การสีบสวนสอบสวน - กระทรวงสาธารณสุข

Download Report

Transcript การสีบสวนสอบสวน - กระทรวงสาธารณสุข

ที่มาของเรือ่ งร้องเรียน/กล่าวหา
1.จากบุคคลที่รอ้ งเรียน/กล่าวหา
1.1 บัตรสนเท่ห์
1.2 หนังสือร้องเรียน
1.3 สือ่ สารมวลชน เช่น นสพ./วิทยุ/โทรทัศน์
2. จากหน่วยงานอืน่ เช่น
1.1 สตง./ปปช./ปปท./รัฐสภา/สานักงาน ก.พ.
1.2 สานักนายกรัฐมนตรี/
1.3 ผูต้ รวจการแผ่นดิน
1.4 ศูนย์รบั เรือ่ งร้องเรียน/หน่วยงานต้นสังกัด
1.5 ตูร้ บั เรือ่ งร้องเรียน/โทรศัพท์สายตรง
สื บสวนข้ อเท็จจริง
สื บหาข้ อเท็จจริง
สื บสวน
สอบข้ อเท็จจริง
สอบหาข้ อเท็จจริง
สอบสวนข้ อเท็จจริง
ตรวจสอบข้ อเท็จจริง
สอบสวน
การตรวจสอบข้อเท็จจริง
(Check the fack)
คือ การตรวจสอบหาความจริงเพือ่ จะทราบ
รายละเอียดในเบื้องต้น
การสอบสวนข้อเท็จจริง
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534
ม.11(1) นายกรัฐมนตรี...มีอานาจสัง่ สอบสวนข้อเท็จจริง
เกีย่ วกับการปฏิบตั ิราชการของราชการ
ส่วนกลาง
ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิน่
การสืบสวนทางวินยั
คือ การสืบหาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานในเบื้องต้น
- ผบ.ดาเนินการสืบสวนเอง
- มอบหมายให้ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาสืบสวน
- แต่งตัง้ คณะกรรมการสืบสวน
การสอบสวนทางวินยั
คือ การรวบรวมพยานหลักฐาน/การดาเนินการ เพือ่ ...
- จะทราบข้อเท็จจริง/พฤติการณ์
- พิสจู น์ความผิดว่า กระทาผิด หรือไม่
มาตรา 90 (กรณีสงสัย/กล่าวหา ว่ากระทาผิดวินยั )
1. เมื่อมีการกล่าวหา/มีกรณีเป็ นที่สงสัย ว่าข้าราชการ
พลเรือนสามัญผูใ้ ด กระทาผิดวินยั ให้ ผบ. รายงาน
ผบ.ซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุตาม ม.57 ทราบโดยเร็ว
2. ให้ ผบ.ซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุตาม ม.57 ดาเนินการ
ตาม พรบ.นี้ โดยเร็ว ด้วยความยุติธรรมและ
โดยปราศจากอคติ
3. อานาจการดาเนินการทางวินยั ของ ผบ.ซึง่ มีอานาจ
สัง่ บรรจุตาม ม.57 จะมอบหมายให้ ผบ.ระดับตา่
ลงไปปฏิบตั ิแทนได้ ตามหลักเกณฑ์ท่ี ก.พ.กาหนด
ผูบ้ งั คับบัญชาซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุ ตามมาตรา 57
ทัว่ ไป
ปฏิ
บัติ
งาน
ชา
นาญ
งาน
อา
วุ
โส
วิชาการ
ทักษะ
พิ
เศษ
ปฏิ
บัติ
การ
ชา ชก.
นาญ พิ
การ เศษ
เชี่ยว ทรง
ชาญ คุณ
วุฒิ
อานวยการ
ระ
ดับ
ต้ น
ระ
ดับ
สู ง
บริหาร
ระ
ดับ
ต้ น
ระ
ดับ
สู ง
ผู้สั่งฯ
ม.57
ผวจ.
อธิบดี/
ปลัดฯ
(สป.)
รอง
อธิบดี
อธิบดี/
รองปลัดฯ/
บส.
ปลัดฯ
ปลัดฯ
รมว.
ม.99 ว5 พรบ.2535
...เมื่อมีการกล่าวหา...ให้ ผู้บังคับบัญชา
รีบดาเนินการสื บสวน หรือพิจารณาใน
เบือ้ งต้ นว่ ากรณีมมี ูลทีค่ วรกล่าวหาว่ า
ผู้น้ันกระทาผิดวินัยหรือไม่
ม.91 พรบ.2551
...เมื่อได้รบั รายงาน...ให้ผูบ้ งั คับบัญชาซึง่ มี
อานาจสัง่ บรรจุตามมาตรา 57 รีบดาเนินการ
หรือสัง่ ให้ดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณาใน
เบื้องต้น ว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหา
ว่าผูน้ นั้ กระทาผิดวินยั หรือไม่
มาตรา 91-93,96-97 (การสอบสวนพิจารณา)
1. เมื่อ ผบ.ซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุตาม ม.57 ได้รบั รายงาน
ให้รบี ดาเนินการ สืบสวน/พิจารณาในเบื้องต้น ว่ากรณีมีมูลที่ควร
กล่าวหาว่ากระทาผิด หรือไม่
- กรณีไม่มีมูล ให้ยุติเรือ่ งได้
- กรณีมีมูล โดยมีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้ว
ให้ดาเนินการ ตาม 2 และ 3
2. กรณีมีมูลความผิดวินยั ไม่รา้ ยแรง และได้มีการ
- แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ทราบ
- รับฟั งคาชี้แจงของผูถ้ ูกกล่าวหา
ผบ.ซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุตาม ม.57 เห็นว่า
- ได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้สง่ั ลงโทษตามควรแก่กรณี
โดยไม่ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนก็ได้
- ไม่ได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้สง่ั ยุติเรือ่ ง
ม.91 พรบ.2551
... เมื่อได้ รับรายงานตามมาตรา 90
หรือความดังกล่าวปรากฏต่ อผู้บังคับบัญชา
ซึ่งมีอานาจสั่ งบรรจุตามมาตรา 57 ให้
ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่ งบรรจุตาม
มาตรา 57 รีบดาเนินการหรือสั่ งให้ ดาเนินการ
สื บสวนหรือพิจารณาในเบือ้ งต้ นว่ ากรณีมมี ูล
ทีค่ วรกล่าวหาว่ าผู้น้ันกระทาผิดวินัยหรือไม่
3. กรณีมีมูลความผิดวินยั อย่างร้ายแรง ให้ ผบ.ซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุ
ตาม ม.57 แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน เมื่อสอบสวนเสร็จ
ให้รายงานผลการสอบสวนและความเห็น ต่อผูส้ ง่ั แต่งตัง้ ฯและ
เมื่อได้พจิ ารณาแล้วเห็นว่าผูถ้ ูกกล่าวหา
3.1 ไม่ได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้สง่ั ยุติเรือ่ ง
3.2 กระทาผิดตามข้อกล่าวหา ให้สง่ั ลงโทษ
(1) ผิดวินยั ไม่รา้ ยแรง ให้สง่ั ลงโทษภาคทัณฑ์/
ตัดเงินเดือน/ลดเงินเดือน หรืองดโทษ
(2) ผิดวินยั ร้ายแรง ให้สง่ั ลงโทษปลดออก/ไล่ออก
ทัง้ นี้ ก่อนการสัง่ ลงโทษ ถ้าคณะกรรมการสอบสวน หรือผูส้ ง่ั แต่งตัง้ ฯ
เห็นว่าผูใ้ ดกระทาผิดวินยั อย่างร้ายแรง ให้ส่งเรือ่ งให้ อ.ก.พ./จังหวัด/
กรม/กระทรวง พิจารณา แล้วสัง่ ตามมติ ของ อ.ก.พ. (ลงโทษ
ร้ายแรง/ไม่รา้ ยแรง)ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ.กาหนด
มีการกล่าวหา/สงสั ย ว่ าข้ าราชการกระทาผิดวินัย
ตรวจสอบ
ข้ อเท็จจริง
ผบ.
