เทคนิคการตรวจสอบภายใน - Link สำนักงานคลังจังหวัด

Download Report

Transcript เทคนิคการตรวจสอบภายใน - Link สำนักงานคลังจังหวัด

การตรวจสอบภายในภาคราชการ
ณ สานักงานคลังเขต 3
จังหวัดนครราชสี มา
24 มิถุนายน 2553
นางบุญญสรณ์ บุญโสม
หัวหน้ าหน่ วยตรวจสอบภายในจังหวัดอุบลราชธานี
ความสาคัญและความเป็ นมา
ของงานตรวจสอบภายใน
• งานตรวจสอบภายในมีความสาคัญและจาเป็ นสาหรับการบริหารองค์ กร
ในปัจจุบัน โดยถือเป็ นเครื่องมือของผู้บริหารในการบริหารงานอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และประหยัด
• สร้ างความมั่นใจว่ าการดาเนินงานจาบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายที่
วางไว้ โดยการสอบทานและประเมินกิจกรรม รวมทั้งเสนอแนะแนวทาง
ปรับปรุงพัฒนางาน
• เป็ นกลไกสาคัญต่ อการเสริมสร้ างธรรมาภิบาล และป้องกันการทุจริต
และประพฤติมิชอบในภาคราชการ
ความเป็ นมา
• งานตรวจสอบภายในภาคราชการได้เริ่ มมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2505 ตาม
ระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2505 ให้มีการตรวจสอบการเบิก
จ่ายเงิน รวมทั้งการก่อหนี้ผกู พัน
• ระเบียบรับจ่าย การเก็บรักษา และการนาส่ งเงินของส่ วนราชการ
พ.ศ.2516 ให้แต่งตั้งข้าราชการอย่างน้อย 1 คน เป็ นผูต้ รวจสอบภายใน
ของส่ วนราชการส่ วนภูมิภาคในจังหวัด
• มติ ครม.ปี 2519 กาหนดให้ส่วนราชการที่เป็ นกระทรวง ทบวง กรม
รวมถึงจังหวัดมีตาแหน่ง และอัตรากาลังเพื่อทาหน้าทีต่ รวจสอบภายใน
ของส่ วนราชการ หรื อของจังหวัดโดยเฉพาะ
ความเป็ นมา
• ระเบียบกระทรวงการคลังว่ าด้ วยการตรวจสอบภายใน พ.ศ.2532,
2542 และ 2551 ได้ กาหนดเกีย่ วกับงานตรวจสอบภายในของส่ วน
ราชการให้ ครอบคลุมครบถ้ วน
ระเบียบกระทรวงการคลังว่ าด้ วยการตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2551
• สร้ างการตรวจสอบภายในให้ เป็ นกิจกรรมให้ ความเชื่อมั่น และการให้
คาปรึกษาอย่ างเที่ยงธรรมและเป็ นอิสระ ซึ่งจัดให้ มีขึน้ เพือ่ เพิม่ คุณค่ า
และปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่ วนราชการให้ ดีขนึ้ การตรวจสอบ
ภายใน จะช่ วยให้ ส่วนราชการบรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่
กาหนดไว้ ด้วยการประเมิน และปรับปรุงประสิ ทธิผลของกระบวนการ
บริหารความเสี่ ยง การควบคุมและการกากับดูแลอย่ างเป็ นระบบ
รวมทั้ง
ระเบียบกระทรวงการคลังว่ าด้ วยการตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2551
•
•
•
สอบทานการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน และ/หรือกฎหมาย ระเบียบ
ข้ อบังคับ คาสั่ งทีท่ างราชการกาหนด เพือ่ ให้ มั่นใจได้ ว่าสามารถ
ประเมินความมีประสิ ทธิผลของการดาเนินงานในหน้ าทีข่ องหน่ วยรับ
