การพยาบาลขณะรักษา(ต่อ)

Download Report

Transcript การพยาบาลขณะรักษา(ต่อ)

การพยาบาลผูป้ ่ วยและผูใ้ ช้บริการ
กลมุ่ อาหรับ
ปุณญณันท์ ศรอินทร์
ส ุจิตตรา สาชานาญ
กลมุ่ ประเทศอาหรับ
ทั้งหมดมี 22 ประเทศ จำนวนประชำกรทั้งหมดประมำณ 338,621,469 คน
ลำดับ กลุ่มประเทศอำหรับ ลำดับ กลุ่มประเทศอำหรับ ลำดับ กลุ่มประเทศอำหรับ
1
เอมิเรต
9
ซาอุดอิ าราเบีย
17
มอริ ตาเนีย
2
โอมาน
10
อียิปต์
18
ตูนิเซีย
3
การ์ ต้า
11
จอร์ แดน
19
โซมาเลีย
4
เยเมน
12
ซีเรี ย
20
แอลจีเรี ย
5
คูเวต
13
ปาเลสไตน์
21
จีบตู ี
6
ซูดาน
14
เลบานอน
22
โคโมโรส
7
อีรัก
15
ลิเบีย
8
บาห์เรน
16
โมร็อกโก
อาหรับคือใคร
ชาวอาหรับ คือ กลุ่มชนทีผ่ พู้ ดู ภาษาอาหรับและอาศัยในโลกอาหรับ อย่างไรก็ตาม
มีความเห็นทีแ่ ตกต่างกันในเรือ่ งทีว่ า่ ใครคืออาหรับ เช่น
- ผูม้ บี รรพบุรษุ เป็ นอาหรับทีอ่ าศัยอยูใ่ นอาระเบียและทะเลทรายซีเรีย
- ผูท้ พ่ี ดู ภาษาอาหรับเป็ นภาษาแรก ซึง่ มีบรรพบุรษุ ทีไ่ ม่ใช่อาหรับ
- ผูท้ เ่ี ป็ นประชากรของประเทศอาหรับ หรือถือสัญชาติของประเทศอาหรับ
ประเทศใดประเทศหนึ่ง
ความแตกต่ างระหว่ าง อาหรับ แขก และชาวมาลายู
• อาหรับ คือ กลุ่มชนชาติแถบตะวันออกกลาง และเอฟริ กาตอนเหนือ ใช้ภาษาอาหรับเป็ นภาษากลาง
• แขก คือ ชาวชมพูทวีปซึ่งไม่จากัดศาสนา อาจเป็ นฮินดู ซิ ก พราหมณ์ หรื อ อิสลามก็ได้ เช่น เรา
เรี ยกว่าแขกซิก แขกอินเดีย แขกบังคลาเทศ ซึ่ งพวกเหล่านี้ไม่ใช่อาหรับ และไม่ใช้ภาษาอาหรับในการ
สื่ อสาร
• ชาวมาลายู หรือยาวี คือกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษามาลายูในการสื่ อสาร เช่น ประเทศมาเลเชีย อินโดนีเชีย
และ 3 จังหวัดภาคใต้ของไทยเป็ นต้น
ศาสนาของกลุ่มอาหรับ
“อิสลาม เป็ นคาภาษาอาหรับ แปลว่า การยอมจานน การปฏิบตั ิตาม และการนอบ
น้ อม
ประชากรโลกที่นบั ถือศาสนาอิสลามมีมากกว่า 1,400 ล้ านคน 1 ใน 4 ของประชากร
โลก
ผู้นับถือศำสนำอิสลำมเรี ยกว่ ำ “มุสลิม” แปลว่ ำ ผู้ยอมมอบตนต่ อพระเจ้ ำ
-พระเจ้ าอคือ พระอัลเลาะห์
-ศาสดาผู้เผยแพร่ และเป็ นแบบอย่าง คือ ศาสดามูฮมั หมัด
-คัมภีร์ “อัลกุรอาน”
-มีหลักการศรัทธา 6 ประการ และหลักการปฏิบตั ิ 5 ประการ
ชาวอาหรับ 85 % นับถือศาสนาอิสลาม นอกนันนั
้ บถือศาสนาคริสต์ และยิว
วัฒนธรรมขนมธรรมเนียมของกลุ่มอาหรับ
 ละหมาด 5 เวลาต่อวัน ได้ แก่ ตอนเช้ า, กลางวัน, กลางบ่าย, พระอาทิตย์ตก, และ กลางคืน ประมาณ 10 - 15 นาที
 วันหยุด วันพฤหัส และวันศุกร์ (ผู้ชายจะต้ องไปละหมาดรวมกันที่มสั ยิด ช่วงเวลาหลังเที่ยง)