ผบ.ผู้สั่งบรรจุ ม.57
-สื บเอง
-มอบหมาย ดาเนินการ/สั่ ง สื บสวน ม.91ว.1
พิจารณาในเบือ้ งต้ น ม.91ว.1
ให้ จนท.สื บ
-ตั้ง คกก.
ผบ.ผู้สั่งบรรจุ ม.57 พิจารณาเห็นว่ า
สื บสวน
ยุติ
เรื่อง
กรณีไม่ มมี ูลทีค่ วรกล่ าวหา
ว่ ากระทาผิดวินัย ม.91ว.1
กรณีมมี ูลทีค่ วรกล่ าวหาว่ ากระทาผิดวินัย
+ มีพยานหลักฐานเบือ้ งต้ น ม.91ว.2
มูลไม่ ร้ายแรง
ผบ.ม.57 ดาเนินการ/สั่ งให้
แจ้ งข้ อกล่าวหา/สรุ ปพยานฯ
ให้ ทราบ-รับฟังคาชี้แจง ม.92
(แจ้ งเอง/มอบ จนท./มอบ คกก.สื บฯ)
มูลร้ ายแรง
ตั้งสอบไม่ ร้ายแรง ม.92
(สอบสวนตาม ว.19/2547)
พิจารณา/ลงโทษ
ตั้งสอบร้ ายแรง ม.93
(สอบสวนตาม กฎ 18)
คาสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง
(กรณีขา้ ราชการ)
คาสัง่ ...........................
ที่ .........../2553
เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง
...................
ด้วยนาย………ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ตาแหน่ง……....สังกัด….... ถูกร้องเรียนกล่าวหาว่า.....
.........ดังนัน้ เพือ่ ให้ได้ขอ้ เท็จจริงในกรณีดงั กล่าว
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ….............
- มาตรา 63 และมาตรา 66 (2) (กรณี สสอ.ออก
คาสัง่ )
- มาตรา 62 (กรณี นอ. ออกคาสัง่ )
- มาตรา 55 และมาตรา 60(2) (กรณี นพ.สสจ.ออก
คาสัง่ )
- มาตรา 33 วรรคสอง (กรณี ผอ.กอง/สานัก/หน.ส่วน
ราชการของ สป./กรม ออกคาสัง่ )
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ.2534
อาศัยอานาจตาม คาสัง่ ...สานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข ที่ 4406/2547 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2537
(คาสัง่ มอบให้เป็ น ผบ.-กรณี ผอ.วิทยาลัย/ผอ.รพ.ของ
สป.)
จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริง
ประกอบด้วย
1. .......................ตาแหน่ง.......... ประธานกรรมการ
2. .......................ตาแหน่ง........... กรรมการ
3. .......................ตาแหน่ง........กรรมการและเลขานุการ
ทัง้ นี้ให้คณะกรรมการฯ รีบดาเนินการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงและรายงานมาให้ทราบโดยเร็ว
ต.ย.คาสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการสืบสวน (ม.91)
คาสัง่ ............
ที่ ........./2551
เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการสืบสวน
...................
ด้วย……...........ตาแหน่ง…......…..ประเภท..........
สังกัด.............. มีกรณีถูกกล่าวหาในเรือ่ ง………….
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 91 วรรคหนึง่ แห่ง
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 จึงแต่งตัง้
คณะกรรมกา สืบสวน ประกอบ ด้วย...
ต.ย.คาสัง่ แต่งตัง้ คกก.สอบสวนวินยั ไม่รา้ ยแรง (ม.92)
คาสัง่ ............
ที่ ........./2551
เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนวินยั ไม่รา้ ยแรง
...................
ด้วย……..ตาแหน่ง….ประเภท….. สังกัด....... มีกรณีถูก
กล่าวหาว่ากระทาผิดวินยั ไม่รา้ ยแรงในเรือ่ ง……….........
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 92 วรรคหนึง่
แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนวินยั ไม่รา้ ยแรง
ประกอบด้วย...
บทเฉพาะกาล พรบ.2551
ม. 132 ในระหว่างที่ยงั มิได้ตราพระราช
กฤษฎีกาหรือออกกฎ ก.พ. ข้อบังคับ หรือระเบียบ
หรือกาหนดกรณีใด เพือ่ ปฏิบตั กิ ารตาม พ.ร.บ.นี้
ให้นาพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ. ข้อบังคับ หรือ
ระเบียบหรือกรณีท่ีกาหนดไว้แล้ว ซึง่ ใช้อยู่เดิมมาใช้
บังคับเท่าที่ไม่ขดั หรือแย้งกับ พ.ร.บ.นี้
ในกรณีท่ีไม่อาจนาพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ.