ตรวจ เสนอแนะการปรับปรุงการบริหารความเสี่ ยง การควบคุมและ
การกากับดูแลอย่ างต่ อเนื่อง
นาไปสู่ การปฏิบัติงานทีต่ รงตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และ
สอดคล้องกับนโยบายของส่ วนราชการ
สอบทานความถูกต้ อง และเชื่อถือได้ ของข้ อมูลการดาเนินงานและ
การเงินการคลัง
ระเบียบกระทรวงการคลังว่ าด้ วยการตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2551
•
•
•
ตรวจสอบระบบการดูแลรักษา และความปลอดภัยของทรัพย์ สินของ
หน่ วยรับตรวจ ให้ มีความเหมาะสมกับประเภทของทรัพย์ สินนั้น
ประเมินผลการดาเนินการเกีย่ วกับการเงิน การคลังของส่ วนราชการ
วิเคราะห์ และประเมินความมีประสิ ทธิภาพ ประหยัดและคุ้มค่ าในการ
ใช้ ทรัพยากร
ระเบียบกระทรวงการคลังว่ าด้ วยการตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2551 กาหนดหน้ าทีห่ น่ วยรับตรวจ
•
•
•
อานวยความสะดวกและให้ ความร่ วมมือแก่ผ้ตู รวจสอบภายใน
จัดให้ มีระบบการเก็บเอกสารในการปฏิบัติงานทีเ่ หมาะสมและ
ครบถ้ วน
จัดเตรียมรายละเอียดแผนงาน/โครงการ ตลอดจนเอกสารที่เกีย่ วข้ อง
ในการปฏิบัติงาน เพือ่ ประโยชน์ ในการตรวจสอบ
ระเบียบกระทรวงการคลังว่ าด้ วยการตรวจสอบภายใน
พ.ศ. 2551 กาหนดหน้ าทีห่ น่ วยรับตรวจ
•
•
•
จัดทาบัญชีและจัดเก็บเอกสารประกอบรายการบัญชี พร้ อมที่จะให้ ผู้
ตรวจสอบภายในตรวจสอบได้
ชี้แจงและตอบข้ อซักถามต่ าง ๆ พร้ อมทั้งหาข้ อมูลเพิม่ เติมให้ แก่ผู้
ตรวจสอบภายใน
ปฏิบัติตามข้ อทักท้ วงและข้ อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายในเรื่อง
ต่ าง ๆ ทีห่ ัวหน้ าส่ วนราชการสั่ งให้ ปฏิบัติ
หลักการ กระบวนการสร้ างคุณค่ าของการตรวจสอบภายในขั้นพืน้ ฐาน
ความหมาย
• การตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบตัวเลข การบวก ลบ คุณ หาร การ
ตรวจสอบการทางานของพนักงาน หรื อหมายความไปถึงการประเมินค่า
การปฏิบตั ิงานด้านต่างๆ ของหน่วยงานทุกระดับ
• ภายใน หมายถึง ขอบเขต กิจกรรมที่ตรวจสอบ ซึ่งเป็ นกิจกรรมทีเ่ กิดขึ้น
ภายในขององค์กร และ/หรื อกระทาโดยพนักงานภายในองค์กรนั้นเอง
สถาบันวิชาชีพ
สมาคมผู้ตรวจสอบภายในของประเทศสหรัฐอเมริกา
(The Institute of Internal Auditors: IIA)
การตรวจสอบภายใน คือ กิจกรรมการให้หลักประกัน และการให้
คาปรึ กษาอย่างเป็ นอิสระ และเที่ยงธรรม ซึ่งจัดให้มีข้ ึนเพื่อเพิ่มคุณค่า
และปรับปรุ งการดาเนินงานขององค์กรให้ดีข้ ึน
(Internal auditing is an independent, objective assurance and
consulting activity designd to add value and immprove an
organization s operations)
สถาบันกากับดูแล
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การตรวจสอบภายในภาครัฐ เป็ นกิจกรรมที่ให้หลักประกันอย่างเทีย่ ง
