วินัยและการรักษาวินัย1

Download Report

Transcript วินัยและการรักษาวินัย1

วินัยและการรักษาวินัย
คาปรารภ ใน พ.ร.บ.ระเบียบข้ าราชการพลเรือน พ.ศ.2471
“โดยทีม่ พี ระราชประสงค์ จะทรงวางระเบียบข้ าราชการ
พลเรือนให้ เป็ นไปในทางเลือกสรรผู้มคี วามรู้ และ
ความสามารถเข้ ารับราชการเป็ นอาชีพ ไม่ มกี งั วลด้ วยการ
แสวงหาประโยชน์ ในทางอืน่ ส่ วนฝ่ ายข้ างราชการก็ให้ ได้ รับ
ประโยชน์ ยงิ่ ขึน้ เนื่องจากความสะพรั่งพร้ อมด้ วยข้ าราชการ
ซึ่งมีความสามารถและรอบรู้ ในวิถีและอุบายของราชการ
กับทั้งหน้ าทีแ่ ละวินัยอันตนรักษาเป็ นนิตยกาล”
ประกาศคณะกรรมการกลาง....
เรื่อง มาตรฐานทัว่ ไปเกีย่ วกับวินัยและการรักษาวินัย
หมวด 1 วินัยและการรักษาวินัย (ข้ อ 1-ข้ อ 20)
หมวด 2 การดาเนินการทางวินัย (ข้ อ 22-ข้ อ 26)
หมวด 3 การกระทาทีป่ รากฏชัดแจ้ ง (ข้ อ 27-ข้ อ 29)
หมวด 4 การสอบสวนพิจารณา (ข้ อ 30-ข้ อ 66)
หมวด 5 การลงโทษทางวินัย (ข้ อ 67-ข้ อ 69)
หมวด 6 การรายงานการดาเนินการทางวินัย
(ข้ อ 70-ข้ อ 72)
วินัย หมายความว่ า
1. ระเบียบแบบแผนและข้ อบังคับ,ข้ อปฏิบัติ
2. สิ กขาบทของพระสงฆ์
วินัยข้ าราชการพลเรือน หมายถึง
ระเบียบแบบแผนความประพฤติทบี่ ัญญัติไว้ ให้
ข้ าราชการปฏิบัตแิ ละห้ ามมิให้ ข้าราชการปฏิบัติ
เพือ่ ข้ าราชการใช้ ควบคุมตนเอง ผู้บังคับบัญชาใช้ ควบคุม
ผู้ใต้ บังคับบัญชา เพือ่ ให้ ข้าราชการมีความประพฤติดี
ละเว้ นความประพฤติมิชอบ
จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้ าราชการ
เพือ่ 1. ให้ ราชการดาเนินไปด้ วยดีมีประสิ ทธิภาพ
2. ความเจริญ ความสงบเรียบร้ อยของ
ประเทศชาติ
3. ความผาสุ กของประชาชน
4. ภาพพจน์ ชื่อเสี ยงที่ดขี องทางราชการ
หลักการวางระเบียบวินัยข้ าราชการพลเรือน
1. หลักการสร้ างสรรค์
2. หลักการลงโทษ
จุดมุ่งหมายของการลงโทษทางวินัย
1. เพือ่ ปราบปรามผู้กระทาผิดวินัย
2. เพือ่ หยุดยั้งผู้ที่คดิ จะกระทาผิดวินัย
3. เพือ่ รักษาเสถียรภาพและประสิ ทธิภาพในการบริหาร
การรักษาวินัย หมายถึง
การที่ข้าราชการพลเรือนปฏิบัติตามวินัยที่กาหนดไว้
และหมายความรวมถึงการทีผ่ ู้บังคับบัญชาจะต้ อง
ส่ งเสริมและดูแลระมัดระวังให้ ผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชา
ปฏิบัตติ ามวินัย และดาเนินการทางวินัยแก่ ผู้ที่
กระทาผิดวินัยด้ วย
อานาจหน้ าที่ของผู้บังคับบัญชาเกีย่ วกับวินัย (มาตรา 99)
1. เสริมสร้ างและพัฒนาให้ ผู้ใต้ บังคับบัญชามีวนิ ัย
2. ป้องกันมิให้ ผู้ใต้ บังคับบัญชากระทาผิดวินัย
3. ดาเนินการทางวินัยแก่ ผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชา
ผู้บังคับบัญชาผู้ใดละเลยไม่ ปฏิบตั ิตามมาตรานี้ และตามหมวด 5
หรือปฏิบัตหิ น้ าที่ดงั กล่ าวโดยไม่ สุจริต ให้ ถอื ว่ าผู้บังคับบัญชา
ผู้น้ันกระทาผิดวินัย
ผู้มหี น้ าทีร่ ักษาวินัย คือ
1. ข้ าราชการ (มาตรา 80) (ข้ อ 1)
2. ผู้บังคับบัญชา (มาตรา 99) (ข้ อ 20)
3. องค์ กรกลางบริหารงานบุคคล
วิธีการรักษาวินยั
1. วิธีการเสริมสร้างวินยั ข้าราชการ
1.1 การเลือกสรรและบรรจ ุแต่งตัง้ ข้าราชการ
1.2 การฝึกอบรมข้าราชการ
1.3 การป้องกันข้าราชการกระทาผิดวินยั
1.4 การสร้างกลไกการรักษาวินยั
- กลไกในทางควบค ุม
- กลไกในทางเสริมสร้าง
2. วิธีการควบค ุมให้ขา้ ราชการมีวินยั
โทษทางวินัยมี 5 สถาน
1.