ข้อบังคับ หรือระเบียบ หรือกรณีท่ีกาหนดไว้แล้วมา
ใช้บงั คับได้ตามวรรคหนึง่ การจะดาเนินการประการ
ใดให้เป็ นไปตามที่ ก.พ. กาหนด
การดาเนินการทางวินยั อย่างไม่รา้ ยแรง
ตามหนังสือสานักงาน ก.พ. ที่ นร 1011/ว19 ลว 14
ก.ค.2547
หลักประกันความเป็ นธรรมแก่ผูถ้ ูกกกล่าวหา
1. แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุน
ข้อกล่าวหาที่มีให้ผูถ้ ูกกล่าวหาทราบ
(เพือ่ ให้ทราบข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอ)
2. ให้โอกาสผูถ้ ูกกล่าวหาชี้แจงและนาสืบแก้ขอ้ กล่าวหา
(เพือ่ ให้โอกาสโต้ แย้ งและแสดงพยานหลักฐานของตน
สอบสวนโดยอนุโลมขัน้ ตอนตามกฎ ก.พ.ฉบับที่ 18
1. เรียกผูถ้ ูกกล่าวหามาแจ้ง/อธิบายข้อกล่าวหา
(สว.2)
2. ถามว่าได้กระทาการตามที่ถูกกล่าวหา หรือไม่/อย่างไร
3. ถ้ารับสารภาพ
3.1 ให้แจ้งให้ทราบว่าเป็ นความผิดวินยั กรณีใด/อย่างไร
3.2 หากยังยืนยันคาสารภาพ ให้บนั ทึก (สว.4 )
- ถ้อยคารับสารภาพ
- เหตุผลที่รบั สารภาพ
- สาเหตุแห่งการกระทาผิด
4. ถ้าไม่รบั สารภาพ
4.1 ให้สอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน
-พยานบุคคล (สว.5)
-พยานเอกสาร/พยานวัตถุ
4.2 พิจารณาพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา
-ข้อกล่าวหา(ทาอะไร/ที่ไหน/อย่างไร/วันและเวลาใด)
-พยานหลักฐานที่สนับสนุน/ผิดวินยั มาตราใด
4.3 แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุน
ข้อกล่าวหา ให้ทราบ (สว.3)
5. ให้โอกาสผูถ้ ูกกล่าวหา
- ชี้แจงแก้ขอ้ กล่าวหา (เป็ นหนังสือ/ให้ถอ้ ยคา)
- นาสืบแก้ขอ้ กล่าวหา (นามาเอง/อ้างให้สอบ)
6. พิจารณาเปรียบเทียบพยานหลักฐาน ที่สนับสนุน
ข้อกล่าวหา/ที่หกั ล้างข้อกล่าวหา และวินจิ ฉัย
ว่า....ไม่ผดิ /ผิดกรณีใด มาตราใด ควรได้รบั โทษ
สถานใด
7. พิจารณารายงานผลการสอบสวน/เสนอความเห็น
- ไม่ผดิ วินยั ให้สง่ั ยุตเิ รือ่ ง
- ผิดวินยั ไม่รา้ ยแรง ให้สง่ั ลงโทษ
- ผิดวินยั เล็กน้อยและมีเหตุอนั ควรงดโทษ
ให้งดโทษ โดยทาทัณฑ์บนเป็ นหนังสือ
หรือว่ากล่าวตักเตือน
อานาจดาเนินการทางวินยั และการสัง่ ลงโทษไม่รา้ ยแรง
กรณีขา้ ราชการ
อานาจลงโทษ : พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
ม.92 (ไม่รา้ ยแรง)
สถานโทษ/อัตราโทษ : กฎ ก.พ.ฉบับที่ 8
ผูบ้ งั คับบัญชา : ผูม้ ีอานาจสัง่ บรรจุ ตาม ม.57
กรณีลกู จ้างประจา
อานาจลงโทษ : ระเบียบ กค. ว่าด้วยลูกจ้างประจาของส่วนราชการ
พ.ศ.2537 ข้อ 51 (ไม่รา้ ยแรง)
อัตรา/สถานโทษ : หนังสือ กค 0527.6/ว 5 ลว. 26 มค.39
ผูบ้ งั คับบัญชา : ระเบียบ กค.ว่าด้วยลูกจ้างประจาของส่วนราชการ
พ.ศ. 2537 ผูม้ ีอานาจบรรจุแต่งตัง้ ข้อ 13
(ปลัดฯ/อธิบดี)
: คาสัง่ มอบอานาจให้ ผวจ. ปฏิบตั ิราชการแทน
(สป.ที่ 684/2553 ลว.14 กพ.2553)
การสอบสวนวินยั อย่างร้ายแรง
1. กรณีกล่าวหาว่ากระทาผิดวินยั อย่างร้ายแรง
ให้แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน
2. ผูแ้ ต่งตัง้ และสัง่ ลงโทษ คือ ผูม้ ีอานาจสัง่ บรรจุ
ตาม ม.57 พรบ.ฯ2551
3. ดาเนินการสอบสวนตามขัน้ ตอนและวิธีการ
ตามที่กาหนดใน กฎ ก.พ.ฉบับที่ 18 (พ.ศ.2540)
ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา
ต.ย.คาสัง่ แต่งตัง้ คกก.สอบสวนวินยั ร้ายแรง (ม.93)
คาสัง่ ............
ที่ ........./2551
เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน
...................
ด้วย……..ตาแหน่ง…..…ประเภท........ สังกัด.......
มีกรณีถูก กล่าวหาว่ากระทาผิดวินยั อย่างร้ายแรง
ในเรือ่ ง………...................................................
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 93 แห่ง พ.ร.บ.
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 จึงแต่งตัง้
คณะกรรมการสอบสวน เพือ่ สอบสวนผูถ้ ูกกล่าวหา
ในเรือ่ งดังกล่าวประกอบด้วย...
กฎ ก.พ.ฉบับที่ 13 กรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง
ผบ.จะดาเนินการฯ โดยไม่สอบสวน/งดการสอบสวนก็ได้
1. กรณีกระทาผิดวินยั ไม่รา้ ยแรง
(1) กระทาผิดอาญาต้องคาพิพากษาถึงที่สดุ ผูน้ นั้ กระทาผิด
และ ผบ.เห็นว่าข้อเท็จจริงตามคาพิพากษาประจักษ์ชดั
(2) ทาผิดวินยั ไม่รา้ ยแรง และ
- รับสารภาพเป็ นหนังสือต่อ ผบ.
- ให้ถอ้ ยคารับสารภาพต่อผูม้ ีหน้าที่สบื สวน/คกก.สอบสวน
และมีการบันทึกถ้อยคารับสารภาพเป็ นหนังสือ
2. กรณีกระทาผิดวินยั อย่างร้ายแรง
(1) กระทาผิดอาญาจนได้รบั โทษจาคุก/หนักกว่า โดย
คาพิพากษาถึงที่สดุ เว้นแต่ประมาท/ลหุโทษ
(2) ละทิ้งฯ ติดต่อกันเกิน 15 วัน และ ผบ.สืบสวนแล้ว
เห็นว่าไม่มีเหตุผลสมควร/จงใจไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบฯ
(3) ทาผิดวินยั อย่างร้ายแรง และ
- รับสารภาพเป็ นหนังสือต่อ ผบ.
