Transcript File

การพิจารณาความผิดและกาหนดโทษ
และการลงโทษทางวินัย
โดย
พัชรา เพ็ชรทวี
ประกาศคณะกรรมการกลาง........
เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกีย่ วกับวินัย.........
ข้ อ 1 พนักงานส่ วนท้ องถิ่นต้ องรักษาวินัยตามที่กาหนด
เป็ นข้ อห้ ามและข้ อปฏิบัตโิ ดยเคร่ งครัดอยู่เสมอ
ข้ อ 21 ....ผู้ใดฝ่ าฝื นข้ อห้ ามหรือไม่ ปฏิบัตติ ามข้ อปฏิบัต.ิ ..
ให้ ถอื ว่ าผู้น้ันกระทาผิดวินัย....จักต้ องได้ รับโทษทางวินัย
2
ข้ อ 20 ให้ผบู้ งั คับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้ าง
และพัฒนาให้ผใู ้ ต้บงั คับบัญชามีวนิ ยั ป้ องกัน
มิให้ผอู ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชากระทาผิดวินยั และ
ดาเนินการทางวินัย แก่ผใู ้ ต้บงั คับบัญชา ซึ่งมี
กรณี อนั มีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินยั
3
การดาเนินการทางวินัย
การสื บสวน
การตั้งเรื่องกล่ าวหา ( การตั้งคณะกรรมการสอบสวน )
การสอบสวน
การพิจารณาความผิดและกาหนดโทษ
การลงโทษ
พักราชการ
ให้ ออกฯ ไว้ ก่อน
4
ขั้นตอนของกระบวนการพิจารณาความผิด
กาหนดโทษและการลงโทษ
เมื่อการ
สอบสวนวินัย
ได้ ข้อเท็จจริง
เป็ นยุติ
พิจารณาความผิด
ว่ าผิดหรือไม่ ?
ข้ อใด ?
พิจารณากาหนด
โทษ ว่ าควรได้ รับ
โทษสถานใด ?
การสั่ ง
ลงโทษ
5
การพิจารณาความผิดและกาหนดโทษ คือ
การพิจารณาวินิจฉัยว่ า ผู้ถูกกล่ าวหาได้ กระทาผิด
วินัยในกรณีใด ตามข้ อใดและควรจะลงโทษใน
สถานใดหรือไม่
ทั้งนี้ เป็ นกระบวนการทีจ่ ะต้ องทาโดยผู้มีอานาจ
หน้ าที่ในการพิจารณาตามที่กฎหมายกาหนดไว้
6
หลักการพิจารณาความผิด
1. หลักนิติธรรม
2. หลักมโนธรรม
7
หลักนิติธรรม
คือการพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
- มีบทกฎหมายบัญญัติเป็ นความผิด
- การกระทาเข้ าองค์ ประกอบ
ความผิดทุกประการ
8
ข้ อ 3 วรรคสาม “การปฏิบัติหรือละเว้ นการ
ปฏิบัติหน้ าทีร่ าชการโดยมิชอบ เพือ่ ให้ ตนเอง
หรือผู้อนื่ ได้ รับประโยชน์ ทีม่ ิควรได้ เป็ นการ
ทุจริตต่ อหน้ าทีร่ าชการ..."
1. มีหน้ าที่
องค์ ประกอบ
2.ปฏิบัติ / ละเว้ นโดยมิชอบ
3.เพือ่ ให้ ตนเอง/ผู้อนื่ ได้ รับประโยชน์ ทมี่ คิ วรได้
4.โดยเจตนาทุจริต
9
ข้ อ 13 “พนักงานท้ องถิน่ ต้ องอุทศิ เวลาของ
ตนให้ แก่ ราชการจะละทิง้ หรือทอดทิง้ หน้ าที่
ราชการมิได้ ..”
