใช้ ในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเต้ นผิดจังหวะ โรคของหลอดเลือดส่วนปลาย
อาการไม่พงึ ประสงค์ที่สาคัญ
 หัวใจเต้ นเร็ว หัวใจเต้ นผิดจังหวะ
 ความดันโลหิตสูง
 ปลายมือ ปลายเท้ าเขียว
 หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้ เกิดเนื้อเยื่อตายได้
การติดตาม
 Record vital sign ทุก 3-5นาที หรือตามแผนการรักษา
Dopamine
ใช้รักษาภาวะ Hypotension ที่ไม่มีภาวะ
Hypovolemia
วิธีการผสมในสารน้ าให้ทางหลอดเลือดดา
อัตราส่ วน 1:1 หรื อ 2:1 (ยา 1 mg หรื อ 2 mg. ใน
สารน้ า 1ml)
การออกฤทธิ์ 1-2นาที สู งสุ ดน้อยกว่า 5นาที ออก
ฤทธิ์ นาน 10นาที
ขนาด 250 mg /ampule
ขนาดและวิธีใช้
 ให้ ทางหลอดเลือดดาทางเดียวเท่านั้นโดยผสมเจือจางกับสารนา้
 สามารถปรับขึ้นได้อย่างช้า ๆจนกระทัง่ ได้ความดันโลหิ ต , ปริ มาณปั สสาวะต่อ
ชัว่ โมง หรื ออาการอื่นที่แสดงถึง organ perfusion ดีข้ ึน
 ไม่ควรใช้ขนาดที่สูงกว่า 20 μg/kg/min
การติดตาม
 Record vital sign อย่างน้อยทุก 1 ชัว่ โมงขณะให้ยาและปรับขนาดยาให้เหมาะกับ
ผูป้ ่ วยแต่ละราย
ข้อควรระวัง
 ต้ องเฝ้ าระวังหากใช้ ร่วมกับ dilantin (phenytoin) เพราะจะเกิดความดันต่า และ
หัวใจเต้ นช้ าลง ผู้ป่วยอาจช็อคได้
 ห้ ามผสมหรือให้ dopamine พร้ อมกับสารละลายที่เป็ นด่าง เช่น โซเดียมไบ
คาร์บอเนต เพราะ dopamine จะเสื่อมสลายอย่างช้ าๆในสารละลายที่เป็ นด่าง
อาการไม่พึงประสงค์
 ทาให้ อตั ราการเต้ นของหัวใจเพิ่มขึ้น อาจกระตุ้นให้ เกิด Supraventricular และ
Ventricular Arrhythmias นอกจากนี้ยงั ทาให้ กล้ ามเนื้อหัวใจขาดเลือดให้
มากขึ้นได้
 ถ้ ายารั่วออกนอกเส้ นเลือดอาจเกิด Cutaneous tissue necrosis ได้ เนื่องจากยาทา
ให้ หลอดเลือดฝอย บริเวณนั้นหดตัวอย่างรุนแรง
Dobutamine /Dobutrex ®
ขนาดและวิธีใช้
•ผสมใน solution (D5W /NSS)อัตราผสม 1:1
หรื อ 2:1 infusion เช่ นเดียวกับ Dopamine
•เพิ่ม cardiac output ขนาดที่ใช้ อยู่ในช่ วง 2.520 ug/kg/min
การออกฤทธิ์
ขนาด 250 mg/amp 1-2 นาที ออกฤทธิ์สูงสุด 10-20 นาที
ข้ อควรระวัง
•อาจทาให้ เกิด Tachycardia หรือ Arrhythmia อื่น ๆ
•อาจทาให้ เกิดภาวะกล้ ามเนือ้ หัวใจขาดเลือดได้
•ถ้ าใช้ ในผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ ามเนือ้ หัวใจขาดเลือด ต้ องระมัดระวัง
ไม่ ให้ อัตราการเต้ นของ หัวใจเร็วเกิน 10 % ของอัตราเดิม
Norepinephrine (Levophed)
ขนาด 4mg/4ml