- ให้ถอ้ ยคารับสารภาพต่อผูม้ ีหน้าที่สบื สวน/คกก.สอบสวน
และมีการบันทึกถ้อยคารับสารภาพเป็ นหนังสือ
- ให้ถอ้ ยคารับสารภาพต่อผูม้ ีหน้าที่สบื สวน/คกก.สอบสวน
และมีการบันทึกถ้อยคารับสารภาพเป็ นหนังสือ
มาตรา 94 (การแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน
กรณีตาแหน่งต่างกัน/ต่างกรมหรือกระทรวง ถูกกล่าวหาร่วมกัน
ผูถ้ ูกกล่าวหาร่วมกัน
ผูส้ ง่ั แต่งตัง้ ฯ
1. กรมเดียวกันที่อธิบดีร่วมกับผูใ้ ต้ ผบ.
ปลัดฯ
กรมเดียวกันที่ปลัดฯร่วมกับผูใ้ ต้ ผบ.
รมว.
2. ต่างกรมในกระทรวงเดียวกัน
ปลัดฯ
3. ต่างกระทรวงกันผูก้ ล่าวหาร่วมกัน
ผูส้ ง่ั บรรจุร่วมกันตัง้
ต่างกระทรวงกันและ ตป.บริหารระดับสูง ร่วมด้วย นายกฯ
4. กรณีอน่ื ๆ ตามที่กาหนดใน กฎ ก.พ.
เทคนิคการสืบสวนสอบสวน
และการรับฟั งพยานหลักฐาน
เทคนิคและวิธีการ
การสืบ/สอบสวน/ตรวจสอบ
1. กาหนดประเด็น
2. จัดระบบหรือวางแผน
3. พิเคราะห์พยานหลักฐาน ข้อเท็จจริง
ข้อกฎหมาย
ข้อเท็จจริงที่จะนามาสู่สานวน
การสืบ/สอบสวน/ตรวจสอบ
1.โดยพยานหลักฐาน
2.โดยข้อสันนิษฐาน
3.โดยผูส้ ืบ/สอบสวน/ตรวจสอบ หรือผูพ้ ิ จารณา
รับรู้เอง/เห็น
5. โดยผูถ้ กู กล่าวหารับข้อเท็จจริง
พยานหลักฐาน
คือ สิ่งที่แสดงให้เห็นอย่างมีเหตุผลถึงความ
ถูกต้องหรือไม่ถกู ต้องของเหตุการณ์
1. พยานเอกสาร
2. พยานวัตถุ
3. พยานบุคคล
พยานเอกสาร
พยานหลักฐานที่มีการบันทึกไว้เป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษร หรือด้วยรูปรอยใดๆ อันเป็ นการ
สื่อความหมายในภาษาใดภาษาหนึ่ ง
พยานวัตถุ
วัตถุสิ่งของที่ค่คู วามอ้างเป็ นพยานหลักฐาน
พยานบุคคลประเภทต่างๆ
พยานโดยตรง
พยานแวดล้อมกรณี
ประจักษ์พยาน
พยานบอกเล่า
พยานผูเ้ ชี่ยวชาญ
หลักการชังน
่ ้าหนักพยานบุคคล
ความน่ าเชื่อถือของคาให้การของพยานบุคคล
1. การทดสอบความมันคง
่ ไม่ให้กลับไปกลับมา
2. การชังน
่ ้าหนักความน่ าเชื่อถือ
ปัญหาในการชั่งนา้ หนักพยานบุคคล
1.พยานโดยตรงกับพยานแวดล้ อม
2.ประจักษ์ พยานกับพยานบอกเล่ า
พยานบุคคลที่มีน้าหนักน้ อย
1. พยานบอกเล่า
2. คาซัดทอด
3. พยานที่โจทก์กนั ไว้
การชังน
่ ้าหนักพยานหลักฐาน
เป็ นขัน้ ตอนของการวินิจฉัยข้อเท็จจริงที่
โต้แย้งกันด้วยพยานหลักฐาน ดังนัน้ เมื่อใดที่เป็ น
ดุลพินิจในการวินิจฉัยพยานหลักฐานย่อมถือว่า
เป็ นเรื่องที่ต้องวินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริง
จึงสรุปได้ว่า ปัญหาข้อเท็จจริงเป็ นปัญหาที่
จะต้องวินิจฉัยจากพยานหลักฐาน
การซักถามพยาน
ลักษณะที่ดีของผูซ้ กั ถาม
1.มีความรูร้ อบตัวกว้างขวาง
2.ตื่นตัว เตรียมพร้อมอยู่เสมอ
3.มีความเพียร
4.ซื่อตรงต่อหน้ าที่
5.มีเหตุผล มีตรรกวิทยาในการฟัง
6.มีความสังเกตได้ดี
7.สามารถบังคับตนเองได้ทงั ้ กาย วาจา ใจ
8.สามารถแสดงตัวอย่างไรก็ได้
ข้อแนะนาในการปฏิบตั ิ ตนของผูส้ อบสวน
1.สามารถควบคุมการซักถามได้ตลอดเวลา
2. ต้องไม่แสดงกิริยาที่จะเบนเรือ่ งไปทางอื่น
3.ใช้ภาษาที่ฟังรูเ้ รือ่ ง
4.แต่งกายสุภาพ
5.แสดงออกควรเป็ นไปว่าต้องการทราบความจริง
6.จานวนคนในห้องสอบสวน
การเตรียมตัว
ก.แนะนาตัวเอง
ข.เริ่มต้นสนทนา
ค.การตัง้ คาถาม
.