 เดือนรอมฏอน จะต้ องถือศีลอด คืองดน ้า - อาหาร ตั ้งแต่แสงอรุณขึ ้น จนถึงพระอาทิตย์ตก ส่งเสริมให้ ทาความดีมากๆ
ละเว้ นการพูดจาหยาบคาย นินทา ใส่ร้ายผู้อื่น ฯลฯ
 อาหาร เป็ นสิง่ สาคัญ ต้ องเป็ นอาหารฮาลาล ซึง่ ไม่ได้ แปลว่า ไม่มีหมูเพียงอย่างเดียว แต่ต้องเป็ นสัตว์ที่เชือดโดย
หลักการอิสลาม ปรุงตามหลักการศาสนาอิสลามด้ วย (รายละเอียดหาได้ จากเวบไซต์อาหารฮาลาล)
 ความสะอาด การเข้ าห้ องน ้าไม่ว่าจะปั สสาวะหรื ออุจจาระ จะต้ องทาความสะอาดด้ วยน ้าเสมอ ไม่ใช่แค่สะบัดๆ หรื อใช้
กระดาษมาเช็ด
 เรื่ องเพศ ชอบที่จะพูดคุย(ธุรกิจ)กับผู้ชายมากว่าผู้หญิง (แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าจะไม่คยุ กับผู้หญิง) อันมีพื ้นฐานมา
จากคาสอนของศาสนาที่ไม่ให้ ประปนกันระหว่างชาย-หญิงที่แต่งงานกันได้
 นิสัย ส่วนมากแล้ วดี เป็ นคนโกรธง่าย หายเร็ว ใจร้อน เสียงดัง
ชอบของดี อยากได้ ของดีที่สดุ ราคาไม่ค่อยสาคัญ แพงไม่ว่าขอให้ ดีจริง แต่ถ้าได้ สว่ นลดบ้ างจะชอบมาก เพราะรู้สกึ
ว่าตัวเองเป็ นคนสาคัญทาให้ ได้ ลดราคา และถ้ าเราซื่อสัตย์กบั เขา เขาก็จะซื่อสัตย์กบั เราดีมาก
อาหรับที่เคร่งศาสนา(ส่วนมากเป็ นเช่นนี ้โดยเฉพาะคนสูงวัย) จะต้ องทาตามหลักการอิสลามอย่างเคร่งครัด
วัฒนธรรมการแต่ งกาย
•เสือ้ ผ้ ำและเครื่อง
ประกอบกำรแต่ งกำย
ชุดประจำชำติ
•เป็ นชุดยำวคลุมข้ อเท้ ำ เสือ้ แขนยำว
•สวมหมวกทรงกลมใบเล็ก ทับด้ วยผ้ ำคลุม
ศรีษะ มีเชือกสีดำครอบกันผ้ ำเลื่อนหลุด
•บำงประเทศในโอกำสหรือพิธีสำคัญจะมีสวม
ใส่ เสือ้ คลุมเนือ้ บำงสีดำเดินขอบด้ วยแถบสี
ทองแต่ ประเทศ
•เช่ น อิรัค ใช้ สวมใส่ ประจำวัน
1.ผ้ าคลุมศรีษะ Ghutra/ Shumagg
:คูเวต บำห์เรนและสหรัฐอำหรับเอมิเรตส (ยูเออี) นิ ยมใช้
ผ้ำสี ขำวล้วน
• ในประเทศซำอุดิอำระเบีย กำตำร์ นิยมเป็ นผ้ำตำหมำกรุ ก
สี แดง-ขำว (เรี ยกว่ำ Shumagg/ smagh /shmagh)
•เป็ นผ้ำตำหมำกรุ กสี ดำ-ขำว(เรี ยกว่ำ Kofiyah / Kaffiyeh) นิ ยม
ใช้ในประเทศปำเลสไตน์ จอร์แดน ซี เรี ยและอิรัค เป็ นต้น
2.ผ้ าคลุมศรีษะ Ghutra/ Shumagg
• เชือกถักสีดาสาหรับใช้ รัดผ้ าโพก
ศรี ษะ Ghutrah ไม่ให้ หลุดเลือ่ น
ทาจากเชือกขนสัตว์ขนแพะ ขนแกะ
และขนอูฐ รูปแบบที่นิยมใช้ ใน
ปั จจุบนั เชือกถักกลม บางประเทศ
(โดยเฉพาะชาวยูเออี) นิยมแบบมีภู่
ห้ อย เชือก Igal สมัยก่อนจะเป็ นสี
ทอง ชื่ออื่นใช้ เรี ยกเชือกรัดนี ้ว่า
Egal, Agal และ Aqal
3. หมวก Tagiya Taqiyah
• หมวกของชำวมุสลิมสวมใส่ ในกำร
ประกอบศำสนกิจ หรื อประกอบพิธี
ละหมำด
4. เสื้ อคลุม Bisht / Mishlahตกแต่
/ งMeshlah.
