พรบ ละเมิด - กระทรวงสาธารณสุข

Download Report

Transcript พรบ ละเมิด - กระทรวงสาธารณสุข

กล่ มุ เสริมสร้ างวินัยและ
ระบบคุณธรรม
มาตรา ๔๒๐ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทาต่ อบุคคลอืน่ โดย
ผิดกฎหมาย ให้ เขาเสี ยหายถึงแก่ชีวติ ก็ดี แก่ร่างกายก็ดี
อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์ สินหรือสิ ทธิอย่ างหนึ่ง
อย่ างใดก็ดี ท่ านว่ า ผู้น้ันทาละเมิด จาต้ องใช้ ค่าสิ นไหม
ทดแทนเพือ่ การนั้น
หลักเกณฑ์ ของการกระทาละเมิด
- ผู้ใดทาต่ อบุคคลอืน่ โดยผิดกฎหมาย
- กระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
- ทาให้ เขาเสี ยหาย
จงใจ หมายถึง จงใจให้ เขาเสี ยหาย
กระทาโดยประมาทเลินเล่อ หมายถึง กระทาโดย
ปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่ นนั้นจัก
ต้ องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทาอาจใช้ ความ
ระมัดระวังเช่ นว่ านั้นได้ แต่ หาได้ ใช้ เพียงพอไม่
วิสัย หมายความถึง สภาพเกีย่ วกับตัวผู้กระทา
เช่ น เป็ นเจ้ าหน้ าทีธ่ รรมดาหรือผู้เชี่ยวชาญ
พฤติการณ์ หมายความถึง เหตุภายนอกตัวผู้กระทา
ซึ่งอาจทาให้ การใช้ ความระมัดระวังมีความแตกต่ างกัน
ไปได้ เช่ น สภาพของสถานที่ทางานของเจ้ าหน้ าที่
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
๑. มีลกั ษณะไปในทางที่บคุ คลนัน้ ได้กระทาไป
โดยขาดความระมัดระวัง
๒. ที่เบีย่ งเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก เช่น
พึงคาดเห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้
หรือ หากระมัดระวังสักเล็กน้อยก็คงคาดเห็นการอันอาจ
เกิดความเสียหายเช่นนัน้
กรณีการกระทาที่ไม่ เป็ นการทาละเมิด
- เจ้ าหน้ าทีก่ ระทาการโดยชอบด้ วยกฎหมายหรือระเบียบ
แม้ จะเกิดความเสี ยหายแก่ บุคคลอืน่
- เจ้ าหน้ าทีก่ ระทาการโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมายหรือระเบียบ
แต่ ไม่ ก่อให้ เกิดความเสี ยหายแก่ บุคคลใด
- เจ้ าหน้ าทีก่ ระทาการโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมายหรือระเบียบ
และเกิดความเสี ยหายแก่ บุคคลอืน่ แต่ ความเสี ยหายดังกล่ าวไม่ ได้
เป็ นผลโดยตรงจากการกระทาโดยไม่ ชอบด้ วยกฎหมายนั้น
พระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
พ.ศ. ๒๕๓๙
• คานิยามทีส่ าคัญ
- เจ้ าหน้ าที่
- หน่ วยงานของรัฐ
• ความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่
- การทาละเมิดต่ อเอกชน (บุคคลภายนอก)
- การทาละเมิดต่ อหน่ วยงานของรัฐ
กรณีละเมิดในการปฏิบตั ิหน้าที่-รัฐเสียหาย
๑. รถราชการเสียหาย/สูญหาย
รถควา่ (ไม่มีค่กู รณี)/ รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม
๒. ทรัพย์สนิ ราชการ ชารุดเสียหาย/ถูกโจรกรรม
๓. ทุจริตยักยอกเงินของทางราชการ
๔. เพลิงไหม้
๕. การจัดซื้อ/จัดจ้าง
9
การทาละเมิดต่ อเอกชน / บุคคลภายนอก
• ความรับผิดทางละเมิดของหน่ วยงานของรัฐ