การผสม ความคงตัวของยา และความเข้ากันได้
 เจือจางยาด้ วย D5Wปริมาตร 100 mL ไม่
แนะนาให้ เจือจางใน NSS เดี่ยวๆ เพื่อป้ องกัน
การสูญเสียความแรงของยาจากปฏิกริ ิยา
oxidation(1 amp+d5w 100 ml max
rate 45 ud/min ปรับข้ น1-2 ud/min ได้
ทุก 10 นาที)
• ห้ ามให้ ในสาย I.V. เดียวกันกับเลือดและ
พลาสมา หรือสารละลายที่เป็ นด่าง เช่น sodium
bicarbonate
• สารละลายที่เจือจางแล้ วจะมีความคงตัว 24 ชั่วโมง ที่อณ
ุ หภูมิห้อง โดยเก็บให้
พ้ นแสง
• ห้ ามใช้ สารละลายที่ข่นุ หรือเปลี่ยนเป็ นสีชมพู สีเหลืองเข้ ม หรือสีนา้ ตาล
MONITORING
▪ ระวังการรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือด เพราะจะทาให้ เกิดเนื ้อตาย และ
หากต้ องใช้ เป็ นเวลานาน ควรเปลี่ยนแปลงบริเวณที่แทงเข็มเข้ าหลอดเลือด
เป็ นระยะ เพื่อลดการเกิดภาวะหลอดเลือดหดตัวในบริเวณที่แทงเข็ม
▪ ตรวจวัดความดันเลือด และชีพจรทุก 2 นาที เมื่อเริ่มให้ ยาและวัดทุก 5 นาที
เมื่อความดันเลือดอยูใ่ นระดับคงที่ที่ต้องการ หลังจากนันวั
้ ดทุก 15 นาที
Adenosine (Adenocor)
ข้ อบ่ งชี้
•เป็ นยาตัวแรกของ narrow complex PSVT
ขนาด 6 mg/2 ml
ขนาดและวิธีใช้
•เริ่ มให้ที่ขนาด 6mg อย่างเร็ วในเวลา 1-3วินาที ตาม
ด้วยน้ าเกลือ (NSS) 20ml แล้วยกแขนที่ฉีดหรื อขาข้าง
ที่ฉีดให้สูงขึ้น
•ให้ซ้ าอีก 12 mg ใน 1-2นาที ถ้าจาเป็ น
•อาจเป็ นครั้งที่ 3 อีก 12mg ใน 1 ถึง 2 นาที ถ้าจาเป็ น
 ข้อควรระวัง
 ผลข้ างเคียงชั่วคราวได้ แก่ อาการวูบวาบ (flushing) เจ็บหรือแน่นหน้ าอก เกิด




asystole หรือ bradycardia ในช่วงสั้น ๆ หรือมี ventricular ectopic
ประสิทธิภาพจะลดลงในผู้ป่วยที่ได้ รับ theophyllines และควรหลีกเลี่ยงใน
ผู้ป่วยที่ได้ รับยา dipyridamole(persantin , posanin)
ถ้ าให้ ใน wide –complex tachycardia /VT อาจเป็ นสาเหตุให้ อาการแย่
ลง(รวมถึงความดันโลหิตตก)
หลังภาวะหัวใจเต้ นเร็วหยุดได้ แล้ ว มักมี sinus bradycardia และ
ventricular ectopic เกิดขึ้น อยู่ระยะหนึ่งแต่ไม่นานนัก
ข้อห้าม : ภาวะได้รบั สารพิษ หรือใช้รกั ษาหัวใจเต้นเร็วทีเ่ กิดจากยา (druginduced tachycardia)
Amiodarone (Cordarone)
-กรณี ใช้รักษา ventricular arrhythmias
-150mg dilute 5% D/W 100 ml IV. drip in 10min. then 360
mg dilute 5%D/W 500 ml IV. drip in 6 hr then 540 mg dilute
5%D/W 500 ml IV. drip in 18 hr
or
300 mg dilute 5% D/W 100 ml IV. drip in 1hr.