ธรรม และบริ การให้คาปรึ กษาอย่างอิสระ เพื่อสร้างคุณค่าและปรับปรุ ง
ระบบการดาเนินงานของส่ วนราชการ
การประเมินระบบการควบคุมภายใน
(Assessing Internal Control)
• หมายถึง การประเมินการกระทาใดๆ ก็ตามที่ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ
บริ หาร และบุคคลอื่นได้กะทาลงไปเพื่อส่ งเสริ มการบริ หารความเสี่ ยง
และเพิ่มโอกาสในการบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ให้ได้
สาเร็ จ ลักษณะของงานตรวจสอบภายในกับการควบคุมภายใน แบ่งเป็ น
2 ประเภท ได้แก่
1. การประเมินความเพียงพอและความมีประสิ ทธิผลของการควบคุม
2. การตรวจสอบเพื่อความมัน่ ใจ
การประเมินความเพียงพอและความมีประสิ ทธิผลของการควบคุม
ประเมินทุกด้ าน ไม่ ว่าจะเป็ นด้ านการกากับดูแล ด้ านการดาเนินงาน และ
ด้ านระบบสารสนเทศ โดยคานึงถึงเรื่องทีส่ าคัญ ดังต่ อไปนี้
• ความเชื่อถือได้ และความถูกต้ องครบถ้ วน ของสารสนเทศด้ านการเงิน และการ
ดาเนินงาน
• ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของการดาเนินงาน
• การป้องกันและรักษาทรัพย์สิน
• การปฏิบัตติ ามกฎหมาย ระเบียบข้ อบังคับ และสั ญญาข้ อตกลงต่ างๆ
การตรวจสอบเพือ่ ความมั่นใจ
การตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่า ฝ่ ายบริ หารได้กาหนดหลักเกณฑ์หรื อ
บรรทัดฐานอย่างเพียงพอ เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์และ
เป้ าหมายที่วางไว้ ซึ่งผูต้ รวจสอบภายในจะใช้หลักเกณฑ์ดงั กล่าวในการ
ประเมินผล แต่ถา้ หลักเกณฑ์ที่มีอยูไ่ ม่เพียงพอ ควรหารื อกับฝ่ ายบริ หาร
และผูร้ ับผิดชอบเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมต่อไป
เทคนิคที่ใช้ ในการประเมิน
•
•
•
•
การตรวจสอบหลักฐาน (Examination Evidece)
การปฏิบัติซ้า (Re-Performace)
การสั งเกตการณ์ (Observation)
การสอบถาม (Inquiry)
การประเมินระบบการควบคุมภายในโดยการสอบทานระบบการ
ควบคุมภายในของส่ วนราชการ
คตง.ได้ จัดให้ มีระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่ าด้ วยการกาหนดมาตรฐาน
การควบคุมภายใน พ.ศ.2544 กาหนดให้ หน่ วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุม
ภายใน ทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานสากลของ The Committee of Sponsering
Organizations of the Treadway Commission: COSO โดยให้ ความสาคัญใน
5 เรื่อง ได้ แก่
• สภาพแวดล้ อมการควบคุม (Internal Enviranment )
• การประเมินความเสี่ ยง ( Risk Assessment )
• กิจกรรมการควบคุม (control Activities)
• สารสนเทศและการสื่ อสาร (Information and Communication)
• การติดตามและประเมินผล (Monitoring)
บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายในต่ อการควบคุมภายใน