1. ต้องเป็ นผูน้ าสนทนา
2.ทบทวนข่าวสาร
3.ตัง้ คาถาม
3.1 ถามทีละข้อ
3.2 คาถามง่ายๆ
3.3 ช่วยกู้หน้ าผูถ้ กู ถาม
3.4 ให้อธิบายคาตอบ
3.5 ไม่ถามชนิดมีคาตอบในตัวเอง
3.6 รู้สึกตอนเริ่มต้นว่าเราต้องทาได้
ท่าทีบคุ คลที่ถกู สัมภาษณ์
1.ประเภทไม่เรื่องอะไรทัง้ สิ้น
2.ประเภทไม่สนใจ ไม่ยอมให้ความร่วมมือ
3.ประเภทขีเ้ มา
4.ประเภทขีส้ งสัย ขีร้ ะแวง
5.ประเภทช่างพูด ขีค้ ยุ
6.ประเภทที่พดู ตามความจริง
7.พยานเท็จ
8.ประเภทขีอ้ าย
9.ประเภทขีโ้ ม้
10.ประเภทปฏิเสธ
หลักการถามปากคาผูก้ ล่าวหา
1. ให้โอกาสและเวลาแก่ผใู้ ห้ถ้อยคาให้คิดนึ กทบทวนความจา
อย่าคาดคัน้ หรือใช้คาถามหรือถ้อยคาเชิญชวนให้ความจา
คลาดเคลื่อนอาจทาให้คดีเสียได้ ถ้าผูใ้ ห้ถ้อยคานึ กไม่ได้
ก็บนั ทึกเท่าที่จาได้หรือเหตุที่จาไม่ได้
2. ระบุวนั เดือน ปี เวลา สถานที่เกิดเหตุ ตาบล อาเภอ
และจังหวัดให้ชดั แจ้ง
3. พฤติการณ์อนั เกี่ยวเนื่ องแก่เหตุการณ์นัน้ ๆ รวมทัง้ สังเกต
อาการและกิริยาผูใ้ ห้ปากคาด้วย
4. มีใครรู้เห็นในเมื่อมีเหตุนัน้ บ้างและมีใครอยู่ใกล้เคียง
ที่เกิดเหตุบา้ ง หรืออ้างวัตถุ เอกสาร พยาน อย่างไรบ้าง
เทคนิคการจดคาพยาน
1. ต้องให้พยานเล่าทุกสิ่งทุกอย่างที่ร้เู ห็นมาเกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริงนัน้ ด้วยวาจาตัง้ แต่ต้นจนจบ และซักถามจนเข้าใจ
เรื่องราวจากปากคาจนกระจ่างที่สดุ จึงเริ่มบันทึก
2. การจดบันทึก ต้องจดให้ตรงกับที่ให้การและตรงประเด็น
3. จะซักถามอย่างไรต้องรู้ว่าข้อกล่าวหามีประเด็นอย่างไร
4. ต้องพิจารณาด้วยว่าเป็ นพยานประเภทใด เช่น
ประจักษ์พยาน พยานบอกเล่า หรือพยานพฤติเหตุแวดล้อม
5. ต้องบันทึกปากคาพยานทุกปาก แม้จะมีข้อเท็จจริงเหมือนกัน
6. การให้การว่าไม่ร้ไู ม่เห็นของพยานจะต้องบันทึกไว้
อย่าปล่อยทิ้งไป
รายงานการสืบสวน/สอบสวนทางวินยั ไม่รา้ ยแรง
ส่วนที่ 1. กล่าวถึงความเป็ นมาในการสืบสวน/สอบสวน
- คาสัง่ แต่งตัง้ /มอบหมาย
ส่วนที่ 2. กล่าวถึงการรวบรวมพยานหลักฐาน
(1) ผูถ้ ูกกล่าวหา
(2) พยานบุคคล
(3) พยานเอกสาร
(4) พยานวัตถุ
ส่วนที่ 3. กล่าวถึงข้อเท็จจริงจากการสืบสวน/สอบสวน
ข้อเท็จจริงจากการสอบสวนและพยานหลักฐาน
รับฟั งได้ว่า......................................................
ส่วนที่ 4. กล่าวถึงความเห็นและข้อเสนอ
กรณีสบื สวนเห็นว่ากรณีมีมูลไม่รา้ ยแรง ให้ระบุว่า..
คณะกรรมการสืบสวนพิจารณาแล้ว เห็นว่ากรณี
มีมูลที่ควรกล่าวหาว่านาย......กระทาผิดวินยั อย่างไม่
ร้ายแรง ดังนัน้ เห็นควร
1. แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนวินยั อย่างไม่
ร้ายแรงแก่นาย........ ต่อไป หรือ
2. ดาเนินการแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ให้ผูถ้ ูกกล่าวหาทราบและให้โอกาสชี้แจงพร้อมทัง้
รับฟั งคาชี้แจงของผูถ้ ูกกล่าวหา โดยมอบให้นิติกร/
คณะกรรมการสืบสวน ดาเนินการดังกล่าวและ
เสนอความเห็นเกีย่ วกับความผิดทางวินยั ต่อไป
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณาและให้ความชอบ
ตามข้อเสนอดังกล่าวต่อไป
กรณีสบื สวนเห็นว่ากรณีมีมูลผิดร้ายแรง ให้ระบุว่า..
คณะกรรมการสืบสวนพิจารณาแล้ว เห็นว่ากรณี
มีมูลที่ควรกล่าวหาว่านาย......กระทาผิดวินยั อย่าง
ร้ายแรง ดังนัน้ เห็นควรแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน
วินยั อย่างร้ายแรงแก่นาย........ ต่อไป
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณา....
กรณีสบื สวนเห็นว่ากรณีไม่มีมูลว่าผิดวินยั ให้ระบุว่า..
คณะกรรมการสืบสวนพิจารณาแล้ว เห็นว่ากรณี
ไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่านาย......กระทาผิดวินยั ดังนัน้
เห็นควรให้ยุติเรือ่ ง
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณา หากเห็นชอบโปรดสัง่
ให้ยุติเรือ่ ง ต่อไป............
กรณีสอบสวนวินยั อย่างไม่รา้ ยแรง
ให้ระบุ....
- ฐานความผิด และข้อกฎหมายหรือระเบียบทางวินยั
ระดับโทษ/ เหตุลดหย่อนโทษหรืองดโทษ
- การสัง่ ยุติเรือ่ ง (กรณีไม่ได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา)
มาตรา 96 ข้าราชการพลเรือนสามัญผูใ้ ด
กระทาผิดวินยั อย่างไม่รา้ ยแรง ให้ผูบ้ งั คับบัญชา
ซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุตามมาตรา 57 สัง่ ลงโทษ
ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนตามควร
แก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิด
ในกรณีมีเหตุอนั ควรลดหย่อน จะนามา
ประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่สาหรับการ
ลงโทษภาคทัณฑ์ให้ใช้เฉพาะกรณีกระทาผิดวินยั
เล็กน้อย
ในกรณีกระทาผิดวินยั เล็กน้อย และมีเหตุอนั
ควรงดโทษจะ งดโทษให้โดยให้ทาทัณฑ์บนเป็ น
หนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนก็ได้
ม.103 พรบ.2535
ข้าราชการพลเรือนสามัญผูใ้ ดกระทาผิดวินยั อย่าง
ไม่รา้ ยแรงให้ผูบ้ งั คับบัญชาสัง่ ลงโทษภาคทัณฑ์ ตัด
เงินเดือน หรือลดขัน้ เงินเดือนตามควรแก่กรณีให้
เหมาะสมกับความผิด ถ้ามีเหตุอนั ควรลดหย่อน จะ
นามาประกอบ การพิจารณา ลดโทษก็ได้ แต่
สาหรับการลงโทษภาคทัณฑ์ให้ใช้เฉพาะกรณีกระทา
ผิดวินยั เล็กน้อย หรือมีเหตุอนั ควรลดหย่อน ซึง่ ยังไม่
ถึงกับจะต้องถูกลงโทษตัดเงินเดือน ...