then 600 mg dilute 5%D/W 500 ml IV. drip in 24 hr
ยาฉี ด ขนาด 150 mg/3ml
- กรณี ใช้ Pulseless VF or VT :
IV; - Bolus: 150-300 mg ในสารละลาย 10-20 mL, rate: 150300 mg over 1-2 minutes (ฉุกเฉินเท่านัน)
้
สารน ้าที่เข้ ากันได้ : ยาผสมได้ ใน D5W เท่านัน้ การผสมใน NSS
อาจตกตะกอน
ข้อควรระวัง
 ไม่ใช้ในผูป้ ่ วยหัวใจเต้นผิดปกติจาก AV block และถ้าให้ยาเร็ ว
เกินไป ทาให้หวั ใจเต้นผิดจังหวะอยูเ่ ดิมรุ นแรงขึ้น
 ไม่ใช้ร่วมกับยาอื่นๆ
 เกิด phlebitis ได้ง่าย
10% calcium gluconate
ขนาดและวิธีใช้
•ขนาด 5 -10 ml IV. ช้ าๆไม่ต่ากว่า 5-10 นาที(แนะนา 7 นาที)
โดยไม่ต้อง dilute ยา หรื อ infusion d5w 100 ml drip in 1 hr
ในคนไข้ ที่ on digoxin
ข้ อควรระวัง
• ถ้ าให้ เร็ว จะทาให้ หวั ใจเต้ นช้ า และกระตุ้นให้ เกิด Coronary
artery spasm
•ห้ ามให้ พร้ อมกับ NaHCO3 เพราะจะเกิดปฏิกิริยาทาให้
ตกตะกอนได้
50% magnesium sulphate
ขนาด 1 g/amp
•ให้ เพื่อทดแทนในผู้ป่วยภาวะมีระดับ Mgต่า (1-2 g in 4 -6 hr
note :มักจะพบorder 4 ml+d5w 100 ml drip in 4 hr)
สามารถใช้ NSS ผสมได้
อาการไม่ พงึ ประสงค์
อาการแสดงเมื่อระดับ Mg สู งเกินไป ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน
หน้าแดง เหงื่อออก กระหายน้ า ท้องเสี ย ความดันโลหิ ตต่า
กดการทางานของระบบกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต
กดระบบประสาทส่ วนกลาง มึนงง สับสน ง่วงหลับ กดการ
หายใจ กดการทางานของหัวใจ เกิด heart blockได้
Nitroglycerine(Nitrocine)
วิธผี สม
1:10 (ยา 1amp+d5w 100 ml) max rate 120 ud/min,
1:5 (ยา 2amp+d5w 100 ml) max rate 60 ud/min
ข้อควรระวัง
 ผลข้ างเคียงที่พบบ่อยคือ ภาวะความดันโลหิตต่า ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ หน้ ามืด หรือเป็ นลม การนอนศีรษะต่าจะช่วยให้ อาการ
เหล่านี้ดขี ้ นึ
 การให้ ยาอย่างต่อเนื่อง จะเกิดภาวะดื้อยาทาให้ การรักษาไม่ได้ ผล
10 mg / 10 ml / ampule จึงไม่ให้ ยานี้ต่อเนื่องกันหลายวัน
Diazepam
ขนาดและวิธีใช้
0.2 mg / kg ( 10 mg / 2 ml / ampule ) ให้ได้ท้ งั ฉีดเข้า