2.
3.
4.
5.
ภาคทัณฑ์
ตัดเงินเดือน
ลดขั้นเงินเดือน
ปลดออก
ไล่ ออก
ความผิดวินัยอย่ างไม่ ร้ายแรง
ความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
1. วินัยต่ อประเทศชาติ
2. วินัยต่ อตาแหน่ งหน้ าที่ราชการ
3. วินัยต่ อผู้บังคับบัญชา
4. วินัยต่ อผู้ร่วมงาน
5. วินัยต่ อประชาชน
6. วินัยต่ อตนเอง
วินัยต่ อประเทศชาติ
- สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข (ม.81) (ข้ อ 2)
- สนใจและรับทราบเหตุการณ์ เคลือ่ นไหวอันอาจ
เป็ นภยันตรายต่ อประเทศชาติ (ม.86) (ข้ อ 7)
วินัยต่ อหน้ าที่ราชการ
1. ต้ องไม่ ทุจริตต่ อหน้ าทีร่ าชการ (ม.82) (ข้ อ 3)
2. ต้ องตั้งใจปฏิบัตหิ น้ าทีร่ าชการ (ม.83) (ข้ อ 4)
3. ต้ องไม่ ประมาทเลินเล่ อในหน้ าทีร่ าชการ (ม.84) (ข้ อ 5)
4. ต้ องปฏิบัติหน้ าทีใ่ ห้ เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ
มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายรัฐบาล (ม.85) (ข้ อ 6)
5. ต้ องรักษาความลับของทางราชการ (ม.87) (ข้ อ 8)
6. ต้ องปฏิบัติตามระเบียบ แบบธรรมเนียมของทางราชการ
และจรรยาบรรณที่ ก.พ.กาหนด (ม.91) (ข้ อ 12)
7. ต้ องอุทศิ เวลาให้ ราชการ ไม่ ทอดทิง้ และไม่ ละทิง้
หน้ าทีร่ าชการ (ม.92) (ข้ อ 13)
8. ต้ องไม่ หาประโยชน์ อนั อาจทาให้ เสี ยความเทีย่ งธรรม
(ม. 95) (ข้ อ 16)
9. ต้ องไม่ เป็ นกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ ในห้ างหุ้นส่ วน
หรือบริษัท (ม.96) (ข้ อ 17)
10. ต้ องวางตนเป็ นกลางทางการเมือง (ม.97) (ข้ อ 18)
วินัยต่ อผู้บังคับบัญชา
1. ต้ องปฏิบัตติ ามคาสั่ งผู้บังคับบัญชา (ม.88) (ข้ อ 9)
2. ต้ องไม่ กระทาการข้ ามผู้บังคับบัญชา (ม.89) (ข้ อ 10)
3. ต้ องไม่ รายงานเท็จต่ อผู้บังคับบัญชา (ม.90) (ข้ อ 11)
วินัยต่ อผู้ร่วมงาน (ม. 93) (ข้ อ 14)
วินัยต่ อประชาชน (ม.94) (ข้ อ 15)
วินัยต่ อตนเอง (ม.98) (ข้ อ 19)
การพิจารณาองค์ ประกอบความผิด
มาตรา 82 (ข้ อ 3) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องปฏิบัติหน้ าที่
ราชการด้ วยความซื่อสั ตย์ สุจริตและเทีย่ งธรรม
ห้ ามมิให้ อาศัยหรือยอมให้ ผ้ ูอนื่ อาศัยอานาจหน้ าทีร่ าชการ
ของตนไม่ ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้ อมหาประโยชน์ ให้ แก่
ตนเองหรือผู้อนื่
การปฏิบัติหรือละเว้ นการปฏิบัติหน้ าทีร่ าชการโดยมิชอบ
เพือ่ ให้ ตนเองหรือผู้อนื่ ได้ ประโยชน์ ทมี่ คิ วรได้ เป็ นการทุจริต
ต่ อหน้ าทีร่ าชการและเป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
มาตรา 82 (ข้ อ 3) มีองค์ ประกอบ ดังนี้
วรรคหนึ่ง 1. มีหน้ าที่ราชการ
2. ปฏิบัตหิ น้ าที่ราชการโดยไม่ ซื่อสั ตย์ สุจริต
และเทีย่ งธรรม
ซื่อสั ตย์ - ตรงไปตรงมา
- ไม่ คดโกง
- ไม่ หลอกลวง
สุ จริต - ปฏิบัติด้วยความมุ่งหมายที่ดที ี่ชอบตามทานองคลองธรรม
เที่ยงธรรม - ปฏิบัติโดยไม่ ลาเอียง
วรรคสอง
1. มีหน้ าทีร่ าชการ
2. อาศัยหรือยอมให้ ผ้ ูอนื่ อาศัยอานาจหน้ าที่
ราชการของตน
3. โดยทางตรงหรือทางอ้ อม
4. หาประโยชน์ ให้ แก่ ตนเองหรือผู้อนื่
วรรคสาม 1. มีหน้ าทีร่ าชการ
2. ปฏิบัตหิ รือละเว้ นการปฏิบัติหน้ าที่ราชการ
โดยมิชอบ
3. เพือ่ ให้ ตนเองหรือผู้อนื่ ได้ ประโยชน์ ทมี่ คิ วรได้
มิชอบ
ทุจริต
- ไม่ เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ คาสั่ งผู้บังคับบัญชา
มติคณะรัฐมนตรี แบบธรรมเนียมของทางราชการ
หรือทานองคลองธรรม
- แสวงหาประโยชน์ ที่มิควรได้ โดยชอบด้ วยกฎหมาย
สาหรับตนเองหรือผู้อนื่
“หน้ าทีร่ าชการ” ก.พ.มีแนวทางการพิจารณา ดังนี้
1.