• ดารงไว้ ซึ่งความเป็ นอิสระจากกิจกรรมทีต่ นเองตรวจสอบ
• ทาให้ มนั่ ใจในความรู้ความสามารถในวิชาชีพและความรับผิดชอบด้ านจริยธรรมของผู้
ตรวจสอบ
• เสนอแนะผู้บริหารในส่ วนทีม่ คี วามเสี่ ยงต่ อการไม่ บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
• จัดทาแผนกลยุทธ และเป้ าหมายการตรวจสอบ
• ตรวจสอบการดาเนินงาน
• ประเมินการควบคุมของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
• เสนอแนะการปรับปรุ งการดาเนินงานและการควบคุมให้ ดยี งิ่ ขึน้
• ติดตามการปฏิบตั ิตามข้ อเสนอแนะการตรวจสอบว่ าได้ ดาเนินการอย่ างมีประสิ ทธิผล
• ประสานงานกับผู้ตรวจสอบภายนอก
• ปฏิบตั ิงานตามระบบการประกันคุณภาพการตรวจสอบภายใน
การประเมินความเสี่ ยง
(Assessing Risk)
•
•
•
•
หมายถึง ประเมินสถานการณ์ หรื อเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น แล้วจะเป็ น
ปัญหาและอุปสรรคต่อการบรรลุถึงเป้ าหมายขององค์กร ซึ่งความเสี่ ยง
สามารถวัดได้จากผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์น้ นั ขึ้น กับโอกาสที่จะ
เกิด การประเมินความเสี่ ยงในองค์กรคานึงถึงเรื่ องที่สาคัญ ดังต่อไปนี้
ความเชื่อถือได้และความถูกต้องครบถ้วน ของสารสนเทศด้านการเงิน
และการดาเนินงาน
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของการดาเนินงาน
การป้ องกันและรักษาทรัพย์สิน
การปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และสัญญาข้อตกลงต่างๆ
ตัวอย่ าง
ความเสี่ ยง และการควบคุมด้ านต่ างๆ
• การเก็บรักษาและบริหารเงินสด
• ความเสี่ ยง
1. ความบกพร่ องหรือความผิดพลาด หรือเจตนาทุจริตของเจ้ าหน้ าที่
2. ถูกโจรกรรม สู ญหาย หรือเกิดอัคคีภัย
3. ความไม่ ครบถ้ วนถูกต้ องทางบัญชี
• การควบคุม
1. ผู้มหี น้ าทีเ่ ก็บรักษาเงินไม่ ควรมีหน้ าทีร่ ับจ่ ายเงิน และบันทึกบัญชี
2. จัดสถานทีเ่ ก็บรักษาที่มนั่ คงและปลอดภัย
3. การบันทึกบัญชีให้ มหี ลักฐานประกอบการลงบัญชีทถี่ ูกต้ องครบถ้ วน และเป็ น
ปัจจุบัน
ตัวอย่ าง
ความเสี่ ยง และการควบคุมด้ านต่ างๆ
• การพัสดุ
• ความเสี่ ยง
1. เจ้ าหน้ าทีจ่ ัดหาพัสดุไม่ เพียงพอ หรือเกินความจาเป็ น
2. ถูกโจรกรรม สู ญหาย หรือเกิดอัคคีภัย
3. ซื้อหรือจ้ างในราคาทีส่ ู งกว่ าราคาที่ควรจะเป็ น หรือคุณภาพตา่
• การควบคุม
1. ผู้มหี น้ าทีเ่ ก็บรักษาพัสดุไม่ ควรมีหน้ าทีจ่ ัดหา หรือตรวจรับพัสดุ
2. จัดสถานทีเ่ ก็บรักษาที่มนั่ คงและปลอดภัย
3. การจัดให้ มหี ลักฐานประกอบการจัดซื้อจัดจ้ างทุกขั้นตอน
4. ลงทะเบียนพัสดุ ครุ ภัณฑ์ ให้ ครบถ้ วนถูกต้ อง และเป็ นปัจจุบัน
การวางแผนการตรวจสอบ
(Planning)
• การวางแผนการตรวจสอบ คือการวางแผนปฏิบัติงานทีห่ น่ วยตรวจสอบภายในได้