กล้ามเนื้อและหลอดเลือดดา
ข้ อควรระวัง
• อาจทาให้หลอดเลือดอักเสบได้
• เกิดภาวะความดันโลหิ ตต่าได้
• ถ้าให้ร่วมกับยาลดกรดประเภท Cimetidine จะทาให้ยาออก
ฤทธิ์ นานขึ้น
• ไม่ควรให้ร่วมกับยาอื่นเพราะจะทาให้ตกตะกอนได้
สามารถกดการหายใจได้ ทาให้เกิดคาร์ บอนไดออกไซด์คงั่
ห้ามผสมในสารน้ าทุกชนิ ดเพราะทาให้ตกตะกอนได้ง่าย
7.5% sodium bicarbonate
ขนาดและวิธีใช้
• 1 mEq/kg IV. bolus หรื อผสมใน Solution ให้ทาง
หลอดเลือดดา
• Max rate (ไม่เกิน 50 mEq/hr)
• cardiac arrest iv push 5 cc/min
7.5 % NaHCO3
50 ml / amp = 44.6 mEq
ข้ อควรระวัง
• ระวังไม่ให้สารละลายที่เป็ นด่าง ควบคู่กบั
Adrenergic drugs ฤทธิ์ ของยาจะเสื่ อม
• ห้ามให้พร้อมกับ Calcium เพราะจะเกิดปฏิกิริยาทา
ให้ตกตะกอนได้
Morphine
ขนาด 10 mg /
1 ml / ampule
ขนาดและวิธีใช้
 ขนาด 0.1 –0.2 mg / kg ให้ได้ท้ งั การฉี ดเข้ากล้าม
 ทางหลอดเลือดดา โดยเจือจาง ใน SWI 10 ml ( 10 ml = 10 mg ) แล้ว
ฉี ดช้า ๆ ในขนาด 1 - 3 mg ทุก ๆ 5 นาที จนกว่าจะได้ผลที่ตอ้ งการ
(กรณี จาเป็ น)
ข้อควรระวัง
 Morphine มีฤทธิ์กดการหายใจ
 ควรระมัดระวัง และเพิ่มขนาดขึ้นช้ า ๆ ในผู้ป่วยที่มภ
ี าวะขาดนา้ ยานี้
จะทาให้ ความดันโลหิตลดลง จึงควรตรวจวัดและติดตามความดัน
โลหิตอย่างต่อเนื่อง
 อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนได้
Pethidine
 มีคุณสมบัติ คือ ลดอาการปวดปานกลางถึงรุนแรง
 การบริ หารยา สามารถให้ทาง IM ,SC,IV infusion, IV push
 I.V. push : เจือจางด้วย sterile water for injection ให้ได้ความ
50 mg/ml
เข้มข้น 10 mg/mL ให้ฉีดช้าๆ ใช้เวลาอย่างน้ อย 5 นาที
 อาการที่ต้องติดตามเพื่อปรึกษาแพทย์
1. อัตราการหายใจ : หากหายใจช้ าลง
2. Blood pressure : hypotension
Insulin
 พวกที่ออกฤทธิ์เร็ ว ( Short acting )เช่น Regular Insulin (RI) เริ่ มออกฤทธิ์ 30-60 นาที
ออกฤทธิ์ได้สูงสุ ดภายใน 2 – 4 ชัว่ โมงมีฤทธิ์นานประมาณ 5-7 ชม.
 พวกที่ออกฤทธิ์ปานกลาง ( Intermediate acting )เช่น NPH เริ่ มออกฤทธิ์ 2 – 4 ชัว่ โมง
ออกฤทธิ์สูงสุ ดภายใน 6 – 12 ชัว่ โมงมีฤทธิ์นานประมาณ 18-24 ชม.