2.
3.
4.
พิจารณาจากกฎหมาย หรือระเบียบ
มาตรฐานกาหนดตาแหน่ ง
พิจารณาจากคาสั่ งหรือการมอบหมายของผู้บังคับบัญชา
พฤตินัย
มาตรา 83 (ข้ อ 4)
ข้ าราชการพลเรือนสามัญ ต้ องตั้งใจ
ปฏิบัติหน้ าที่ให้ เกิดผลดีหรือความก้ าวหน้ าแก่
ราชการ
มาตรา 84 (ข้ อ 5)
ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องตั้งใจปฏิบัติ
หน้ าทีร่ าชการด้ วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ ระมัดระวัง
รักษาประโยชน์ ของทางราชการและต้ องไม่ ประมาท
เลินเล่ อในหน้ าที่ราชการ
การประมาทเลินเล่ อในหน้ าทีร่ าชการอันเป็ นเหตุ
ให้ เสี ยหายแก่ ราชการอย่ างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัย
อย่ างร้ ายแรง
มาตรา 84 (ข้ อ 5) องค์ ประกอบ
วรรคหนึ่ง 1. ไม่ ต้งั ใจปฏิบัตหิ น้ าทีร่ าชการด้ วยความ
อุตสาหะ
2. ไม่ ต้งั ใจปฏิบัตหิ น้ าทีร่ าชการด้ วยความเอาใจใส่
ระมัดระวังรักษาประโยชน์ ของทางราชการ
3. ประมาทเลินเล่ อในหน้ าทีร่ าชการ
วรรคสอง 1. ประมาทเลินเล่ อในหน้ าทีร่ าชการ
2. เป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่ ราชการอย่ างร้ ายแรง
ประมาท
- เลินเล่ อ เผลอ ลืมสติ
เลินเล่ อ
- ขาดความระมัดระวัง ไม่ รอบคอบ
ประมาทเลินเล่ อ
- ขาดความระมัดระวัง ไม่ รอบคอบ เผลอ หรือหลงลืม
กฎหมายอาญา “กระทาโดยประมาท” หมายถึง
กระทาความผิดโดยมิได้ เจตนา แต่ กระทาโดยปราศจาก
ความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่ นนั้นจักต้ องมีตาม
วิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ ความระมัดระวัง
เช่ นว่ านั้นได้ แต่ หาได้ ใช้ ให้ เพียงพอไม่
ความเสี ยหายแก่ราชการ
พิจารณาดังนี้
- ราคาทรัพย์ สิน
- ภาพพจน์ ชื่อเสี ยงของทางราชการ
- ความเชื่อถือของประชาชน
มาตรา 85 (ข้ อ 6) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องปฏิบัติหน้ าที่
ราชการให้ เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ
มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายของรัฐบาลโดยไม่ ให้ เสี ยหาย
แก่ ราชการ
การปฏิบัตหิ น้ าทีร่ าชการโดยจงใจไม่ ปฏิบัติตาม
กฎหมายระเบียบของทางราชการมติคณะรัฐมนตรี
และนโยบายของรัฐบาล อันเป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่ ราชการ
อย่ างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
มาตรา 85 (ข้ อ 6)
วรรคหนึ่ง ไม่ ต้งั ใจปฏิบัติหน้ าที่ราชการตาม
- กฎหมาย
- ระเบียบ
- มติคณะรัฐมนตรี
- นโยบายรัฐบาล
มาตรา 85 (ข้ อ 6) วรรคสอง จงใจไม่ ปฏิบัตติ าม
- กฎหมาย
- ระเบียบ
- มติคณะรัฐมนตรี
- นโยบายรัฐบาล
เป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่ ราชการอย่ างร้ ายแรง
- เจตนากระทา และประสงค์ ต่อผลหรือย่ อมเล็งเห็นผล
- เจตนากระทาโดยมิได้ ม่ ุงหมายจะให้ เสี ยหายหรือไม่ อาจ
เล็งเห็นผล
มาตรา 86 (ข้ อ 7) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ อง
ถือว่ าเป็ นหน้ าที่พเิ ศษที่จะสนใจรับทราบเหตุการณ์
เคลือ่ นไหวอันอาจเป็ นภยันตรายต่ อประเทศชาติ
และต้ องป้ องกันภยันตรายซึ่งจะบังเกิดแก่ ประเทศชาติ
จนเต็มความสามารถ
มาตรา 87 (ข้ อ 8) ข้ าราชการพลเรือนต้ องรักษาความลับของ
ทางราชการ
การเปิ ดเผยความลับของทางราชการ อันเป็ นเหตุ
ให้ เสี ยหายแก่ ราชการอย่ างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัย
อย่ างร้ ายแรง
ความลับของทางราชการ
- ลับทีส่ ุ ด
- ลับมาก
- ลับ
มาตรา 88 (ข้ อ 9) วรรคหนึ่ง ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ อง