ม.133-เมื่อลักษณะ 4 ใช้บงั คับ(11 ธค.2551)
กระทาผิดวินยั /
มีกรณีสมควร
ให้ออก...อยู่ก่อน
ลักษณะ 4
ใช้บงั คับ
วันที่
11
ธค.
51
1.ให้ ผบ.ตาม พรบ.2551
สัง่ ลงโทษ/สัง่ ให้ออก ตาม
พรบ. ที่ใช้ในอยู่ขณะนัน้
(เช่น พรบ.2535)
2.สอบสวน/พิจารณา/
ดาเนินการ เพือ่ ลงโทษ
หรือให้ออก ให้ดาเนินการ
ตาม พรบ.2551 เว้นแต่
2.1 ผบ.สัง่ สอบสวน
ถูกต้องตาม พรบ.
2535 ก่อนลักษณะ 4
ใช้บงั คับ แต่ยงั สอบ
สวนไม่แล้วเสร็จ
2.2 มีการสอบสวน/
พิจารณา ถูกต้อง
ตาม พรบ.2535
เสร็จก่อนลักษณะ 4
ใช้บงั คับ
11
ธค.
51
2.1 ให้สอบสวน
ตาม พรบ.2535
จนกว่าจะแล้วเสร็จ
2.2 ให้การสอบ
สวน/พิจารณา
เป็ นอันใช้ได้
2.3 มีการรายงาน/
ส่งเรือ่ ง/
นาสานวนเสนอ
หรือส่งเรือ่ ง
ให้ อ.ก.พ.สามัญ
พิจารณา ถูกต้อง
ตาม พรบ.2535
แต่ อกพ.
พิจารณา
ยังไม่เสร็จ
11
ธค.
2551
2.3 ให้ อ.ก.พ.
สามัญ พิจารณา
ตาม พรบ.2535
จนเสร็จ
ม.88 พรบ.2551สถานโทษทางวินยั มี 5 สถาน
■ไม่รา้ ยแรง
■ ร้ายแรง
1.ภาคทัณฑ์
2.ตัดเงินเดือน
1. ปลดออก
2. ไล่ออก
3.ลดเงินเดือน
วินยั และการรักษาวินยั
การดาเนินการทางวินยั
**********
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535
มาตรา 80-111
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
มาตรา 80-106
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจา
ของส่วนราชการ พ.ศ.2537 ข้อ 28-56
ต.ย.คาสัง่ ลงโทษตัดเงินเดือน ที่กระทาผิดก่อน 11 ธค.51
คาสัง่ ............
ที่ ........./2553
เรือ่ ง ลงโทษตัดเงินเดือน
...................
ด้วยนาย…….ข้าราชการพลเรือนสามัญตาแหน่ง….....
ประเภท….........สังกัด..............ตาแหน่งเลขที่...........
รับเงินเดือน........... บาท ได้กระทาผิดวินยั ในกรณี…...
...................................................................................
เป็ นการกระทาผิดวินยั อย่างไม่รา้ ยแรงฐาน……………
และฐาน.............ตามมาตรา ……และมาตรา....… แห่ง
พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2535 สมควร
ได้รบั โทษตัดเงินเดือน.......% เป็ นเวลา.........เดือน
ฉะนัน้ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 96 วรรคหนึง่
และมาตรา 133 วรรคหนึง่ แห่งพ.ร.บ.ระเบียบ
ข้าราชการ
พลเรือน พ.ศ.2551 และกฎ ก.พ.ฉบับที่ 8(พ.ศ.2536)
ประกอบ มาตรา 132 แห่งพ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการ
พลเรือน พ.ศ.2551 จึงให้ลงโทษตัดเงินเดือนนาย...
จานวน.....% เป็ นเวลา.......เดือน
อนึง่ นาย..........สิทธิอทุ ธรณ์คาสัง่ นี้ต่อ ...............
ทัง้ นี้ ตัง้ แต่เดือน............. พ.ศ..... เป็ นต้นไป
สัง่ ณ วันที่.........................
ต.ย.คาสัง่ ลงโทษตัดเงินเดือน ที่กระทาผิดตัง้ แต่ 11 ธค.51
คาสัง่ ............
ที่ ........./2553
เรือ่ ง ลงโทษตัดเงินเดือน
...................
ด้วยนาย…….ข้าราชการพลเรือนสามัญตาแหน่ง….........
ประเภท….........สังกัด..........................ตาแหน่งเลขที่.........
รับเงินเดือน........... บาท ได้กระทาผิดวินยั ในกรณี…..........
...........................................................................................
เป็ นการกระทาผิดวินยั อย่างไม่รา้ ยแรงฐาน….และฐาน...........
ตามมาตรา …. (...) และมาตรา.....(...)ประกอบมาตรา 84
แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 สมควร
ได้รบั โทษตัดเงินเดือน.......% เป็ นเวลา.........เดือน
ฉะนัน้ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 96 วรรคหนึง่
แห่งพ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และ
กฎ ก.พ.ฉบับที่ 8(พ.ศ.2536) ประกอบ มาตรา 132
แห่งพ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
จึงให้ลงโทษตัดเงินเดือนนาย........ จานวน.......%
เป็ นเวลา.......เดือน
อนึง่ นาย..........สิทธิอทุ ธรณ์คาสัง่ นี้ต่อ ...............
ทัง้ นี้ ตัง้ แต่เดือน............. พ.ศ..... เป็ นต้นไป
สัง่ ณ วันที่.........................
การแจ้ งสิ ทธิอุทธรณ์ /โต้ แย้ ง ให้ ทราบ
คาสัง่ ทางปกครอง ที่อาจอุทธรณ์/โต้แย้ง ต่อไปได้ให้ระบุ
- กรณีท่ีอทุ ธรณ์/โต้แย้ง
- การยืน่ คาอุทธรณ์/โต้แย้ง
- ระยะเวลาสาหรับการอุทธรณ์/โต้แย้ง
(อุทธรณ์ ต่อใคร ภายในกีว่ นั ถ้ าไม่ แจ้ ง เวลาจะขยาย 1 ปี )
กม./ระเบียบ เกีย่ วกับการอุทธรณ์
ข้าราชการ : พรบ.พลเรือนฯ2551 ม.114-121/กฎ ก.พ.ค.