บริ เวณสำบเสื้ อด้วย
แถบผ้ำปักสี ทอง ชำวอำหรับ
ระดับรำชวงค์หรื อผูม้ ี
ตำแหน่งระดับสูง นิยมสวม
ใส่ ในโอกำสและพิธีกำร
สำคัญ เจ้ำบ่ำวสวมในงำน
แต่งงำน ขนำดเสื้ อเป็ น Free
size
บำงประเทศเรี ยกเสื้ อคลุมนี้วำ่
Bisht
5. Kandura/Dishdasha / Thobe
• ในกลุม่ ประเทศอาหรับส่วนเหนือ เรี ยกดิชดาชา
(dishdasha)
• ยูเออีเรี ยก กันดูร่า (Kandura)
• ส่วนในซาอุดิอาระเบียเรี ยก โต๊ ป (Thobe)
• เป็ นชุดแต่งกายสาหรับชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะในกลุม่ อ่าว
อาระเบีย ลักษณะชุดยาวคลุมข้ อเท้ า ผ่าหน้ าความกว้ างพอ
สาหรับสวมหัวได้ เสื ้อแขนยาว นิยมใช้ ผ้าสีขาวตัดเย็บ แต่
การออกแบบปกและปลายแขนแตกต่างกัน เช่น คอกลมผ่า
หน้ ามีภ่หู ้ อย คอตั ้ง ปกเชิ ้ต ปลายแขนแบบปล่อย ปลายแขน
ติดกระดุมแบบเสื ้อเชิ ้ต หรื อใช้ Cufflink
แรงจูงใจให้ ชาวอาหรับเข้ ามารักษาในประเทศไทย
ขาดบุคลากรทางการแพทย์ และผูช้ านาญในด้านการแพทย์
 หลายประเทศในยุโรป และอเมริ กา มีความเข้มงวดในการตรวจค้นชาวอาหรับ
(เนื่องจากปั ญหาทางการเมืองระหว่างประเทศ)
 เชื่อมัน่ ประเทศไทย ในด้านการแพทย์และการบริ การ
 ความสะดวกสบายที่มีอยูพ่ ร้อมในประเทศไทย
 เพื่อมารับการรักษาและท่องเที่ยว

ข้ อควรระวังในการให้ บริการอาหรับ
ควรตรวจดูชื่อผูป้ ่ วยอาหรับให้ถูกต้อง (เพราะมีความคล้ายคลึงกันมาก)
รักษาเวลาที่นดั ผูป้ ่ วยให้ดี ไม่ควรให้คาดเคลื่อนมาก
ผูป้ ่ วยอาหรับทุกรายต้องการรี พอร์ตทางการแพทย์ (Medical Report)
การเปิ ด หรื อจับต้องอวัยวะของร่ างกายผูป้ ่ วยควรบอก หรื อขออนุญาตก่อน
ชี้แจ้งและอธิบายขั้นตอนการรักษาให้ชดั เจน
ให้ความสาคัญเรื่ องศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี ของอาหรับ
ความคาดหวังที่จะได้ รับจากในโรงพยาบาล
•
•
•
•
•
•
•
กำรได้พบแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชำญเฉพำะโรคอย่ำงแท้จริ ง
กำรให้บริ กำรที่ดีกว่ำที่ชำวอำหรับเคยได้รับในประเทศของตน
กำรให้บริ กำรที่แตกต่ำง (ในทำงที่ดี)
กำรให้บริ กำรอย่ำงมีคุณภำพ และรวดเร็ ว
กำรดูแลเอำใจใส่ อย่ำงดีที่สุด (เสมือนเป็ นพ่อแม่ ลูกหลำน)
รำคำที่สมเหตุสมผล (ไม่ฉวยโอกำส)
สิ่ งอำนวยควำมสะดวกภำยในโรงพยำบำลที่ครบครัน
เราจะทาอย่างไรให้ได้ใจอาหรับ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
เริ่มต้ นด้ วยกำรทักทำยอย่ ำงนอบน้ อม และยิม้ แย้ มเสมอ
เลี่ยงกำรหยอกล้ อ หรื อพูดคุยกันโดยละเลยผู้ป่วย
ชีแ้ จง และอธิบำยทุกขัน้ ตอนให้ ชัดเจน (โดยผ่ ำนล่ ำม)
บอกรำคำค่ ำตรวจ หรื อค่ ำรั กษำให้ ถูกต้ องตำมควำมจริง
ผู้ป่วยหญิงควรใช้ ล่ำมหญิง (แต่ ไม่ ทุกกรณี...)