ปฏิบัตติ ามคาสั่ งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่ งในหน้ าทีร่ าชการโดย
ชอบด้ วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการโดยไม่ ได้ ขัดขืน
หรือหลีกเลีย่ ง แต่ ถ้าเห็นว่ าการปฏิบัตติ ามคาสั่ งนั้น
จะทาให้ เสี ยหายแก่ ราชการ หรือจะเป็ นการไม่ รักษาประโยชน์
ของทางราชการ จะเสนอความเห็นเป็ นหนังสื อ ทันทีเพือ่ ให้
ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่ งนั้นก็ได้ และเมือ่ ได้ เสนอ
ความเห็นแล้ ว ถ้ าผู้บังคับบัญชายังยืนยันให้ ปฏิบัติตามคาสั่ ง
เดิม ผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชาต้ องปฏิบัตติ าม
มาตรา 88 (ข้ อ 9) วรรคสอง การขัดคาสั่ งหรือ
หลีกเลีย่ งไม่ ปฏิบัตติ ามคาสั่ งของผู้บังคับบัญชา
ซึ่ง สั่ งในหน้ าที่ราชการโดยชอบด้ วยกฎหมายและ
ระเบียบของทางราชการ อันเป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่
ราชการอย่ างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
มาตรา 88 (ข้ อ 9) วรรคหนึ่ง มีองค์ ประกอบดังนี้
1. มีคาสั่ งผู้บังคับบัญชา
2. ผู้สั่งเป็ นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย
- กฎหมายว่ าด้ วยระเบียบบริหารราชการแผ่ นดิน
- การมอบหมายตามมาตรา 43
3. สั่ งในหน้ าที่ราชการ
- ผู้สั่งมีหน้ าที่ราชการ
- สั่ งให้ ปฏิบัติราชการ
4. เป็ นคาสั่ งที่ชอบด้ วยกฎหมาย ระเบียบ
5. มีเจตนาไม่ ปฏิบัตติ ามคาสั่ ง
6. ขอให้ ผู้บังคับบัญชาทบทวนคาสั่ งได้
มาตรา 88 (ข้ อ 9) วรรคสอง มีองค์ ประกอบดังนี้
- ไม่ ปฏิบัตติ ามคาสั่ งของผู้บังคับบัญชา
- เป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่ ราชการอย่ างร้ ายแรง
หลักการพิจารณาคาสั่ ง
1. มีคาสั่ งของผู้บังคับบัญชา
2. ผู้สั่งเป็ นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย
3. สั่ งในหน้ าที่ราชการ
4. เป็ นคาสั่ งที่ชอบด้ วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ
5. มีเจตนาไม่ ปฏิบัตติ ามคาสั่ งนั้น
มาตรา 89 (ข้ อ 10) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องปฏิบัติ
ราชการโดยมิให้ เป็ นการกระทาข้ ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน
เว้ นแต่ ผู้บังคับบัญชาเหนือขึน้ ไปเป็ นผู้สั่งให้ กระทา หรือได้ รับ
อนุญาตเป็ นพิเศษชั่วครั้งคราว
องค์ ประกอบ
1. เป็ นการปฏิบัตริ าชการ
2. เป็ นการข้ ามผู้บงั คับบัญชา
3. เป็ นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย
ยกเว้ น 1. ผู้บังคับบัญชาเหนือขึน้ ไปสั่ งให้ กระทา
2. ได้ รับอนุญาตเป็ นพิเศษชั่วครั้งคราว
มาตรา 90 (ข้ อ 11) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องไม่ รายงานเท็จ
ต่ อผู้บังคับบัญชา การรายงานโดยปกปิ ดข้ อความซึ่งควรต้ องแจ้ ง
ถือว่ าเป็ นการรายงานเท็จด้ วย
การรายงานเท็จต่ อผู้บังคับบัญชา อันเป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่
ราชการอย่ างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
องค์ ประกอบ
1. มีการรายงาน
2. ข้ อความทีร่ ายงานเป็ นเท็จ หรือรายงานโดยปกปิ ดข้ อความ
ที่ควรต้ องแจ้ ง
3. เป็ นการรายงานต่ อผู้บังคับบัญชา
มาตรา 91 (ข้ อ 12) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องถือและ
ปฏิบัตติ ามระเบียบและแบบธรรมเนียมของทางราชการ
(และจรรยาบรรณของข้ าราชการพลเรือน ตามข้ อบังคับ
ทีก่ .พ.กาหนด)
องค์ ประกอบ ข้ าราชการต้ องถือและปฏิบัติตาม
