เงิน

Download Report

Transcript เงิน

ความหมายของเงิน
เงิน หมายถึง “สิง่ ทีใ่ ช้เป็ นสือ่ กลางในการ
แลกเปลีย่ น และเป็ นทีย่ อมรับในการชาระหนีไ้ ด้ตามกฎหมาย
เงินประกอบด้วย เหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแส
รายวัน ซึง่ สามารถสัง่ จ่ายด้วยเช็ค และบัตรเครดิต เป็ น
บัตรทีส่ ามารถนาไปซื้อสินค้าและบริการได้สะดวก”
ประวัตคิ วามเป็ นมาของเงิน
เงินได้พฒั นามาหลายรูปแบบ
• ตัง้ แต่เงินเป็ นสินค้า (commodity money )
• เงินทีเ่ ป็ นเหรียญ (Coins)
• ธนบัตร (paper money)
• เงินฝากกระแสรายวัน (demand deposit)
• ะบัตรเครดิต (credit card)
อาณาจักรสุโขทัย
• เรียกว่า เงินพดด้วง (bullet coins)
• หมาย เป็ นเงินกระดาษทาด้วยกระดาษปอนด์สขี าว
• บัตรธนาคาร มีลกั ษณะเป็ นตัว๋ สัญญาใช้เงินของ
ธนาคารพาณิชย์ซงึ่ นาออกใช้เมือ่ ได้รบั อนุญาตจากรัฐบาล
แล้ว
• ธนบัตร มีบทบาทในระบบการเงินของไทยตาม
พระราชบัญญัตสิ ยาม
ชนิดของเงิน
ชนิดของเงินทีเ่ ริม่ มีใช้ในโลก แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท
คือ
1. เงินทีเ่ ป็ นสินค้า (commodity money)
2. เหรียญ (coins) เป็ นวิวฒ
ั นาการจากการใช้โลหะเป็ นเงิน
3. ธนบัตร (paper money) เป็ นรูปแบบของเงินทีใ่ ช้กนั
แพร่หลายในปัจจุบนั
4. เงินฝากกระแสรายวัน (demand deposit) เป็ นบัญชี
เงินฝากทีส่ ามารถเขียน “เช็ค” สัง่ จ่ายได้
5. บัตรเครดิต (credit card) ได้กาเนิดเมือ่ พ.ศ.
หน้าทีข่ องเงิน
1. เป็ นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น (medium of
exchang)
2. เป็ นเครือ่ งวัดมูลค่า (standard of value)
3. เป็ นมาตรฐานในการชาระหนีภ้ ายหน้า (standard of
deferred payments)
4. เป็ นเครือ่ งรักษามูลค่า (store of value)
แหล่งทีม่ าของเงินทุน (Sources of Funds)
1. แหล่งเงินทุนภายใน (Internal Sources)
2. แหล่งเงินทุนภายนอก (External Sources)
ความหมายของสถาบันการเงิน
สถาบันการเงินอาจมีความหมายได้หลากหลายดังต่อไปนี้
สถาบันการเงิน (Financial Institutions)
หมายถึง “องค์การทางการเงินทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นตัวกลางในการ
อานวยความสะดวก (Financial Intermediaries) ในเรือ่ ง
การเคลือ่ นไหวของเงินสถาบันการเงินเป็ นผู ท้ ที่ าหน้าทีใ่ นการ
รับฝากเงิน การให้กู้ยมื การซื้อขายหลักทรัพย์ และการ
รวบรวมเงินออมจากผู อ้ อมไปยังผู ล้ งทุน”
1.
2.
3.
4.
5.
หน้าทีข่ องสถาบันการเงิน
(The Functions of Financial Institutions)
เป็ นแหล่งกลางทางการเงินทีผ่ ู ก้ ู้และผู ใ้ ห้กู้สามารถสนอง
ความต้องการต่อกันได้โดยไม่ต้องรู้จกั กันมาก่อน
ให้ความปลอดภัยได้ดกี ว่าแก่เงินของผู อ้ อม
จัดให้มเี งินกู้ลกั ษณะต่างๆ ตามทีผ่ ู ใ้ ห้กู้และผู ก้ ู้ต้องการ
เคลือ่ นย้ายเงินทุนไปยังทีต่ ่างๆ
จัดหาสภาพคล่องให้แก่เครือ่ งมือเครดิต
ประเภทของสถาบันการเงิน
สถาบันการเงินสามารถจาแนกตามขอบเขตการ
ดาเนินงานออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ คือ
1. สถาบันการเงินระหว่างประเทศ
2. สถาบันการเงินในประเทศ
ทัง้ สถาบันการเงินระหว่างประเทศ และสถาบันการเงิน
ในประเทศ ยังแบ่งเป็ น
- สถาบันการเงินทีเ่ ป็ นธนาคาร (Bank Financial
Institutions)
- สถาบันการเงินทีม่ ใิ ช่ธนาคาร (Non-Bank
Financial Institutions)
สถาบันการเงินระหว่างประเทศ
(1) ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนาเข้า (Export –
Import Bank : Exim Bank)
(2) ธนาคารโลกหรือธนาคารเพือ่ การบูรณะและพัฒนา
(World Bank or International Bank for
Reconstruction and Development : IBRD)
(3) ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development
Bank)
(4) ธนาคารเพือ่ การชาระเงินระหว่างประเทศ (Bank for
International Settlement: BIS)
สถาบันการเงินระหว่างประเทศทีม่ ใิ ช่ธนาคาร
(1) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International