- กรณีเจ้ าหน้ าทีก่ ระทาในการปฏิบัติหน้ าที่
- หน่ วยงานของรัฐรับผิด/ถูกฟ้ องแทนเจ้ าหน้ าที่
- ฟ้องกระทรวงการคลัง (ม.๕)
- กรณีเจ้ าหน้ าทีก่ ระทานอกเหนือการปฏิบัติหน้ าที่
- หน่ วยงานของรัฐไม่ ต้องรับผิด/ถูกฟ้ อง (ม.๖)
การทาละเมิดต่ อเอกชน /
บุคคลภายนอก (ต่ อ)
• สิ ทธิการดาเนินคดีของผู้เสี ยหาย
- ฟ้องหน่ วยงานของรัฐ
(ฟ้องเจ้ าหน้ าที่ไม่ ได้ แต่ ศาลอาจรับฟ้ องแล้ วยกฟ้องทีหลัง)
- ฟ้องผิด ฟ้องใหม่ ได้ ภายใน ๖ เดือน
- อายุความการใช้ สิทธิ ๑ ปี / ๑๐ ปี
(ป.พ.พ. ม.๔๔๘)
การทาละเมิดต่ อเอกชน /
บุคคลภายนอก (ต่ อ)
• การร้ องขอให้ ชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
- ผู้เสี ยหาย ตาม ม.๕
- หน่ วยงานของรัฐ
- ออกใบรับคาขอเป็ นหลักฐาน
- พิจารณาภายใน ๑๘๐ วัน
- ขยายไม่ เกิน ๑๘๐ วัน (รายงาน ร.ม.ต.)
การทาละเมิดต่ อเอกชน /
บุคคลภายนอก (ต่ อ)
• สิ ทธิไล่เบีย้ ของหน่ วยงานของรัฐ
- เจ้ าหน้ าที่ กระทาโดยจงใจ / ประมาทเลินเล่ อ อย่ างร้ ายแรง
(ม.๘ ว ๑)
- คานึงถึงความร้ ายแรงแห่ งการกระทา และความเป็ นธรรม
(ม.๘ ว ๒)
- หักส่ วนความเสี ยหาย (ม.๘ ว๓)
- ไม่ นาหลักเรื่องลูกหนีร้ ่ วมมาใช้ บงั คับ (ม.๘ ว ๔)
การทาละเมิดต่ อเอกชน /
บุคคลภายนอก (ต่ อ)
หน่ วยงานของรัฐ / เจ้ าหน้ าที่
ชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนให้ แก่ ผ้ ูเสี ยหาย
อายุความการใช้ สิทธิไล่ เบีย้ (ม.๙)
- ๑ ปี นับแต่ วนั ชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
การกระทาละเมิดต่ อหน่ วยงานของรัฐ
• กรณีเจ้ าหน้ าทีก่ ระทาในการปฏิบัติหน้ าที่
- บังคับตาม ม.๘ โดยอนุโลม
• กรณีเจ้ าหน้ าทีก่ ระทา มิใช่ การปฏิบัติหน้ าที่
- บังคับตาม ป.พ.พ
- กระทาประมาทเลินเล่ อ
- รับผิดลักษณะลูกหนีร้ ่ วมได้
การกระทาละเมิดต่ อหน่ วยงานของรัฐ
(ต่ อ)
• อายุความการเรียกชดใช้ ค่าเสียหาย
- ๒ ปี นับแต่ วนั ทีห่ น่ วยงานของรัฐ รู้ ถงึ การละเมิดและรู้ ตวั
เจ้ าหน้ าทีผ่ ้ ูจะพึงต้ องชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
(ปฏิบัติหน้ าที+่ ไม่ ได้ ปฏิบัติหน้ าที่)
- ๑ ปี นับแต่ วนั ที่หน่ วยงานของรัฐมีคาสั่ งตามความเห็น
กระทรวงการคลัง
การเรียกให้ เจ้ าหน้ าที่
ชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
• ออกคาสั่ งเรียกให้ ชดใช้ (คาสั่ งทางปกครอง)
- กรณีเจ้ าหน้ าที่ปฏิบัตหิ น้ าที่
- ละเมิดต่ อเอกชน/บุคคลภายนอก (ม.๘)
- ละเมิดต่ อหน่ วยงานของรัฐ (ม.๑๐ + ม.๘)
อุทธรณ์ คาสั่ งทางปกครอง
• ใช้ มาตรการทางปกครอง
(พ.ร.บ.วิ ปกครอง ม.๕๗- ยึด/อายัดทรัพย์ สิน)
•
ตารางแสดงขั้นตอนดาเนินการตามพระราชบัญญัตคิ วามรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ และระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ การปฏิบัติเกีย่ วกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้ าหน้ าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
๑.