- ระเบียบของทางราชการ
- แบบธรรมเนียมของทางราชการ
- จรรยาบรรณของข้ าราชการพลเรือนตามข้ อบังคับ
ที่ ก.พ.กาหนด
มาตรา 92 (ข้ อ 13) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องอุทิศเวลา
ของตนให้ แก่ ราชการ จะละทิง้ หรือทอดทิง้ หน้ าที่ราชการมิได้
การละทิง้ หรือทอดทิง้ หน้ าที่ราชการโดยไม่ มเี หตุผลอัน
สมควรเป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่ ราชการอย่ างร้ ายแรง หรือละทิง้
หน้ าที่ราชการติดต่ อในคราวเดียวกันเป็ นเวลาเกินกว่าสิ บห้ าวัน
โดยไม่ มีเหตุผลอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์ อนั แสดงถึง
ความจงใจไม่ ปฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการ เป็ นความผิด
วินัยอย่ างร้ ายแรง
มาตรา 92 (ข้ อ 13) วรรคหนึ่ง มีองค์ ประกอบดังนี้
- อุทศิ เวลาให้ ราชการ
- ไม่ ละทิง้ หรือทอดทิง้ หน้ าทีร่ าชการ
“ละทิง้ ” หมายความว่ า วาง ปล่ อย สละ เว้ น
หมายความรวมถึง ไม่ อยู่ปฏิบัตงิ านตามหน้ าที่
หรือมาลงชื่อปฏิบัตงิ านแล้ ว แต่ ละทิง้ หน้ าที่ออกไปทีอ่ นื่
“ทอดทิง้ ” หมายความว่ า ไม่ เอาธุระ ไม่ เอาใจใส่
เช่ น ลงชื่อมาทางาน ตัวอยู่ในทีท่ างานแต่ ไม่ ทางาน
งานคัง่ ค้ าง
มาตรา 92 (ข้ อ 13) วรรคสอง มีองค์ ประกอบดังนี้
เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
1. ละทิง้ หรือทอดทิง้ หน้ าทีร่ าชการ
- โดยไม่ มเี หตุผลอันสมควร
- เป็ นเหตุให้ เสี ยหายแก่ ราชการอย่ างร้ ายแรง
2. ละทิง้ หรือทอดทิง้ หน้ าทีร่ าชการติดต่ อกันเป็ นเวลา
เกินกว่ า 15 วัน
- โดยไม่ มเี หตุผลอันสมควร
หรือ - โดยมีพฤติการณ์ อนั แสดงถึงความจงใจไม่ ปฏิบัติ
ตามระเบียบของทางราชการ
มาตรา 93 (ข้ อ 14)
ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องสุ ภาพเรียบร้ อย
รักษาความสามัคคี และไม่ กระทาการอย่ างใดทีเ่ ป็ นการ
กลัน่ แกล้ งกัน และต้ องช่ วยเหลือกันในการปฏิบัตริ าชการ
ระหว่ างข้ าราชการด้ วยกันและผู้ร่วมปฏิบัตริ าชการ
มาตรา 94 (ข้ อ 15)
ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องต้ อนรับ ให้ ความสะดวก
ให้ ความเป็ นธรรม และให้ การสงเคราะห์ แก่ ประชาชนผู้มา
ติดต่ อราชการเกีย่ วกับหน้ าทีข่ องตนโดยไม่ ชักช้ า และด้ วย
ความสุ ภาพเรียบร้ อย ห้ ามมิให้ ดูหมิน่ เหยียดหยาม กดขี่
หรือข่ มเหงประชาชนผู้มาติดต่ อราชการ
การดูหมิน่ เหยียดหยาม กดขีห่ รือข่ มเหงประชาชน
ผู้มาติดต่ อราชการอย่ างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัยอย่ าง
ร้ ายแรง
มาตรา 94 (ข้ อ 15) วรรคหนึ่ง
- ต้ อนรับ
- ให้ ความสะดวก
- ให้ ความเป็ นธรรม
- ให้ การสงเคราะห์
ประชาชนผู้มาติดต่ อราชการ
เกีย่ วกับหน้ าที่ของตน
-โดยไม่ ชักช้ า
-ด้ วยความสุ ภาพเรียบร้ อย
-ห้ ามดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่หรือข่ มเหง
มาตรา 94 (ข้ อ 15) วรรคสอง มีองค์ ประกอบดังนี้
เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
1. กระทาในฐานะเป็ นข้ าราชการ
2. ผู้ถูกดูหมิน่ เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่ มเหง ต้ องอยู่ใน
ฐานะประชาชนผู้มาติดต่ อราชการ
3. เป็ นการดูหมิน่ เหยียดหยาม กดขี่ ข่ มเหงอย่ างร้ ายแรง
4. เจตนา หรือจงใจ
ดูหมิน่
ดูถูกว่ าไม่ ดจี ริง ไม่ เก่ งจริง
เหยียดหยาม
การกล่ าวถ้ อยคาหรือแสดงกิริยาอาการดูถูก หรือรังเกียจ
กดขี่
- ข่ มให้ อยู่ในอานาจ
- ใช้ อานาจบังคับเอา
- แสดงอานาจเอา
ข่ มเหง
- ใช้ กาลังรังแก
บริการประทับใจ
1.