องค์ ประกอบ คือ
1. มีหน้ าทีร่ าชการ
2. ละทิง้ / ทอดทิง้ หน้ าที่
3. เจตนา
10
ข้ อ 19 ข้ าราชการ
1.ต้ องรักษาชื่อเสี ยงของตน
2.ต้ องรักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ งหน้ าที่
3.โดยไม่ กระทาการใด ๆ อันได้ ชื่อว่ าเป็ น
ผู้ประพฤติชั่ว
11
แนวทางการพิจารณาเรื่ อง
“ ประพฤติชวั่ ”
•เสี ยเกียรติของตาแหน่งหน้าที่
•สังคมรังเกียจ
•กระทาโดยเจตนา
12
หลักมโนธรรม หมายถึง
พิจารณาทบทวนให้ รอบคอบ
คานึงถึงความเป็ นจริง
ความถูกต้ องเหมาะสมที่ควรจะเป็ น
13
การกาหนดโทษ
การพิจารณาว่า
ผูก้ ระทาผิดสมควร
ถูกลงโทษสถานใด
14
โทษทางวินัยมี 5 สถาน
1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน
3. ลดขั้นเงินเดือน
4. ปลดออก
5. ไล่ออก
15
หลักการกาหนดโทษ
1. หลักนิติธรรม
2. หลักมโนธรรม
3. หลักความเป็ นธรรม
4. นโยบายของทางาชการ
16
1.หลักนิติธรรมในการกาหนดโทษ คือ
คานึงถึงโทษ / ระดับโทษ ที่ กม.กาหนด
• โทษทางวินัยมี 5 สถาน (21)
• ความผิดไม่ ร้ายแรง กาหนดโทษสถานเบา (67)
ความผิดเล็กน้ อย จะงดโทษให้ กไ็ ด้
(ว่ ากล่ าวตักเตือน / ทัณฑ์ บน)
• ความผิดร้ ายแรง กาหนดโทษสถานหนัก (68)
2. หลักมโนธรรมในการกาหนดโทษ
คือ การพิจารณาทบทวนให้ รอบคอบ โดย
คานึงถึงความถูกต้ อง เหมาะสม ตามเหตุผล
ที่ควรจะเป็ น ภายในขอบเขตระดับโทษ ตามที่
กฎหมายกาหนด
18
เหตุผลประกอบการพิจารณา
*
*
*
*
*
*
*
ลักษณะของการกระทาผิด
ผลแห่ งการกระทา
คุณความดี
การรู้ หรือไม่ ร้ ู ว่าการกระทานั้นเป็ นความผิด
การให้ โอกาสแก้ ไขความประพฤติ
เหตุเบือ้ งหลังการกระทาผิด
สภาพของผู้กระทาผิด
19
3. หลักความเป็ นธรรม
คือ การวางโทษเสมอหน้ ากัน
ใครทาผิดก็ต้องถูกลงโทษ
- ไม่ เลือกที่รักมักที่ชัง
- ความผิดอย่ างเดียวกัน
ควรกาหนดโทษเท่ ากัน / ใกล้ เคียงกัน
20
4. นโยบายของทางราชการใน
การลงโทษข้ าราชการ
-
นโยบายของรัฐบาล
....................
มติคณะรัฐมนตรี
....................
มติ ก.พ.
.....................
..
มติ ก. กลาง
นโยบายของผู้บริหารท้ องถิน่
21
การลงโทษทางวินัย
22
การดาเนินการทางวินัย
การตั้งเรื่องกล่ าวหา ( การตั้งคณะกรรมการสอบสวน )
การสอบสวน
การพิจารณาความผิดและกาหนดโทษ
การลงโทษ
พักราชการ
ให้ ออกฯ ไว้ ก่อน
23
จุดมุ่งหมายของการลงโทษทางวินัย
1. รักษาความศักดิ์สิทธิ์ของ กม.
2. รักษามาตรฐานความประพฤติ ขวัญ และ
สมรรถภาพของพนักงาน
3. จูงใจให้ พนักงานปรับปรุงตนเองให้ ดขี นึ้
4. รักษาชื่อเสี ยงของราชการและความเชื่อมัน่
ของประชาชนต่ อราชการ
24
ข้ อควรคานึงในการลงโทษ
1. ผู้สั่งลงโทษต้ องเป็ น ผบ.
2. ผู้ถูกสั่ งลงโทษต้ องเป็ น ผตบ.
3. สภาพการเป็ นพนักงาน
4. อานาจการลงโทษ
5. ขั้นตอนการดาเนินการ
6. การสั่ งต้ องไม่ ย้อนหลัง
25
1. ผู้สั่งลงโทษ
(1) ผบ. ตามที่ กม. บัญญัติให้ อานาจไว้
- พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารงานบุคคลส่ วน
ท้ องถิ่น พ.ศ. 2542
- มาตรฐานทัว่ ไปเกีย่ วกับวินัยและการรักษาวินัย และ
การดาเนินการทางวินัย
26
2. ผู้ถูกสั่ งลงโทษต้ องเป็ น ผตบ.
พนักงานที่โอนย้ าย
ระหว่ างสอบสวน
27
3. สภาพการเป็ นพนักงาน
การสั่ งลงโทษจะมีผลใช้ บังคับได้ ต่อเมื่อ
พนักงานท้ องถิน่ ผู้น้ันยังมีสภาพเป็ นพนักงานอยู่
เว้ นแต่ เข้ าตามกรณี ข้ อ 24 ของ
มาตรฐานทั่วไปเกีย่ วกับวินัย
28
การลงโทษทางวินัยแก่ ผู้ทอี่ อกไปแล้ วทาได้ ในกรณี
1.