ข้อควรระวัง
 อาจทาให้ มภ
ี าวะนา้ ตาลในเลือดต่าได้ ควรสังเกตอาการอย่างใกล้ ชิดหลังจาการได้ รับยา
 ในรายที่รับประทานอาหารไม่ได้ หรือ NPO ควรพิจารณาการให้ Insulin อย่างเข้มงวดเพื่อ
ป้ องกันภาวะน้ าตาลในเลือดต่าในผูป้ ่ วย
3% sodium chloride
อาการไม่ พงึ ประสงค์ ที่สาคัญ
 เกิด venous thrombosis, phlebitis หรื อ extravasation บริ เวณที่บริ หารยา
 ภาวะ hypervolemia หรื อ overhydration
 ภาวะโพแทสเซี ยมในเลือดต่า
การติดตามการใช้ ยา (Monitoring)
 ติดตามระดับ sodium, potassium, chloride, bicarbonate ในเลือดผูป้ ่ วย เพื่อป้ องกันการเกิด
electrolyte imbalance
 ติดตามความสมดุลระหว่างปริ มาณสารน้ า ที่ให้แก่ผป
ู้ ่ วยต่อวันและปริ มาณน้ าปั สสาวะที่ออก
จากร่ างกายผูป้ ่ วยต่อวันทุกวัน (Input VS output balance)
 ติดตามน้ าหนักตัวผูป้ ่ วยที่เปลี่ยนแปลงก่อนและหลังการให้สารน้ า
การแก้ ไขเมื่อมีอาการไม่ พงึ ประสงค์ หรือ ความคลาดเคลือ่ นทางยา
 หากเกิดภาวะ hypernatenia แก้ไขโดยการให้ diuretics หรื อการให้ free water replacement
Atropine sulfate
ขนาด 0.6 mg/ml
ขนาดและวิธีใช้
• 0.6 mg IV. และ ซ้ าได้ทุก 5 นาที จนถึง 3 mg. ถ้าอาการไม่ดี
ขึ้นพิจารณาใช้Pacemaker
• 1-2 mg in NSS 10 ml. ใส่ ทางท่อช่วยหายใจเช่นเดียวกับ
Adrenaline
• 0.02 mg/kg ในเด็ก และ 0.5 mg. ครั้งเดียวในเด็กโต
ข้ อควรระวัง
•Atropine ทาให้เกิด Tachycardia จะทาให้การใช้ออกซิ เจนของ
กล้ามเนื้อหัวใจเพิม่ ขึ้น ซึ่ งอาจเป็ นอันตรายต่อผูป้ ่ วยที่มี
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอยูแ่ ล้ว
•การได้ยาเกินขนาด ทาให้มีอาการ Delirium, Tachycardia,
ผูป้ ่ วยจะรู ้สึกหัวใจเต้นแรงและเร็ วขึ้น ร้อนวูบวาบ , ตาพร่ า ,
อาจหมดสติได้
Potassium chloride
ข้อห้ามใช้
 ห้ามให้ IV push หรื อ bolus
 ระมัดระวังการใช้ในผูป้ ่ วยที่มีภาวะไตวายหรื อปั สสาวะน้อย
อาการไม่ พงึ ประสงค์
 Hyper K คลื่นไส้ ใจสัน
่ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อึดอัด แน่นหน้าอก ชา
ตามปลายมือปลายเท้า
 หากมีการรั่วออกนอกหลอดเลือด อาจทาให้เกิดเนื้อเยือ่ ตายได้
KCL inj
20 mEq/10ml/amp
DIGOXIN
0.5 mg/2 ml
การบริหารยา
 IV push ช้าๆ (~5 นาที) โดยไม่ตอ้ ง dilute หรื อ dilute 4 เท่า
เช่นผสมยา 1 ml. ในน้ ากลัน่ , D5W, NSS 4 มล.