2.
3.
4.
5.
ยิม้ แย้ มแจ่ มใส
เต็มใจช่ วยเหลือ
ไม่ เบื่อคาถาม
ฟังความครบถ้ วน
รีบด่ วนบริการ
6. อ่ อนหวานน่ ารัก
7. ไม่ สักแต่ ทา
8. นา้ คาไพเราะ
9. เหมาะสมสถานที่
10. ไม่ มนี อกใน
บริการยอดแย่
1.
2.
3.
4.
5.
ปากหมา
หน้ ายักษ์
ตักตวง
ถ่ วงเรื่อง
เชื่องช้ า
6. ล้ าสมัย
7. ไม่ แน่ ชัด
8. ปัดสวะ
9. ละเลย
10. เฉยชา
มาตรา 95 (ข้ อ 16)
ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องไม่ กระทาการหรือยอมให้ ผู้อนื่
กระทาการหาผลประโยชน์ อนั อาจทาให้ เสี ยความเที่ยงธรรมหรือ
เสื่ อมเสี ยเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ งหน้ าที่ราชการของตน
องค์ ประกอบ
1. กระทาหรือยอมให้ ผู้อนื่ กระทาการหาผลประโยชน์
2. อาจทาให้ เสี ย
- ความเที่ยงธรรม
- เสื่ อมเสี ยเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ งหน้ าที่ราชการ
เกียรติศักดิ์ของตาแหน่ งหน้ าที่
เกียรติศักดิ์ คือ ฐานะทีไ่ ด้ รับการสรรเสริญ
ตาแหน่ งหน้ าที่ อยู่ในฐานะอย่ างไร
- ครู
- ข้ าราชการ
- ฝ่ ายปกครอง
คานึงถึง ความรู้ สึกของ
- ประชาชน สั งคม
- ทางราชการ
มาตรา 96 (ข้ อ 17)
ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องไม่ เป็ นกรรมการผู้จัดการ
หรือผู้จัดการ หรือดารงตาแหน่ งอืน่ ใดทีม่ ลี กั ษณะงานคล้ ายคลึง
กันนั้นในห้ างหุ้นส่ วนหรือบริษทั
องค์ ประกอบ
ข้ าราชการต้ องไม่ เป็ น
-กรรมการผู้จัดการ
-ผู้จัดการ
-ดารงตาแหน่ งอืน่ ใดที่คล้ ายคลึงกัน
มาตรา 97 (ข้ อ 18) ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ องวางตนเป็ นกลาง
ทางการเมืองในการปฏิบัติหน้ าที่ราชการ และในการปฏิบัติการอืน่
ที่เกีย่ วข้ องกับประชาชน กับจะต้ องปฏิบัตติ ามระเบียบของ
ทางราชการว่ าด้ วยมารยาททางการเมืองของข้ าราชการด้ วย
องค์ ประกอบ
ข้ าราชการต้ อง
1. วางตนเป็ นกลางทางการเมืองในการปฏิบัตหิ น้ าที่ราชการ
และปฏิบัตกิ ารอืน่ ที่เกีย่ วข้ องกับประชาชน
2. ปฏิบัตติ ามระเบียบของทางราชการว่ าด้ วยมารยาททาง
การเมืองของข้ าราชการ
มาตรา 98 (ข้ อ 19)
วรรคหนึ่ง ข้ าราชการพลเรือนสามัญต้ อง
รักษาชื่อเสี ยงของตนและรักษาเกียรติศักดิ์ของ
ตาแหน่ งหน้ าที่ราชการของตนมิให้ เสื่ อมเสี ย
โดยไม่ กระทาการใดๆอันได้ ชื่อว่ าเป็ นผู้
ประพฤติชั่ว
มาตรา 98 (ข้ อ 19) วรรคสอง การกระทาผิด
อาญาจนได้ รับโทษจาคุกหรือโทษทีห่ นักกว่ าจาคุก
โดยคาพิพากษาถึงทีส่ ุ ดให้ จาคุก หรือให้ รับโทษ
หนักกว่ าจาคุก เว้ นแต่ เป็ นโทษสาหรับความผิดที่
ได้ กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ หรือ
กระทาการอืน่ ใดอันได้ ชื่อว่ าเป็ นผู้ประพฤติชั่ว
อย่ างร้ ายแรง เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
มาตรา 98 (ข้ อ 19) องค์ ประกอบ
วรรคหนึ่ง 1. ต้ องรักษาชื่อเสี ยงของตน
2. ต้ องรักษาเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ งหน้ าที่ราชการ
ของตนไม่ ให้ เสื่ อมเสี ย
3. ต้ องไม่ ประพฤติชั่ว
วรรคสอง เป็ นความผิดวินัยอย่ างร้ ายแรง
- กระทาผิดอาญาจนได้ รับโทษจาคุก
หรือโทษหนักกว่ าจาคุก
- กระทาการอืน่ ใดอันได้ ชื่อว่ า
เป็ นผู้ประพฤติชั่วอย่ างร้ ายแรง
แนวทางการพิจารณาเรื่องประพฤติชั่ว
1. เกียรติของข้ าราชการ พิจารณาโดยคานึงถึงตาแหน่ งหน้ าที่
ราชการประกอบพฤติการณ์ ในการกระทา
2. ความรู้ สึกของสั งคม พิจารณาโดยพิเคราะห์ ถงึ ความรู้ สึกของ
ประชาชนทั่วไป ตามขนบธรรมเนียมประเพณีและศีลธรรม
อันดี หรือตามธรรมเนียมของทางราชการว่ามีความรังเกียจ
ต่ อการกระทานั้นๆว่ าเป็ นความประพฤติชั่วเพียงใด หรือไม่
3. เจตนา พิจารณาโดยคานึงว่ า ผู้กระทารู้ สานึกในการกระทา
และประสงค์ ต่อผลหรือย่ อมเล็งเห็นผลของการกระทานั้น
หรือไม่
สาเหตุวนิ ัยเสื่ อม (สาเหตุภายนอก)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ความจาเป็ นในการครองชีพ
อบายมุข
ตัวอย่ างไม่ ดี
เหตุกระทบกระเทือนขวัญและกาลังใจ
งานล้ นมือ
โอกาสเปิ ดช่ องล่ อใจ
การปล่ อยปละละเลยของผู้บังคับบัญชา
สาเหตุทกี่ ระทาผิดวินัย (สาเหตุภายใน)
1.