Monetary Fund: IMF)
(2) สถาบันค้ าประกันการกู้ยมื เงินต่างประเทศ (The
Foreign Credit Insurance Association: FCIA)
(3) บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ (International
Finance Corporation: IFC)
สถาบันการเงินในประเทศ
สถาบันการเงินทีเ่ ป็ นธนาคาร
(1) ธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank)
(2) ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank)
(3) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing
Bank)
(4) ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (Bank
for Agriculture and Agricultural
Cooperatives – BAAC)
(5) ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนาเข้า (Export-Import
Bank of Thailand : Exim Bank)
(6) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง
ประเทศไทย (Small and Medium Enterprise
Development Bank of Thailand : SME
Bank)
(7) ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of
Thailand)
ธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank)
หน้าทีส่ าคัญของธนาคารพาณิชย์
ธนาคารพาณิชย์ ประกอบธุรกิจใหญ่ๆ 3 ประเภท คือ
1. การรับฝากเงิน
2. การให้กู้ยมื และการลงทุน
3. การซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
ประชาชนนิยมนาเงินไปฝากธนาคาร มากกว่าสถาบันการเงิน
อืน่ ๆ มีสาเหตุเนือ่ งมาจาก
(ก) ธนาคารให้ความสะดวกแก่ผูฝ้ ากเงินในการสัง่ จ่ายเงินโดยใช้
เช็คสัง่ จ่ายเงินได้
(ข) ความปลอดภัย จากการทีเ่ งินจะสูญหายมีมาก เพราะธนาคาร
มีทเี่ ก็บเงินทีม่ นั่ คงและแข็งแรงกว่าทีบ่ า้ น
(ค) ผลประโยชน์ทเี่ กิดจากการฝากเงิน คือผู ฝ้ ากจะได้รบั
ดอกเบีย้
(ง) ผู ฝ้ ากเงินมีสทิ ธิกู้เงินหรือรับเครดิตจากธนาคาร โดย
ธนาคารจะใช้เงินฝากนัน้ เป็ นหลักประกัน
ธนาคารออมสิน (Government Saving Bank)
• เป็ นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง
• วัตถุประสงค์ของธนาคารออมสิน จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ส่งเสริม
การออมทรัพย์ของประชาชน เป็ นแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ
ของรัฐบาล เพือ่ นาเงินออมไปใช้ในการสร้างสาธารณูปโภค
และการพัฒนาประเทศด้านอืน่ ๆ
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing
Bank)
• เป็ นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง
• วัตถุประสงค์ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ เพือ่ ทาหน้าที่
ช่วยเหลือทางการเงินให้แก่ผูม้ รี ายได้นอ้ ย และปานกลางได้มที ี่
อยู่อาศัยของตนเอง
ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (Bank
for Agriculture and Agricultural Cooperatives
– BAAC)
• เป็ นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง
• วัตถุประสงค์ของธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร ให้เงินกู้แก่เกษตรกร กลุม่ เกษตรกร และ
สหกรณ์การเกษตร
ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนาเข้า (Export-Import
Bank of Thailand : Exim Bank)
• เป็ นสถาบันการเงินชานาญพิเศษ และเป็ นสถาบันการเงิน
เฉพาะด้านประเภทหนึง่
• รัฐจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ให้การสนับสนุนด้านการเงิน การค้ า
ประกันและการรับประกันแก่ธุรกิจการส่งออก
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง
ประเทศไทย (Small and Medium Enterprise
Development Bank of Thailand : SME Bank)
• สนับสนุนการเงินแก่ SMEs ในรูปการเข้าร่วมลงทุน
(Equity Financing)
• ให้คาแนะนาทางด้านธุรกิจและการจัดการแก่ SMEs
• ให้ความช่วยเหลือแก่ SMEs ทีป่ ระสบปัญหาทางการเงิน
ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of
Thailand)
• เป็ นธนาคารเฉพาะกิจทีต่ งั้ ขึน้ ตามพระราชบัญญัตธิ นาคาร
อิสลามแห่งประเทศไทย
• ให้บริการทางการเงินตามหลักศาสนาอิสลามอย่างครบ
