ี - onechildok.org

Download Report

Transcript ี - onechildok.org

ของสมาชิก
อาเซียน
ศิลปวัฒนธรรม
มีผ้ ูให้ คำจำกัดควำมของคำว่ ำ "วัฒนธรรม" ไว้ มำกมำย แต่ เมื่อพิจำรณำ
ถึงสำระสำคัญแล้ ว สรุ ปได้ ว่ำ "วัฒนธรรม" หมำยถึง "แบบอย่ ำงหรือวิถีกำรดำเนิน
ชีวิตของชุมชนแต่ ละกลุ่ม เป็ นตัวกำหนดพฤติกรรมกำรอยู่ร่วม กันอย่ ำงปกติสุข
ในสังคม" วัฒนธรรมแต่ ละสังคมจะแตกต่ ำงกัน ขึน้ อยู่กับข้ อจำกัดทำงภูมศิ ำสตร์
และทรัพยำกร ต่ ำงๆ ลักษณะอีกประกำรหนึ่งของวัฒนธรรมคือ เป็ นกำรสั่งสม
ควำมคิด ควำมเชื่อ วิธีกำร จำกสังคมรุ่ นก่ อน ๆ มีกำรเรี ยนรู้ และสำมำรถ
ถ่ ำยทอดไปยังรุ่ นต่ อๆ ไปได้ วัฒนธรรมใดที่มีรูปแบบ หรือแนวควำมคิดที่ไม่
เหมำะสม ก็อำจจะเลือนหำยไป
ประเพณี
ประเพณี เป็ นเรื่ องของควำมประพฤติของกลุ่มชน ยึดถือเป็ นแบบ
แผนสืบต่ อกันมำนำน ถ้ ำใครประพฤตินอก แบบ ถือเป็ นกำรผิดประเพณี เป็ น
กำรแสดงถึงเอกลักษณ์ ของชำติอีกอย่ ำงหนึ่ง โดยเนือ้ หำสำระแล้ ว ประเพณี
กับวัฒนธรรมเป็ นสิ่งที่กลุ่มชนในสังคมร่ วมกันสร้ ำงขึน้ แต่ ประเพณีเป็ น
วัฒนธรรมที่มีเงื่อนไขที่ค่อนข้ ำง ชัดเจน กล่ ำวคือเป็ นสิ่งที่สังคมสร้ ำงขึน้ เป็ น
มรดก คนรุ่ นหลังจะต้ องรั บไว้ และปรั บปรุ งแก้ ไขให้ ดีย่งิ ๆ ขึน้ ไป รวมทัง้ มีกำร
เผยแพร่ แก่ คนในสังคมอื่น ๆ ด้ วย
ศิ ลปวัฒนธรร
มและประเพณี
กัมพูชา
ประเทศกัมพูชาเป็ นประเทศที่มี
ประวัติศาสตร์อนั ยาวนาน วัฒนธรรม
ประเพณี จึงมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์
ความเชื่อ และวิถีชีวิตของคนในประเทศ ซึ่ง
ศิลปวัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ ได้แก่
*ระบาอัปสรา (Apsara Dance)
เป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ที่โดดเด่นของ
กัมพูชา ซึ่งถอดแบบการแต่งกายและท่าร่าย
รามาจากภาพจาหลักรูปนางอัปสรที่ปราสาท
นครวัด
*เทศกาลน้า (Water festival) หรือ
“บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk)
เทศกาลประจาปี ที่ยิ่งใหญ่ของกัมพูชา จัด
ขึน้ ในเดือนพฤศจิกายนเพื่อเป็ นการแสดง
ความสานึ กในพระคุณของแม่น้าที่นาความ
อุดมสมบูรณ์ มาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว
แสดงพลุดอกไม้ไฟ และการแสดงขบวนเรือ
ประดับไฟ
ศิ ลปวัฒนธรร
ม
และประเพณี
ลาว
วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึง
กับวัฒนธรรมทางภาคอีสานของไทยมาก ใน
ด้านดนตรีแคน ถือเป็ นเครื่องดนตรีประจา
ชาติ โดยมีวงดนตรีคือ วงหมอลา และมี ราวง
บัดสลบ (Budsiob) ซึ่งเป็ นการเต้นที่มีท่า
ตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่าง
เป็ นระเบียบ ถือเป็ นการร่วมสนุกกันของชาว
ลาวในงานมงคลต่างๆ
*การตักบาตรข้าวเหนี ยว
ถือเป็ นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่ง
โดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าวเหนี ยว
เพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อถึงเวลาฉัน
ชาวบ้านจะยกสารับกับข้าวไปถวายที่วดั
เรียกว่า “ถวายจังหัน” โดยเวลาใส่บาตรจะ
นัง่ คุกเข่าและผูห้ ญิงต้องนุ่งซิ่น ส่วนผูช้ ายนุ่ง
กางเกงขายาว และมีผา้ พาดไหล่ไว้สาหรับเป็ น
ผ้ากราบพระเหมือนกัน
ศิ ลปวัฒนธรรม
และประเพณี
พมา่
เนื่ องจากได้รบั อิทธิพลจากจีน อินเดีย และ
ไทยมานาน จึงมีการผสานวัฒนธรรมเหล่านี้
เข้ากับวัฒนธรรมของตนจนเป็ นเอกลักษณ์
นอกจากนี้ ยงั ได้รบั อิทธิพลจากพุทธศาสนา จึง
เกิดประเพณี สาคัญ เช่น
*ประเพณี ปอยส่างลอง (Poy Sang
Long) หรืองานบวชลูกแก้ว
เป็ นงานบวชเณรที่สืบทอดกันมานาน