2.
3.
4.
5.
ไม่ เข้ าใจ
ตามใจ
ไม่ ใส่ ใจ
ชะล่ าใจ
เผลอใจ
6. ล่ อใจ
7. ไม่ มจี ิตใจ
8. จาใจ
9. เจ็บใจ
10. ตั้งใจ
มูลกรณีทขี่ ้ าราชการจะถูกดาเนินการทางวินัย
1. มีผู้ร้องเรียนกล่ าวหา
2. มีบัตรสนเท่ ห์ระบุพยานหลักฐานหรือกรณีแวดล้ อมชัดแจ้ ง
และระบุพยานบุคคลแน่ นอน
3. เรื่องปรากฏเป็ นข่ าวทางสื่ อมวลชน
4. ส่ วนราชการหรือหน่ วยงานของรัฐแจ้ งเรื่องมา
5. ผู้บังคับบัญชาพบเห็นการกระทาผิดเอง
6. เรื่องปรากฏจากการสอบสวนทางวินัย (สอบสวนเรื่องหนึ่ง
แล้ วพบว่ าผิดเรื่องอืน่ ด้ วย)
ความผิดทางวินัย
1. ไม่ มอี ายุความ
2. การลงโทษต้ องดาเนินการตามกฎหมาย
3. ผู้สั่งลงโทษต้ องเป็ นผู้บังคับบัญชาทีม่ ี
อานาจลงโทษได้
4. มีสภาพเป็ นข้ าราชการ
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการท ุจริต พ.ศ.2542
มาตรา 88
เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้รบั คากล่าวหา
เจ้าหน้าที่ของรัฐตามมาตรา 84 หรือมีเหต ุอันควร
สงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผูใ้ ดกระทาความผิดฐาน
ท ุจริตต่อหน้าที่ กระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่
ราชการ หรือ…ให้ คณะกรรมการ ป.ป.ช
ดาเนินการตามหมวด 4 การไต่สวนข้อเท็จจริง
มาตรา 92 วรรคหนึ่ง
ในกรณีมีมลู ความผิดทางวินยั เมื่อคณะกรรมการ
ป.ป.ช.ได้พิจารณาพฤติการณ์แห่งการกระทา
ความผิดแล้วมีมติว่าผูถ้ ูกกล่าวหาผูใ้ ดได้กระทา
ความผิดวินยั ให้ประธานกรรมการส่งรายงานและ
เอกสารที่มีอยูพ
่ ร้อมทัง้ ความเห็นไปยังผูบ้ งั คับบัญชา
…ผูน้ นั้ เพื่อพิจารณาโทษทางวินยั ตามฐาน
(ต่อ)
(ต่อ)
ความผิดที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.ได้มีมติ
โดยไม่ตอ้ งแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนวินยั
อีก…ให้ถือว่ารายงานเอกสารและความเห็น
ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสานวนการ
สอบสวนทางวินยั ของคณะกรรการสอบสวน
วินยั ตามกฎหมายหรือระเบียบหรือข้อบังคับ
ว่าด้วยการบริหารงานบ ุคคลของผูถ้ ูกกล่าวหา
นัน้ ๆ แล้วแต่กรณี
มาตรา 93
เมื่อได้รบั รายงานตามมาตรา 92 วรรคหนึ่ง…
แล้ว ให้ผบ้ ู งั คับบัญชา…พิจารณาลงโทษภายใน
สามสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั เรือ่ ง และให้ผบ้ ู งั คับบัญชา
…ส่งสาเนาคาสัง่ ลงโทษดังกล่าวไปให้คณะกรรมการ
ป.ป.ช.ทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ที่ได้ออกคาสัง่
พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลปกครอง
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542
มาตรา 9 วรรคหนึ่ง
ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาหรือมีคาสัง่
ในเรือ่ งดังต่อไปนี้
(1) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการ
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่ว่าจะเป็นการออก
กฎ คาสัง่ หรือการกระทาอื่นใดเนื่องจากกระทา
(ต่อ)
(ต่อ)
โดยไม่มีอานาจ หรือนอกเหนืออานาจหน้าที่
หรือไม่ถ ูกต้องตามกฎหมายหรือโดยไม่ถ ูกต้อง
ตามร ูปแบบ ขัน้ ตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระ
สาคัญที่กาหนดไว้สาหรับการกระทานัน้ หรือ
โดยไม่ส ุจริต หรือมีลกั ษณะเป็นการสร้าง
ขัน้ ตอนโดยไม่จาเป็น หรือสร้างภาระให้เกิดกับ
ประชาชนเกินสมควร หรือเป็นการใช้ด ุลพินิจ
โดยมิชอบ
(ต่อ)
(2) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทาง
ปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่