ผู้ป่วยอำหรั บพบแพทย์ ครั ง้ สุดท้ ำยต้ องได้ ใบรั บรองแพทย์ ...
ก่ อนเข้ ำห้ องผู้ป่วยต้ องเคำะห้ องก่ อน และทิง้ ช่ วงเวลำสักนิด
เลี่ยงกำรปล่ อยให้ ผ้ ูป่วยรอนำน (อย่ ำงไร้ เหตุผล)
พยำยำมฝึ กภำษำอำหรั บเพื่อประโยชน์ ในงำนของท่ ำน
การทักทายกับชาวอาหรับ
ภาษาอาหรับ
ความหมาย
ภาษาอาหรับ
ความหมาย
ซ่อบำฮัลเคร
อรุ ณสวัสดิ์, สวัสดีตอนเช้ำ
นะอัม ,
ครับ,ค่ะ ,จ๊ะ
ซ่อบำฮัลนูร
(กำรกล่ำวตอบ)
ลำอ์
ไม่ ,เปล่ำ, ไม่ใช่
มะซำอัลเคร
สวัสดีตอนเย็น
มินฟัฎลัก ,มินฟัฎลิก
กรุ ณำ ,โปรด
มะซำอัลนูร
(กำรกล่ำวตอบ)
ชุกรอน
ขอบคุณ ,ขอบใจ
กัยฟ่ ำ ฮำลัก / กัยฟ่ ำฮำลิก? คุณสบำยดีไหม?
มัชกูร
ขอบคุณมำก
บิเคร
สบำยดี
อัฟวัน
ไม่เป็ นไร
มะอัสซะลำมะฮฺ
ลำก่อน ,สวัสดี
อินตะซิร
กรุ ณำรอ
อิลลั ลิกออฺ
แล้วพบกันใหม่
ล่ำม
วะอันต้ำ? / วะอันตี้?
แล้วคุณล่ะ?
มุตรั ญิม
ต่อบีบ
อำซิฟะฮฺ
ขอโทษค่ะ
มัสมุกำ้ ?
ชื่ออะไร?
อำซิฟ
ขอโทษครับ
อัยยี่ คิดมะห์?
มีอะไรให้ช่วยไหม?
แพทย์
การพยาบาลผูป้ ่ วยและผูใ้ ช้บริการ
ชาวอาหรับ
1.การเตรียมความพร้อมก่อนให้การพยาบาล
2.การพยาบาลขณะพักอยู่ในโรงพยาบาล
3.การจาหน่ายผูป้ ่ วย และติดตามการรักษา
การเตรียมความพร้อมก่อนให้การพยาบาล
1. ข้อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกับผูป้ ่ วย ประเภทผูป้ ่ วยเป็ นแบบใดเช่น ชาระ
ค่าบริการเอง หรือ เป็ น Case contract
2. การเดินทางมารักษาของผูป้ ่ วย เดินทางมาโดยใช้ Ambulance
หรือเดินทางมาเองกับญาติ เพื่อการเตรียมความพร้อมในการกลับ
ต่างประเทศให้กบั ผูป้ ่ วย
3. จัดเตรียมความพร้อมด้านข้อมูลเดิมของผูป้ ่ วย ประวัตทิ ี่นามาด้วย
การพยาบาลขณะพักอยูใ่ นโรงพยาบาล
สิ่งสาคัญในการดูแลและให้การพยาบาลคือ
 การสื่อสาร และความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการ
 อดทนที่จะต้องอธิบายเกี่ยวกับข้อมูลการรักษา ค่าใช้จา่ ย และสิทธิ์
ในการรับบริการ เพราะจากบุคลิกของชาวอาหรับ เป็ นผูท้ ี่ชอบถาม
ซา้ ๆ เดิม ๆ และลักษณะการพูดเสียงดัง
 พยาบาลและจ้าหน้าที่ตอ้ งเรียนรภ้ ู าษาและวัฒนธรรมของชาว
อาหรับเพื่อให้การพยาบาลได้อย่างเข้าใจ
การพยาบาลขณะรักษา
1.