วงจรแก่ผูล้ งทุน ผู ป้ ระกอบการและประชาชนทัว่ ไป
• สินเชือ่ ของธนาคารอิสลามฯ ไม่มกี ารคิดดอกเบี้ย แต่จะเป็ น
การบวกกาไร (Mark up) เข้าไปแทน เป็ นลักษณะการซื้อ
ขาย
สถาบันการเงินทีม่ ใิ ช่ธนาคาร
(1) บริษทั เงินทุน (Finance Company)
(2) บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ (Credit Foncier
Company)
(3) บริษทั ประกันชีวติ (Life Insurance Company)
(4) สหกรณ์ออมทรัพย์ (Saving Cooperatives)
(5) สหกรณ์การเกษตร (Agricultural
Cooperatives)
(7) กองทุนรวม (Mutual Fund)
(8) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Stock
Exchange of Thailand)
(9) กองทุนสารองเลีย้ งชีพ (Provident Fund)
บริษทั เงินทุน (Finance Company)
1. กิจการเงินทุนเพือ่ การพาณิชย์ (Commercial
Finance Business)
2. กิจการเงินทุนเพือ่ การพฒั นา (Development
Finance Business)
3. กิจการเงินทุนเพือ่ การจาหน่ายและการบริโภค (Sales
and Consumer Finance Business)
4. กิจการเงินทุนเพือ่ การเคหะ (Housing Finance
Business)
5. กิจการเงินทุนอืน่ ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
บริษทั เครดิตฟองซิเอร์ (Credit Foncier Company)
• จัดหาเงินทุนหรือระดมเงินออมโดยการกู้ยมื จากประชาชน
• ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ตลอดจนคาแนะนาปรึกษา
• ให้ความช่วยเหลือทางการเงินระยะยาวแก่ผูป้ ระสงค์จะซื้อ
ทีด่ นิ และบ้านเพือ่ อยู่อาศัย
• ให้คาแนะนาปรึกษาแก่โครงการเกีย่ วกับการพัฒนาเทคนิค
การสร้างบ้าน
บริษทั ประกันชีวติ (Life Insurance Company)
• มีหน้าทีเ่ ก็บเบีย้ ประกัน และรับผิดชอบการจ่ายเงิน
ผลประโยชน์ตามทีก่ รมธรรม์ระบุไว้
• การให้ความคุ้มครองต่อครอบครัว
• ประโยชน์ทางด้านการออมทรัพย์
• ประโยชน์ในด้านการลงทุน
• ประโยชน์ในด้านความมัน่ คงของรายได้
สหกรณ์ออมทรัพย์ (Saving Cooperatives)
1. ส่งเสริมให้สมาชิกมีการออมทรัพย์
2. รับฝากเงินจากสมาชิกทัง้ ประเภทออมทรัพย์และปกติ
3. จัดให้มเี งินกู้สาหรับสมาชิกตามความจาเป็ น โดยคิด
ดอกเบีย้ ในอัตราทีต่ ่ า
4. จัดบริการอย่างอืน่ สาหรับสมาชิก
สหกรณ์การเกษตร (Agricultural Cooperatives)
1. จัดหาทุนให้สมาชิกกู้ยมื โดยดอกเบีย้ ในอัตราต่ า
2. ส่งเสริมให้สมาชิกรู้จกั การออมทรัพย์
3. ช่วยเหลือสมาชิกในด้านการจัดหาวัสดุและอุ ปกรณ์
การเกษตร
4. ช่วยเหลือสมาชิกในด้านการจาหน่ายผลิตผลของ
สมาชิกให้ได้ราคาดี ไม่ถูก
5. ส่งเสริมและเผยแพร่วชิ าการเกษตรแผนใหม่แก่สมาชิก
โรงรับจานา (Pawn Shop)
รัฐบาล
1. วงเงินรับจานาจากัด
2.ผู จ้ ดั การเป็ นผู ต้ รี าคาและรับผิดชอบ
ของ รับจานา รวมทัง้ ดูแลกิจการด้วย
3. ขึน้ ตอนพิจารณามีมาก
4. คิดอัตราดอกเบีย้ ต่ า คิดตามชิน้
5. มีจุดขายรวมกันเพียง 184 แห่ง
และส่วนใหญ่ตงั้ อยู่ในต่างจังหวัด
เอกชน
1. วงเงินรับจานามากกว่าของรัฐบาล
2. ผู จ้ ดั การไม่มหี น้าทีท่ างนีเ้ ลย
3. พิจารณาเป็ นราย ขึน้ อยู่กบั หลงจู้
4. คิดอัตราดอกเบีย้ สูงกว่า
5. มีจุดขายอยู่ถงึ 208 แห่ง และ
ตัง้ อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครทัง้ หมด
กองทุนรวม (Mutual Fund)
ประเภทของกองทุนรวม
กองทุนรวมแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. กองทุนแบบปิ ด (Closed-end Fund)
2. กองทุนแบบเปิ ด (Open-end Fund)
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Stock Exchange
of Thailand)
ตลาดหลักทรัพย์แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
1. ตลาดแรกหรือตลาดหลักทรัพย์ออกใหม่ (Primary
or New Issued Market)
2. ตลาดรองหรือตลาดค้าหลักทรัพย์ (Secondary or
Trading Market)
กองทุนสารองเลีย้ งชีพ (Provident Fund)
• เพือ่ เป็ นหลักประกันแก่ลูกจ้างในกรณีทลี่ ูกจ้างเสียชีวติ
ลาออกจากกองทุนหรือลาออกจากงาน กองทุนสารอง
เลีย้ งชีพ บางครัง้ อาจเรียกว่า กองทุนเงินสะสม
(Provident Fund)