 ตรวจชีพจรและลงบันทึกก่อนให้ยา ในผูใ้ หญ่ถา้ ชีพจรต่ากว่า
60 ครั้ง/นาทีให้แจ้งแพทย์เพื่อยืนยันก่อนให้ยา
 ระวังการใช้ในผูป้ ่ วยที่มี K+ ต่า (ต่ากว่า 3.5 mEq/L)
Phenytoin การบริหารยา
 Order ที่พบบ่อยในผูใ้ หญ่ชกั 750-1000 mg loading dose
250 mg/5 ml/vial
(3-4 vial + NSS 100 ml drip 30 นาที max rate 50 mg/min)
กรณี ผปู้ ่ วยสูงอายุ หรื อมีประวัติเป็ นโรคหัวใจ ควรให้ rate
ช้าลง เช่น 20 mg/minเพื่อป้ องกัน tacchycardia
 สารน้ าที่เข้ากันได้ให้ผสมใน NSS เท่านั้นห้ามผสมใน
สารละลายที่มี Dextrose โดยเด็ดขาด
 การติดตามการใช้ยา if BP < 90/60 notify สังเกตอาการตา
กระตุก ตากรอกไปมา
Nicardipine
 ข้อบ่งใช้ รักษาความดันโลหิตสูงขั้นรุนแรง
 การผสมและให้ ยา
2mg/2ml/amp
Nicardipine 1 : 10
(ยา 5amp =10 mg ผสม D5W 100 ml max 150 ud/min)
Nicardipine 1 : 5
(ยา 10 amp =20 mg ผสม D5W 100 ml max 75ud/min)
Max rate: 15 mg/hr
การติดตาม: Blood pressure
ให้รายงานแพทย์ (critical point) BP < 90/60
Streptokinase
 ข้ อบ่ งใช้ ผูป้ ่ วย acute MI
1,500,000 unit/vial
Pre-med
 Hydrocortisone inj 100 mg iv
 Plasil inj10 mg iv
 CPM inj 10 mg iv
 การผสมยา ละลาย 1,500,000 unitด้วย NSS 5 mlโดยเติม
ช้าๆห้ามเขย่า จากนั้นเจือจางต่อด้วย D5W 100 ml drip 1 hr
 Observe V/S ทุก 5 นาทีขณะให้ยา ,bleeding, monitor EKG
Enoxaparin
 ข้ อบ่ งใช้ ป้ องกันภาวะ deep vein thrombosis
 อาการไม่ พงึ ประสงค์ ต่อระบบเลือด : Hemorrhage
 Monitor : PT, PTT เกร็ ดเลือด
Heparin
Heparin Leo® 5,000 units/mL (5 mL)
 Heparin ออกฤทธิ ์ป้องกันการแข็งตัวของเลือด ใช้
เพือ่ ป้องกันและรักษาภาวะ thromboembolic
disorder
 การผสมยา Heparin ผสมใน NSS or D5W
Monitor
 Platelet counts < 100,000 /mm3 ควรหยุดการให้
ยา heparin
 Patient aPTT/Control aPTT > 2.5 ควรมีการปรับ
ขนาดยาของ heparin I.V. drip โดย ขึน้ กับค่า
aPTT ของผูป้ ว่ ย
 ระดับ hemoglobin ต่าลง (อย่างน้อย 2 gm/dl) และ
สังเกตอาการเลือดออก
ข้ อมูลการใช้ ยาความเสี่ ยงสู งโรงพยาบาลสมเด็จพระ
ยุพราชธาตุพนมปี 2554-2556
ตัวอย่างการเกิด extravasation จาก Levophed
แผนการพัฒนาในปี งบประมาณ 2557
 ทา sticker สีติดสารนา้ ให้ ครอบคลุมยาความเสี่ยงสูงที่ต้องเจือจางมากขึ้น
 ปรับระบบการจ่ายยาโดยจ่ายสารนา้ ที่ผสมไปด้ วยเพื่อกันการผสมผิดหรือ
บริหารยาผิด
 ปรับระบบการบันทึกการ monitor ยาความเสี่ยงสูงให้ ชัดเจนเป็ นระบบ
มากขึ้น
แบบบันทึกอาการไม่พงึ ประสงค์จากยาความเสีย่ งสูง
 แบบเดิม 2555-2557
 แบบที่จะเปลี่ยน
ตัวอย่างแบบบันทึกรายเดือน
(credit from icu)
จบการนาเสนอ
QUESTION & ANSWER