และชาวเมียนมาร์ให้ความสาคัญมาก เพราะ
ถือเป็ นบุญอันยิ่งใหญ่ของครอบครัว
*งานไหว้พทุ ธเจดียป์ ระจาปี
ซึ่งแต่ละที่มกั นิยมจัดในเดือนหลังออก
พรรษา ถือเป็ นงานเฉลิมฉลองที่สนุกสนาน
และได้ทาบุญสร้างกุศลด้วย
ศิ ลปวัฒนธรรม
และประเพณี
เวียดนาม
ศิลปวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของเวียดนาม
จะได้รบั อิทธิพลจากจีนและฝรังเศส
่
เวียดนามมีเทศกาลที่สาคัญ ได้แก่
*เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ “เต็ดเหวียน
ดาน (Tet Nguyen Dan)”
หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี
ถือเป็ นเทศกาลทางศาสนาที่สาคัญที่สุด จัด
ขึน้ ในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือน
กุมภาพันธ์เป็ นการเฉลิมฉลองความเชื่อใน
เทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ
รวมทัง้ เป็ นการแสดงความเคารพต่อบรรพ
บุรษุ ด้วย
*เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง
จัดขึน้ ในวันขึน้ 15 คา่ เดือน 8 ของทุกปี
ชาวบ้านจะประกวดทาขนมเปี๊ ยะโก๋ญวนหรือ
บันตรังทู และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพื่อ
แสดงความเคารพต่อพระจันทร์
ศิ ลปวัฒนธรร
ม
และประเพณี
บรูไน
บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด
กับมาเลเซียและอินโดนี เซียมาก มี
วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และการ
แต่งกายที่คล้ายคลึงกัน รวมทัง้ ยังมี
วัฒนธรรมที่ได้รบั อิทธิพลจากศาสนา
อิสลามด้วย เช่น สตรีชาวบรูไนจะ
แต่งตัวมิดชิด และจะไม่ยื่นมือให้
ผูช้ ายจับมือทักทาย เป็ นต้น
ศิ ลปวัฒนธรรม
และประเพณี
อินโดนีเซีย
มีชนพื้นเมืองหลายชาติพนั ธุก์ ระจายกันอยู่
ตามเกาะ ทาให้วฒ
ั นธรรมประเพณี ในแต่ละท้องที่
แตกต่างกันไป
*วายัง กูลิต (WayangKilit)
เป็ นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็ นเอกลักษณ์ของ
อินโดนี เซีย และถือเป็ นศิลปะการแสดงที่งดงาม
และวิจิตรกว่าการแสดงชนิดอื่น เพราะรวมศิลปะ
หลายด้านไว้ด้วยกัน โดยฉบับดัง้ เดิมใช้ห่นุ เชิดที่
ทาด้วยหนังสัตว์นิยมใช้วงดนตรีพื้นบ้านบรรเลง
ขณะแสดง
*ระบาบารอง (Barong Dance) ละคร
พื้นเมืองดัง้ เดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ ากาก
และเชิดหุ่นเป็ นตัวละคร โดยมีการเล่นดนตรีสด
ประกอบการแสดง เรื่องราวเป็ นการต่อสู้กนั ของ
บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็ นตัวแทนฝ่ ายความดีกบั
รังดา พ่อมดหมอผีตวั แทนฝ่ ายอธรรม โดยฝ่ าย
ธรรมะจะได้รบั ชัยชนะในที่สดุ
ศิ ลปวัฒนธรร
ม
และประเพณี
สิ งคโปร ์
สิงคโปร์เป็ นประเทศที่มีประชากรหลากหลายเชื้อ
ชาติหลากหลายศาสนา ทาให้ประเทศนี้ มี
ศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย สาหรับเทศกาลที่
สาคัญของสิงคโปร์กจ็ ะเป็ นเทศกาลที่เกี่ยวข้องกับ
ความเชื่อทางศาสนาเช่น
*เทศกาลตรุษจีน
เทศกาลปี ใหม่ของชาวจีนที่จดั ขึ้นในเดือน
กุมภาพันธ์
*เทศกาล Good Friday
จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการสละชีวิตของพระเยซู
บนไม้กางเขนของชาวคริตส์ในเดือนเมษายน
*เทศกาลวิสาขบูชา
จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงการประสูติ ตรัสรู้ และ
ปรินิพพานของพระพุทธเจ้าของชาวพุทธในเดือน
พฤษภาคม
*เทศกาลHari Raya Puasa
เทศกาลการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิม ที่จดั
ขึ้นเมื่อสิ้นสุดพิธีถือศิลอดหรือรอมฏอนในเดือน
ตุลาคม
*เทศกาลDeepavali
เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็ นงานขึ้นปี ใหม่