ลูกจ้างประจา : หนังสือ กค 0527.6/ว 50 ลว.26 พค.41
พนักงานราชการ : ม.45 พรบ.วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครองฯ
แนวตัวอย่ างข้ อความแจ้ งสิ ทธิอุทธรณ์
กรณีขา้ ราชการ
อนึ่ง นาย.……………มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาสัง่ นี้ต่อคณะกรรมการพิทกั ษ์
ระบบคุณธรรม ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทราบหรือถือว่าทราบคาสัง่ ลงโทษ ทัง้ นี้ ตาม
มาตรา 114 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 และตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กาหนดไว้ในกฏ ก.พ.ค.ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์
พ.ศ.2551
กรณีลกู จ้างประจา
อนึ่ง นาย.……………มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาสัง่ นี้ต่อ (..อ.ก.พ.จังหวัด.../
กรม..../สป./กระทรวงสาธารณสุข...) ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทราบคาสัง่ ลงโทษ
ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ในหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0527.6/ว
50 ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2541
กรณีพนักงานราชการ
อนึ่ง นาย.……มีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาสัง่ นี้ต่อ ...ผวจ./อธิบดี/ปลัดฯ(ผูอ้ อก
คาสัง่ )
ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รบั แจ้งคาสัง่ ลงโทษ ทัง้ นี้ ตามมาตรา 45 แห่ง
ผูถ้ กู ลงโทษ
โทษวินัย
ข้าราชการ
ร้ายแรงและ
ไม่ร้ายแรง
พนักงาน
ข้าราชการ
ลูกจ้างประจา
ลูกจ้างประจา
ผูล้ งนามในคาสังลงโทษ
่
อุทธรณ์ต่อ/
ผูพ้ ิ จารณา
ร้ายแรงและ
ไม่ร้ายแรง
1.นายกรัฐมนตรี/รมว./ปลัดกระทรวง
2. อธิบดี /ผวจ.
3. ผูร้ บั มอบอานาจจาก 1-2
1.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (กรม สป.)
2. อธิบดี / ผวจ. ที่รบั มอบจาก สป.
3. ผูร้ บั อบอานาจจาก 1-2
ผูอ้ อกคาสัง่
และ ผบ.ชัน้
เหนื อตามกฎ 4
อย่างร้ายแรง
และไม่ร้ายแรง
1.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (กรม สป.)
2. อธิบดี / ผวจ. ที่รบั มอบจาก สป.
3. ผูร้ บั อบอานาจจาก 1-2
อ.ก.พ.กระทรวง
หน.หน่ วยงาน/หน.ส่วนราชการของ
สป./กรม เช่น ผอ.กอง/สานัก/รพ./
- อ.ก.พ.สป.
- อ.ก.พ.จังหวัด
- อ.ก.พ.กรม
ไม่ร้ายแรง
ก.พ.ค.
การออกคาสัง่ และวันที่ได้รบั โทษ
1. ภาคทัณฑ์ (ตัง้ แต่บดั นี้ เป็ นต้นไป)
2. ตัด งด. (ตัง้ แต่เดือน....)
3. ลดเงินเดือน (ตัง้ แต่บดั นี้ เป็ นต้นไป)
4. ปลด/ไล่ ออก (ตัง้ แต่บดั นี้/ตัง้ แต่วนั ที่เริม่
ละทิ้งฯ/ตัง้ แต่วนั พักราชการหรือสัง่ ให้ออกฯ/
ตัง้ แต่วนั ลาออก/วันสุดท้ายก่อนเกษียณฯ)
ข้อควรระวังเกีย่ วกับการดาเนินการทางวินยั
1. ลงโทษวินยั ต้องปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนของ ว.19/กฎ 18
2. รายงานการสอบสวน
- สรุปข้อเท็จจริงที่รบั ฟั งได้จากการสอบสวนให้ชดั เจน
- ปรับบทความผิดให้ถูกต้องกับข้อเท็จจริง
- ระบุฐานความผิดและมาตรา ให้ถูกต้อง/ครบถ้วน
3. คาสัง่ ลงโทษวินยั
- ข้อความต้องครบถ้วนตามแบบของ ก.พ.
- ต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์/แจ้งให้ถูกต้อง
- ระบุกรณีกระทาผิดวินยั ในคาสัง่ ให้ถูกต้อง
ขัน้ ตอนและเอกสารในรายงานการดาเนินการทางวินยั
1. รายงานผ่านผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับจนถึงอธิบดี /ผวจ./ปลัดฯ
และส่งให้ อ.ก.พ.กระทรวงพิจารณา
2. เอกสารที่ตอ้ งส่งพร้อมกับการรายงานฯ
2.1 สาเนาคาสัง่ ลงโทษ จานวน 10 ฉบับ
2.2 หลักฐานการรับทราบคาสัง่ ลงโทษ
2.3 สานวนการสอบสวน
- สาเนาคาสัง่ แต่งตัง้ คกก./การแจ้งคาสัง่
- รายงานการสืบสวน/สอบสวน
- บันทึกปากคาพยาน/ผูถ้ ูกกล่าวหา
- พยานเอกสาร/พยานวัตถุ
- เอกสารอืน่ ที่เกีย่ วข้องทัง้ หมด
2.4 สาเนา ก.พ.7/สมุดประวัติขา้ ราชการ
2.5 CD-บันทึกรายงานและคาสัง่ ลงโทษ (กรณีจงั หวัดลงโทษ)
มาตรา 100
1. ข้าราชการพลเรือนสามัญผูใ้ ดมีกรณีถูก
กล่าวหาเป็ นหนังสือว่ากระทาหรือละเว้นกระทาการใด
ที่เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง เป็ นการกล่าวหาต่อ
- ผูบ้ งั คับบัญชาของผูน้ นั้
-ผูม้ ีหน้าที่สบื สวนสอบสวนหรือตรวจสอบตาม
กฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ
- เป็ นการกล่าวหาโดยผูบ้ งั คับบัญชาของผูน้ นั้
- มีกรณีถูกฟ้ องคดีอาญาหรือต้องหาว่า
กระทาความผิดอาญาอันมิใช่เป็ นความผิดที่ได้กระทา
โดยประมาทที่ไม่เกีย่ วกับราชการหรือความผิดลหุ
โทษ
2. แม้ภายหลังผูน้ นั้ จะออกจากราชการไปแล้ว
โดยมิใช่เพราะเหตุตาย
3. ผูม้ ีอานาจดาเนินการทางวินยั มีอานาจ
ดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และดาเนินการทาง
วินยั ตามที่บญั ญัตไิ ว้ในหมวดนี้ต่อไปได้เสมือนว่าผู ้
นัน้ ยังมิได้ออกจากราชการ
4. ทัง้ นี้ผูบ้ งั คับบัญชาซึง่ มีอานาจสัง่ บรรจุตาม
มาตรา 57 ต้องดาเนินการสอบสวนตามมาตรา 93
วรรคหนึง่ ภายใน 180 นับแต่วนั ที่ผูน้ นั้ พ้นจาก
ราชการ
5. ถ้าผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏว่าผูน้ นั้
กระทาผิดวินยั อย่างไม่รา้ ยแรงก็ให้งดโทษ
คณะกรรมการพิทกั ษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.)