ทาไว้ ล่วงหน้ าว่ าจะตรวจสอบหน่ วยงาน เวลาใด เรื่องใด ด้ วยวัตถุประสงค์อะไร
ตลอดทั้งการประเมินประสิ ทธิภาพการควบคุมภายใน การกาหนดกาลังคน และ
ทรัพยากรที่จะใช้ ในการตรวจสอบ โดยคานึงถึงเรื่องต่ างๆ ดังนี้
- ความสอดคล้องกับกฎบัตรการตรวจสอบภายใน
- เป้ าหมายการตรวจสอบภายใน
- การกาหนดตารางเวลาและกิจกรรมที่ตรวจสอบ
- การสื่ อสารและการอนุมัติ
- การจัดสรรทรัพยากร
- นโยบายและขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานภาคสนาม
(Field Work)
เป็ นการออกตรวจการปฏิบัติงาน การตรวจสอบเอกสาร เก็บรวบรวมข้ อมูล
โดยการนาเทคนิคการรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบ
*เทคนิคการตรวจสอบทัว่ ไป
*เทคนิคในการประเมินผลการควบคุมภายใน
*การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
*การประเมินความเสี่ ยง
การปฏิบัตงิ านตรวจสอบ
เป็ นการสอบทาน และรวบรวมหลักฐาน เพือ่ ประเมินการปฏิบัติ
ของหน่ วยงานต่ างๆ ว่ าเป็ นไปตามนโยบาย แผนงาน ระเบียบวิธีปฏิบตั ิขององค์ กร รวมทั้งกฎหมายที่
เกีย่ วข้ อง แล้ วเสนอรายงานข้ อมูล และข้ อเสนอแนะต่ อฝ่ ายบริหาร
ปัจจัยสู่ ความสาเร็จ
1.มนุษยสั มพันธ์ ดี
2.ตรวจสอบแบบสร้ างสรรค์
-พูดคุย สร้ างความเข้าใจ ช่ วยเหลือ แนะนา
-เพือ่ ปรับปรุ งงาน โปร่ งใส
3.เน้ นวัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบ 4.บรรยากาศสร้ างสรรค์
-แลกเปลีย่ นความคิดเห็น โปร่ งใส แก้ไขข้อขัดแย้ง -หลีกเลีย่ งการตาหนิ แนะนา
การปฏิบัติงานตรวจสอบ ประกอบด้วย
•
•
•
•
•
•
สิ่ งทีค่ วรจะเป็ น (Criteria)
สาเหตุ (Cause)
ผลกระทบ (Impact)
ข้ อเสนอแนะ (Reccommendation)
การทดสอบสภาพทีเ่ กิดขึน้ จริง(Condition)
บันทึกสรุปผลการตรวจสอบ /ข้ อมูลทีพ่ บ
ระหว่ างทาการตรวจสอบ
• ประชุ มสรุปผล
• รายงานผลการตรวจสอบ/การสื่ อสาร
• การติดตามผล/การแก้ ไขปรับปรุง
• Output บ่ งบอกอาการ สะท้ อนสิ่ งที่
เกิดขึน้
• Process บ่ งบอกปัญหา สะท้ อนถึง
สาเหตุ
•
Condition : What is problem?
•
Criteria
: What shoud it be?
•
Cause
: why dose the problem exist?
•
Impact
: So what
•
Reccommendation:What can be done?
การวางแผนก่ อนเริ่มปฏิบัติงานตรวจสอบ
• การบรรยายสรุปงานตรวจสอบอย่ างย่ อให้ แก่ทมี ตรวจสอบ
• การเตรียมการเบือ้ งต้ น ได้ แก่
การคัดเลือกทีมตรวจสอบ/หัวหน้ าทีมตรวจสอบ
1. การเตรียมตัวของผู้ตรวจสอบ ศึกษาเรื่องจะตรวจ การเตรียมแบบสอบถาม การ
เขียนผังของงานและเอกสาร
2. การสารวจขั้นต้ น การเก็บรวบรวมปัญหา จากผลการตรวจสอบครั้งก่ อน
เอกสาร
• การแจ้ งผู้รับตรวจ
การสอบถามเพือ่ ประเมินระบบการควบคุมภายใน การวิเคราะห์ ระบบงานจากผัง
การเดินของงานและเอกสาร