2.
3.
4.
5.
การสื่อสารกับผูป้ ่ วยและญาติ
การประเมินแรกรับและบันทึก การซักประวัตแิ ละสอบถามอาการของผูป้ ่ วย
การให้ขอ้ มูล และอธิบายเกี่ยวกับการรักษา และความร่วมมือของผูป้ ่ วยญาติ
การนัดหมายต่าง ๆ ในการตรวจต้องตรงเวลา
การให้การพยาบาล ก่อนให้การพยาบาลต้องอธิบายให้ผปู้ ่ วยเข้าใจและจะให้
ความร่วมมือในการรักษา
6. การเยี่ยมของแพทย์ตอ้ งสารวจความพร้อมของผูป้ ่ วยและญาติ ก่อนให้
แพทย์เยี่ยมเนือ่ งจากชาวอาหรับที่เป็ นหญิง หรือมีญาติเฝ้าเป็ นผูห้ ญิงต้อง
แต่งกายมิดชิด ไม่ให้ผอู้ ื่นเห็นหน้า
7. การดูแลสุขวิทยา ผูป้ ่ วยชาวอาหรับ อาบนา้ วันละ 1 ครัง้
กรณีตวั อย่างการจัดการเพื่อความปลอดภัย
การพยาบาลขณะรักษา (ต่อ)
8. อาหาร เป็ นสิง่ สาคัญ ต้ องเป็ นอาหารฮาลาล, อาหารเฉพาะโรคปรับ
ตามวัฒนธรรมการรับประทานอาหารของผู้ป่วย โภชนากรมีบทบาท
สาคัญในการจัดอาหารให้ ผ้ ปู ่ วย พยาบาลต้ องให้ ข้อมูลทัง้ กับผู้ป่วย
และญาติ เพื่อให้ รับอาหารที่เหมาะสม
ตัวอย่ ำงข้ อมูลทำงโภชนำกำรอำหำรอำหรับ
ชื่ออาหาร
น้าหนัก (กรัม) / ส่วน
พลังงาน (กิโลแคลอรี)่
ขนามปั งนาน (แผ่น)
1
320
ขนามปั งเลบานอน (แผ่น)
50
135
ฮัมมุส ( 1 ที)่
1
228
มูตาบัน ( 1 ที)่
1
228
อารารเยสเนือ้
1
701
ตัวอย่างอาหารอาหรับ
ตัวอย่างเมนูอาหารผูป้ ่ วยอาหรับ
ตัวอย่างอาหารผูป้ ่ วยอาหรับ
การพยาบาลขณะรักษา(ต่อ)
8. การแต่งกาย ชาวอาหรับแต่งกายโดยชุดประจาชาติ ผูห้ ญิงต้อง
แต่งกายมิดชิด
9. การละหมาด วันละ 5 ครัง้ ประมาณ 15 นาที ต้องวางแผนเวลา
ในการทากิจกรรมต่างๆ ให้เหมาะสม ไม่รบกวนเวลาละหมาดของ
ผูป้ ่ วย
การพยาบาลขณะรักษา(ต่อ)
11.เดือนรอมฏอน ซี่งเป็ นเดือนถือศีลอด คืองดนา้ - อาหาร บทบัญญัติ
ของศาสนา อนุโลมให้ละศีลอดหรือไม่ตอ้ งถือได้ ในกรณีที่การถือศีล
อดจะทาให้โรคกาเริบหรืออาการทรุดหนักและยืดเยื้อออกไป
–
–
–
–
ข้าวสะโฮห์ (อาหารมือ้ สุดท้ายเริ่มบวช หรือก่อนพระอาทิตย์ขึ้น)
การแก้บวชคือช่วงเวลา 18.05-18.30 น.