(Merit Systems Protection Board)
1. ทาหน้าที่พิทกั ษ์ระบบคุณธรรม โดยเป็ นองค์กรอิสระกึ่งลุกาการ
(เป็ นอิสระจากฝ่ ายบริหาร)
2. กรรมการจานวน 7 คน ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกก้าฯ แกะมี
เกขาธิการ ก.พ. เป็ นเกขานุการ ดารงลาแหน่งวาระเดียว 6 ปี
โดยทางานเล็มเวกา
3. สรรหาแกะคัดเกือก โดยคณะกรรมการที่มีประธานศาก
ปกครอง
สูงสุด เป็ นประธาน
การอุทธรณ์ และการร้ องทุกข์
1. การอุทธรณ์โทษทางวินยั 5 สถาน /คาสั ่งให้ออกจาก
ราชการ 6 กรณี คือ เจ็บป่ วย/ขาดคุณสมบัลทิ ั ่วไป/
ปฏิบลั งิ านไม่มีประสิทธิภาพฯ/หย่อนความสามารถฯ/
มกทินมัวหมอง/ถูกจาคุกถึงที่สุดในคดีประมาท-กหุโทษ
- ให้อุทธรณ์ ล่อ คณะกรรมการพิทกั ษ์ระบบคุณธรรม
(ก.พ.ค.) ภายใน 30 วัน นับแล่ทราบคาสั ่ง
- ถ้าผูอ้ ุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค.
ให้ฟ้องล่อศากปกครองสูงสุด ภายใน 90 นับแล่
ทราบคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค.
71
เหตุถูกสัง่ ให้ออกจากราชการ 6 กรณี
1. เจ็บป่ วยไม่อาจปฏิบตั หิ น้าที่ราชการได้โดยสมา่ เสมอ
2. ขาดคุณสมบัตทิ ว่ั ไป/ต้องห้าม
- ไม่มีสญั ญาติไทย
- ไม่เลือ่ มใสปกครอง ปชต.
- ดารงตาแหน่งการเมือง - ยังถูกสัง่ พักฯ/ให้ออกไว้ก่อน
- ล้มละลาย
- เคยต้องรับโทษที่สดุ ให้จาคุกคดีอาญา(ยกเว้นประมาท/ลหุโทษ)
3. ปฏิบตั ิงานไม่มีประสิทธิภาพฯ
4. หย่อนฯ-บกพร่อง-ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ฯ
5. มีมลทินหรือมัวหมอง
6. ต้องรับโทษจาคุกที่สดุ ในความผิดประมาท/ลหุโทษ หรือ
ต้องรับโทษจาคุกโดยคาสัง่ ศาลซึง่ ยังไม่ถงึ กับจะถูกลงโทษปลด
หรือไล่ออก
2. การร้องทุกข์กรณีที่คบั ข้องใจอันเกิดจากการปฏิบลั /ิ
ไม่ปฏิบลั ลิ อ่ ลน ของ ผบ. แกะมิใช่กรณีอุทธรณ์ลาม 1.
2.1 เหลุเกิดจาก ผบ. ให้รอ้ งทุกข์ลอ่ ผบ.ชั้นเหนือขึ้นไป
- เหลุเกิดจาก ผบ.ล ่ากว่า ผวจ./อธิบดี ร้องทุกข์
ล่อ ผวจ./อธิบดี
- เหลุเกิดจาก ผวจ./อธิบดี ร้องทุกข์ลอ่ ปกัดฯ
2.2 เหลุเกิดจาก ปกัดกระทรวง/ รัฐมนลรี / นายกฯ
ให้รอ้ งทุกข์ ล่อ ก.พ.ค.
2.3 ถ้ายังไม่พอใจคาวินิจฉัยร้องทุกข์ มีสิทธิฟ้องล่อศาก
ปกครองชั้นล้นภายใน 90 วัน นับแล่ทราบคาวินิจฉัย
การร้องทุกข์/พิจารณาวินิจฉัย ให้เป็ นไปตามกฎ ก.พ.ค.
อุทธรณ์
สรุป การอุทธรณ์/ร้องทุกข์ ตาม พ.ร.บ.2551
1.สั ่งกงโทษทางวินัย 5 สถาน
2.สั ่งให้ออกจากราชการ 6 กรณี
ก.พ.ค.
ก.พ.ค.
3.สั ่งให้ออกฯ (กรณีอุทธรณ์ไม่ได้)
โดย อธิบดี/ผวจ./แกะผูร้ บั มอบอานาจ
4.คับข้องใจ ที่เกิดจาก อธิบดี/ผวจ./
แกะผูร้ บั มอบอานาจ
ปลัดฯ
ร้องทุกข์
1.สั ่งให้ออกฯที่อุทธรณ์ไม่ได้โดย ปกัดฯ
/รมว./นายกฯ/แกะผูร้ บั มอบอานาจ
2.คับข้องใจ ที่เกิดจาก ปกัดฯ/รมว./
นายกฯ/ แกะผูร้ บั มอบอานาจ
5.คับข้องใจ ที่เกิดจาก ผบ.
ซึ่งลาแหน่งล ่ากว่า อธิบดี/ผวจ.
ศาล
ปกครอง
สูงสุด
ศาล
ปกครอง
ชัน้ ต้น
อธิบดี/ผวจ
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
พระราชทานแก่ขา้ ราชการพลเรือน ปี 2553
การทาความดี แม้ จะไม่ มใี ครรู้ เห็น แต่ กจ็ าเป็ น
ต้ องทา เพือ่ ให้ ผลดีทเี่ กิดขึน้ ยิง่ เพิม่ พูนและแผ่ ขยาย
กว้ างออกไป เป็ นประโยชน์ เป็ นความเจริญมั่นคงทีแ่ ท้
แก่ ตน แก่ ส่วนรวม ตลอดถึงชาติบ้านเมืองพร้ อม
ทุกส่ วน. ข้ าราชการทุกคนจึงต้ องตั้งใจให้ หนักแน่ น
เทีย่ งตรง ทีจ่ ะกระทาความดีท้งั ในการประพฤติตน
และการปฏิบัตงิ าน ด้ วยความอุตสาหะเสี ยสละ
โดยไม่ หวัน่ ไหวย่ อท้ อต่ ออุปสรรคปัญหา หรือความ
ลาบากเหนื่อยยาก.
พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
วันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๓
นายเสมอ กาฬภักดี นิติกรชานาญการพิเศษ
กลุ่มเสริมสร้างวินยั และระบบคุณธรรม
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อ.เมืองฯ จ.นนทบุรี 11000
(อาคาร 3 ชัน้ 6)
www.moph.go.th/ops/discipline/
e-mail : [email protected]
โทร. 02-5901314, 5901417,
มือถือ 086-5162295