ถูกกล่ าวหาร้ ายแรงอยู่ก่อนออก
- เป็ นหนังสื อ
- ต่ อ ผบ. / ผู้มหี น้ าทีส่ ื บสวนสอบสวน
ตรวจสอบ/ หรือ ผบ.เป็ นผู้กล่ าวหา
2. ถูกฟ้ อง / ต้ องหาว่ ากระทาผิดอาญาอยู่ก่อน
เว้ นแต่ ความผิดทีไ่ ด้ กระทาโดยประมาททีไ่ ม่ เกีย่ วกับ
ราชการ / ความผิดลหุโทษ
29
ข้ อยกเว้ น ตามข้ อ 24
1. ตาย ดาเนินการไม่ ได้
2. โทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน
ลดขั้นเงินเดือน ให้ งดเสี ย
30
ไม่ ร้ายแรง
4. อานาจการสั่ งลงโทษ
ข้ อ 67 วรรคหนึ่ง “.....ให้ นายก.....สั่ งลงโทษภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือนตามควรแก่ กรณี....”
วรรคสาม “นายก.....มีอานาจลงโทษตัดเงินเดือน และ
ลดขั้นเงินเดือนข้ าราชการ......ตามวรรคหนึ่งได้ ดังนี้
(1) ตัดเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่ เกิน 5% และ
เป็ นเวลาไม่ เกิน 3 ดือน
(2) ลดขั้นเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่ เกินหนึ่งขั้น
(มาตรฐานทั่วไปเกีย่ วกับวินัยฯ ของ ก.จ.)
31
ร้ ายแรง
ข้ อ 68 วรรคหนึ่ง “ภายใต้ บังคับวรรคสองแห่ งข้ อนี้
ข้ าราชการ....กระทาผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง ให้ นายก....สั่ ง
ลงโทษปลดออกหรือไล่ ออกตามความร้ ายแรงแห่ งกรณี
ถ้ ามีเหตุอนั ควรลดหย่ อนจะนามาประกอบการพิจารณา
ลดโทษก็ได้ แต่ ห้ามมิให้ ลงโทษตา่ กว่ าปลดออก”
(มาตรฐานทั่วไปเกีย่ วกับวินัยฯ ของ ก.จ.)
32
5. ขั้นตอนการดาเนินการถูกต้ องหรือไม่
( ข้ อ 22 )
- วินัยอย่ างร้ ายแรง ต้ องแต่ งตั้ง คกส.
เว้ นแต่ ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ ง
- โทษร้ ายแรงต้ องนาเสนอต่ อ ก.
33
6. การสั่ งลงโทษต้ องไม่ ย้อนหลัง
หลัก สั่งลงโทษย้อนหลังไม่ได้
เว้ นแต่ เข้ าข้ อยกเว้ น
34
ข้ อยกเว้ นในการสั่ งลงโทษย้ อนหลัง
1. มีการเปลีย่ นแปลงโทษ
2. มีการสั่ งพัก/ให้ ออกจากราชการไว้ ก่อน
3. กรณีละทิง้ หน้ าทีร่ าชการ
35
1. กรณีมีการเปลีย่ นแปลงโทษ
ไม่ ร้ายแรง
ร้ ายแรง
ไม่ ร้ายแรง
ร้ ายแรง
เป็ นการลงโทษครั้งเดียว
36
2. กรณีมีการสั่ งพัก/ให้ ออกจากราชการไว้ ก่อน
เฉพาะโทษร้ ายแรงเท่ านั้น
3. กรณีละทิง้ หน้ าที่ราชการ
เฉพาะการละทิง้ ที่ไม่ กลับมาปฏิบัติ
ราชการอีกเลย
37
ลักษณะของคาสั่ งลงโทษ
ข้ อ 69 ...ให้ แสดงให้ ชัดเจนว่า ผู้ถูกลงโทษ
กระทาผิดวินัยโดยมีข้อเท็จจริง...พยานหลักฐาน และ
เหตุผล...อย่างไร เป็ นการกระทาผิดวินัยกรณีใด ตาม
ข้ อใด
... และระบุสิทธิในการอุทธรณ์ และระยะเวลา
สาหรับการอุทธรณ์ ไว้ ในคาสั่ งด้ วย ......
38
สานักมาตรฐานวินัย
สานักงาน ก.พ.
โทร. (02) 547 - 1631
โทรสาร (02) 547 - 1630