ตามที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ หรือ
ปฏิบตั ิหน้าที่ดงั กล่าวล่าช้าเกินสมควร
(ต่อ)
(3) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทาละเมิด
หรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทาง
ปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจาก
การใช้อานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ
คาสัง่ ทางปกครอง หรือคาสัง่ อื่น หรือจาก
การละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดให้
ต้องปฏิบตั ิ หรือปฏิบตั ิหน้าทีดงั กล่าวล่าช้า
เกินสมควร
(ต่อ)
มาตรา 42 ผูใ้ ดได้รบั ความเดือดร้อนหรือ
เสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหาย
โดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้เนื่องจากการกระทา
หรืองดเว้นการกระทาของหน่วยงานทาง
ปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ…หรือกรณี
อื่นใดที่อยูใ่ นเขตอานาจศาลปกครองตาม
มาตรา 9…ผูน้ นั้ มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
(ต่อ)
(ต่อ)
ในกรณีที่มีกฎหมายกาหนดขัน้ ตอนหรือ
วิธีการสาหรับการแก้ไขความเดือดร้อนหรือ
เสียหายในเรือ่ งใดไว้โดยเฉพาะ การฟ้อง
คดีปกครองในเรือ่ งนัน้ จะกระทาได้ต่อเมื่อมีการ
ดาเนินการตามขัน้ ตอนและวิธีการดังกล่าว
และเมื่อได้มีการสัง่ การตามกฎหมายนัน้ หรือ
มิได้มีการสัง่ การภายในเวลาอันสมควร
หรือภายในเวลาที่กฎหมายนัน้ กาหนด
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ
ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2542
มาตรา 19 วรรคหนึ่ง เพื่อให้ระบบการควบค ุม
การตรวจสอบการเงินแผ่นดินเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและมีวินยั ให้มีคณะกรรมการวินยั
ทางงบประมาณและการคลังคณะหนึ่ง…มีอานาจ
หน้าที่พิจารณาและกาหนดโทษปรับทางปกครอง
เบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่…ของหน่วยรับตรวจที่ฝ่าฝืน
มาตรการเกี่ยวกับการควบค ุมการเงินของรัฐที่
คณะกรรมการกาหนด
มาตรา 25
การวินิจฉัยลงโทษทางวินยั ทางงบประมาณ
และการคลังไม่เป็นการตัดอานาจของผูบ้ งั คับบัญชา
ของผูถ้ ูกลงโทษทางวินยั ในฐานะที่เป็นผูร้ บั ผิดชอบ
การบริหารของหน่วยรับตรวจที่จะพิจารณาลงโทษ
ทางวินยั เพราะเหต ุเดียวกันนี้อีก แต่โทษดังกล่าว
จะต้องเป็นโทษสถานอื่นซึ่งมิใช่เป็นโทษตัดเงินเดือน
หรือลดขัน้ เงินเดือน
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ว่าด้วยวินยั ทางงบประมาณและการคลัง
พ.ศ.2544
ข้อ 3 ในระเบียบนี้
…ฯลฯ…
“โทษปรับทางปกครอง” หมายความว่า
โทษปรับโดยการหักเงินเดือนหรือค่าจ้าง
หรือการเรียกให้ชาระเงินตามอัตราที่กาหนด
ในระเบียบนี้
ข้อ 5 เจ้าหน้าที่ผใ้ ู ดจงใจฝ่าฝืนมาตรการ
เกี่ยวกับการเงินของรัฐ ตามที่กาหนด
ในหมวด 2 นี้ ถือว่ากระทาผิดวินยั ทาง
งบประมาณและการคลัง ต้องรับโทษทาง
ปกครองตามระเบียบนี้
ข้อ 9 ความผิดวินยั ทางงบประมาณและการคลัง
มีอตั ราโทษปรับทางปกครอง 4 ชัน้ ดังต่อไปนี้
(1) โทษชัน้ ที่ 1 โทษปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน
(2) โทษชัน้ ที่ 2 โทษปรับเท่ากับเงินเดือนตัง้ แต่ 2 - 4 เดือน
(3) โทษชัน้ ที่ 3 โทษปรับเท่ากับเงินเดือนตัง้ แต่ 5 - 8 เดือน
(4) โทษชัน้ ที่ 4 โทษปรับเท่ากับเงินเดือนตัง้ แต่ 9 - 12 เดือน
ขอบค ุณ
ค่ะ
สานักมาตรฐานวินัย
สานักงาน ก.พ.
โทร. 02-5471631
www.ocsc.go.th