เกิดความเสียหาย
รายงาน
กรณีเห็นว่ า ความเสียหายมิได้ เกิดจากการกระทาของเจ้ าหน้ าที่ ต้ องรายงานผู้บังคับบัญชาเพือ่
พิจารณาว่ าสมควรตั้งคณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหรือไม่ (ข้ อ ๑๒)
หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐ(แต่ งตั้งคณะ
กรรมการสอบข้ อเท็จจริงเบือ้ งต้ น)
กรณีเห็นว่ า ความเสียหายเกิดจากการกระทาของเจ้ าหน้ าที่ ก็ให้ ต้งั
คณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
ไม่ ได้ ปฏิบัตหิ น้ าที่
๒.
คณะกรรมการสอบข้ อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
ปฏิบัตหิ น้ าที่
รับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์
จงใจหรือประมาทเลินเล่ ออย่ างร้ ายแรง
ประมาทเลินเล่ อ
๓.
รับผิดตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ
ไม่ ต้องรับผิด
มีผ้รู ับผิดหรือไม่
ผู้แต่ งตั้งวินิจฉัยสั่งการ
ส่ งสานวนการสอบสวนให้ กระทรวงการคลังภายใน ๗ วัน นับแต่ วนั วินิจฉัยสั่งการ
จานวนเท่ าใด
๔.
ส่ วนราชการต้ องพิจารณาให้ แล้ วเสร็จก่ อนอายุความ ๒ ปี สิ้นสุ ดลงไม่ น้อยกว่ า ๖ เดือน
กระทรวงการคลัง
คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง
ส่ วนท้ องถิ่นและรัฐวิสาหกิจต้ องพิจารณาให้ แล้ วเสร็จก่ อนอายุความ ๒ ปี สิ้นสุ ดลงไม่ น้อยกว่ า ๑ ปี
หน่ วยงานของรัฐมีคาสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง
หน่ วยงานของรัฐประเภทราชการส่ วนท้ องถิ่น รัฐวิสาหกิจ มีคาสั่งตามทีเ่ ห็นว่ าถูกต้ อง
กรณีปฏิบัตหิ น้ าที่ ออกคาสั่งทางปกครอง
๕.
หน่ วยงานของรัฐ
ผู้ต้องรับผิด
กรณีไม่ ใช่ ปฏิบัตหิ น้ าที่ ฟ้องคดีต่อศาล
ภายในอายุความ ๒ ปี
ผู้ต้องรับผิดไม่ พอใจคาสั่ง
ให้ ฟ้องศาลปกครอง
สรุปสาระสาคัญของกฎหมายฉบับนี้
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ มีดงั นี้
๑. เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ/บุคคลภายนอก
๒. โดยเกิดจากการกระทาละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั หิ น้าที่
๓. จะต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน คือ
(๑) เจ้าหน้าที่ตอ้ งรับผิดต่อหน่วยงานงานของรัฐ
- กรณีกระทาโดย จงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
(๒) หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอก
- บุคคลภายนอก อาจฟ้ องหน่วยงานฯได้
แต่ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
- เจ้าหน้าที่จะถูกไล่เบี้ย เฉพาะกรณีท่ีเจ้าหน้าที่กระทา
โดยจงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ผลดีของกฎหมาย
๑. เพือ่ คุม้ ครองเจ้าหน้าที่ ที่ได้กระทาละเมิด
ในการปฏิบตั ิหน้าที่
๒. เพือ่ เยียวยาความเสียหายให้แก่ผูเ้ สียหาย
จากการทาละเมิดของ จนท. อย่างเป็ นธรรม
และรวดเร็ว
20
นายเกตุแก้ว แก้วใส ตาแหน่ งนิตกิ รชานาญการ
กลุ่มเสริ มสร้างวินัยและระบบคุณธรรม
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุ ข
อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 (อาคาร 6 ชั้น 2)
e-mail : [email protected]
โทร. 02-5901314, 5901417,
มือถือ 085-6676555