ผูป้ ่ วยมักจะขอให้แพทย์ไม่ตอ้ งเจาะเลือดในช่วงเดือนบวช
ผูป้ ่ วยจะเลื่อนเวลาการใช้ยา เช่น ในยามือ้ เช้าจะใช้ตอนกินข้าวสะโฮห์
มือ้ เย็นจะใช้ตอนแก้บวช ส่วนยามื้อกลางวันผูป้ ่ วยมักจะขอตัดมือ้ นัน้ ทิ้งไป
– ระวังเรื่องภาวะขาดนา้ และภาวะนา้ ตาลในเลือดตา่
การจาหน่ายผูป้ ่ วย และติดตามอาการ
1. การจาหน่ายออกจากโรงพยาบาลแต่ยงั ไม่เดินทางกลับ
ประเทศ
2. การจาหน่ายออกจากโรงพยาบาลและเดินทางกลับประเทศ
3. การจาหน่ายกรณีเสียชีวิต
จาหน่ายแต่ยงั ไม่เดินทางกลับประเทศ
ข้อมูลที่พยาบาลต้องรูไ้ ด้แก่ ที่พกั หลังจาหน่ายออกจากโรงพยาบาล
และแผนการเดินทางกลับประเทศ การนัดหมายมาติดตามอาการ
และการนัดมาประเมินอาการเพื่อให้แพทย์ออกเอกสาร Fit to Fly
และ/หรือ MEDIF FORM ซึ่งเอกสารนี้ ต้องใช้ภายใน 7 วัน
Fit to Fly หมายถึงเอกสารรายงานทางการแพทย์ ที่ยืนยันว่า
ผูป้ ่ วย สามารถเดินทางกลับประเทศโดยเครื่องบิน
MEDIF FORM หมายถึง เอกสารแบบฟอร์มเฉพาะของสายการ
บิน ใช้ในกรณีผปู้ ่ วยต้องใช้อปุ กรณ์ชว่ ยเหลือพิเศษ หรือทีม
Escort
จาหน่ายและเดินทางกลับประเทศทันที
ข้อมูลที่พยาบาลต้องรูไ้ ด้แก่ สายการบิน และเที่ยวบิน วัน เวลา ที่
เดินทาง การดาเนินการ ดังนี้
1. ประสานงานกับแพทย์เวชศาสตร์การบิน เพื่อประเมิน และออก
เอกสาร Fit to Fly ควรดาเนินการก่อนอย่างน้อย 5 วันทาการ
2. เตรียมความพร้อมผูป้ ่ วย และข้อมูลที่ตอ้ งนาไปกับผูป้ ่ วย
3. ให้ขอ้ มูลและคาแนะนากับญาติที่ตอ้ งเดินทางไปกับผูป้ ่ วย เช่นการ
รับประทานยา การเก็บรักษายาและเวชภัณฑ์ที่ตอ้ งนากลับ
ระหว่างเดินทาง
การจาหน่ายกรณีเสียชีวิต
กรณีไม่นาศพกลับประเทศ
ดาเนินการเช่นเดียวกับผู้ป่วยชาวมุสลิมที่เสียชีวิต และอานวยความสะดวก
ในการติดต่อประสานงานกับมัสยิดเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา
การจาหน่ายกรณีเสียชีวิต
กรณีนาศพกลับประเทศ มีขนตอนการน
ั้
าเนินการดังนี ้
1. ดาเนินการเรื่ องแจ้ งตาย
2. ประสานงานกับบริษัท ที่ดาเนินการเรื่ องการส่งศพ โดยมีเอกสาร และข้ อมูลดังนี ้
–
–
–
–
–
ใบมรณบัตร
สาเนาพลาสปอร์ ตของผู้ตาย
เอกสารยืนยันการฉีดศพเป็ นภาษาอังกฤษ และน ้าหนักของผู้เสียชีวิต
ตัว๋ เที่ยวบินเดียวกับที่จะส่งศพ และสาเนา พลาสปอร์ ตญาติ
ชื่อ,ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้รับปลายทาง (กรณีไม่มีญาติไปด้ วย)
ภาพแห่งความประทับใจ
ภาพแห่งความประทับใจ
www.vejthani.com