ของชาวฮินดูที่จดั ขึ้นเดือนพฤศจิกายน
ศิ ลปวัฒนธรร
ม
และประเพณี
มาเลเซีย
ด้วยเหตุที่มีหลายชนชาติอยู่รวมกัน ทาให้
ดินแดนแห่งนี้ เต็มไปด้วยวัฒนธรรมที่แตกต่าง
หลากหลายผสมผสานกัน ซึ่งมีทงั ้ การผสาน
วัฒนธรรมจากชนชาติอื่น และการรักษา
วัฒนธรรมประเพณี ของชนแต่ละกลุ่มในแต่ละ
พื้นที่
*การราซาบิน (Zabin)
เป็ นการแสดงการฟ้ อนราหมู่ ซึ่งเป็ นศิลปะ
พื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดยเป็ นการฟ้ อนราที่
ได้รบั อิทธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้
แสดงเป็ นหญิงชายจานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของ
กีตาร์แบบอาระเบียน และกลองเล็กสองหน้ าที่
บรรเลงจากช้าไปเร็ว
*เทศกาลทาเดา คาอามาตัน
(TadauKaamatan)
เป็ นเทศกาลประจาปี ในรัฐซาบาห์ จัดในช่วง
สิ้นเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็ นช่วงสิ้นสุดของฤดูการ
เก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมี
พิธีกรรมตามความเชื่อในการทาเกษตร และมีการ
แสดงระบาพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่น
เพื่อเฉลิมฉลองด้วย
ศิ ลปวัฒนธรรม
และประเพณี
ฟิ ลป
ิ ปิ นส์
วัฒนธรรมของฟิ ลิ ปปิ นส์เป็ นวัฒนธรรม
ผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่
จะได้รบั อิ ทธิ พลจากสเปน จีน และอเมริ กนั ฟิ ลิ ปปิ นส์มี
เทศกาลที่สาคัญ ได้แก่
เทศกาลอาติ – อาติ หาน (Ati - Atihan)
จัดขึน้ เพื่อราลึกและแสดงความเคารพต่อ “เอตาส
(Aetas)” ชนเผ่าแรกที่มาตัง้ รกรากอยู่บนเกาะแห่งหนึ่ ง
ในฟิ ลิ ปปิ นส์ และราลึกถึงพระเยซูคริ สต์ในวัยเด็ก โดยจะ
แต่งตัวเลียนแบบชนเผ่าเอตาส แล้วออกมารารื่นเริ งบน
ท้องถนนในเมืองคาลิ บู (Kalibu)
เทศกาลซิ นูลอ็ ก (Sinulog)
งานนี้ จะจัดขึน้ ในวันอาทิ ตย์ที่ 3 ของเดือนมกราคมทุก
ปี เป็ นงานที่จดั ขึน้ เพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นิ นอย
(Santo Nino) โดยจะจัดแสดงดนตรีและมีขบวน
พาเหรดแฟนซีทวเมื
ั ่ องเซบู (Cebu)
เทศกาลดิ นาญัง (Dinayang)
งานนี้ จดั ขึน้ เพื่อราลึกถึงนักบุญซานโต นิ นอย
(Santo Nino) เช่นเดียวกับเทศกาลซิ นูลอ็ ก แต่จะจัด
ขึน้ ในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม ที่เมืองอิ โลอิ โย
(Iloilo)
ศิ ลปวัฒนธรรม
และประเพณี
ไทย
ได้รบั อิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติ
ตะวันตก แต่มีเอกลักษณ์ในด้านความงดงาม
ประณี ต และผูกพันอยู่กบั พระพุทธศาสนา
การไหว้
เป็ นประเพณี การทักทายที่ถือเป็ นเอกลักษณ์ โดด
เด่นของไทย โดยเป็ นการแสดงถึงความมีสมั มา
คารวะและให้เกียรติกนั และกัน นอกจากการทักทาย
การไหว้ยงั มีความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอโทษ
หรือกล่าวลาด้วย
โขน
เป็ นนาฏศิลป์ เก่าแก่ของไทย มีลกั ษณะสาคัญที่ผู้
แสดงต้องสวมหัวโขนทัง้ หมด ยกเว้นตัวนาง พระ
และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่าราและท่าทางประกอบ
ทานองเพลง ดาเนินเรื่องด้วยบทพากย์และบทเจรจา
ส่วนเรื่องที่นิยมแสดงคือ รามเกียรต์ ิ
สงกรานต์
ประเพณี เก่าแก่ ซึ่งถือเป็ นการเฉลิมฉลองวันขึ้น
ปี ใหม่ของไทยที่ยึดถือปฏิบตั ิ กนั โดยจะมีการรดน้า
ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้าพระ ทาบุญตักบาตร ปล่อยนก
ปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดียท์ ราย รวมทัง้
มีการเล่นสาดน้าเพื่อความสนุกสนานด้วย
จัดทาโดย
นางสาว ชลธิชา
โพธิศ์ ิ ร ิ
ครูผ้ สอน
ู
โรงเรียนบ้านดงตาจันทร์