เทคนิค เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการตรวจสอบ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การสุ่ มตัวอย่ าง
การสอบถาม
การสั งเกตการณ์
แผ่นตรวจสอบ
การนาเสนอ
การเขียนรายงาน
กราฟ
การวิเคราะห์ งบการเงิน
การใช้ แผนผัง/รู ปภาพ
ระหว่ างการปฏิบัตงิ านตรวจสอบ
•
•
•
•
•
การมอบหมายงานตรวจสอบ
การเลือกวิธีปฏิบัตใิ นการตรวจสอบ
การกากับดูแลงานตรวจสอบ
การนาแนวการตรวจสอบมาใช้
การเปลีย่ นแปลงขอบเขตการ
ตรวจสอบ
• การประชุ มปิ ดงานตรวจสอบ
ข้ อสั งเกตุจากการตรวจสอบ
• ไม่ จัดทาบัญชีมือคู่ขนานกับบัญชีระบบ GFMIS
• จากการไม่ ทาบัญชีคู่ขนานทาให้ ไม่ ทราบยอดทางบัญชีทถี่ กู ต้ องแท้ จริง
• ไม่ มีการตรวจสอบรายงานทีใ่ ช้ สาหรับการปฏิบัติงานในแต่ ละวันของ
หน่ วยงาน (Operation Report) อย่ างสม่าเสมอ ทาให้ ไม่
แก้ไขความผิดพลาดบกพร่ องและแก้ไขโดยเร็ว
ข้ อสั งเกตุจากการตรวจสอบ
• ยอดรายงานงบทดลองประจาเดือน ไม่ ถูกต้ องตามหลักทางบัญชี เช่ น
ยอดเงินสด เงินฝากธนาคารติดลบ
• ไม่ แต่ งตั้งคณะกรรมการหรือเจ้ าหน้ าทีต่ รวจสอบการรับจ่ ายเงิน
ประจาวัน หรือแต่ งตั้งไว้ แล้วไม่ มีการตรวจสอบจริง อาจเป็ นช่ องทาง
ให้ เจ้ าหน้ าทีท่ ุจริตยักยอกเงินได้
• การควบคุมครุภณ
ั ฑ์ ยานพาหนะ ไม่ ทาทะเบียนคุมประจารถ ไม่ขอ
อนุญาตใช้ รถ ไม่ ทาเกณฑ์ การใช้ สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงของรถราชการ เพือ่
เป็ นหลักฐานในการเบิกจ่ ายเชื้อเพลิง และการตรวจสอบของเจ้ าหน้าที่
ฝ่ ายยานพาหนะ
การปฏิบัติเมื่อเสร็จสิ้นงานตรวจสอบ
• สอบทานกระดาษทาการ
• สอบทานร่ างรายงานผลการ
ปฏิบัตงิ าน
• ประเมินผลการปฏิบัตงิ านของ
ผู้ตรวจ
สอบภายในแต่ ละคน
• แจ้ งผู้รับตรวจ และส่ งคืนเอกสารที่
ใช้ ในการตรวจสอบ
• สรุ ปเรื่องเสนอ
Why Auditors Audit?
หลักปฏิบัติ/จริยธรรมของผู้ตรวจสอบภายใน
-ความมีจุดยืนที่มั่นคง(Integrity)
-ความเที่ยงธรรม(Objectivity)
-การปกปิ ดความลับ(Confidentiality)
-ความสามารถในหน้ าที่(competency)
เทคนิคการตรวจสอบ
หมายถึง วิธีการตรวจสอบทีส่ าคัญทีผ่ ้ ูตรวจสอบเลือกใช้ ในการรวบรวมข้ อมูล หลักฐานต่ างๆ เพือ่ ให้
ได้ หลักฐานทีด่ ี และเสี ยค่ าใช้ จ่ายน้ อยทีส่ ุ ด เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ และแผนการตรวจสอบ
แบ่ งเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่
1. เทคนิคด้ านมนุษยสั มพันธ์ และการสื่ อสาร
เช่ นการสั มภาษณ์ สอบถาม การนาเสนอ
การเขียนรายงาน
2. เทคนิคการรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบ
เทคนิคการรวบรวมหลักฐานการตรวจสอบ
*เทคนิคการตรวจสอบทัว่ ไป
*เทคนิคในการประเมินผลการควบคุมภายใน
*การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
*การประเมินความเสี่ ยง
เทคนิคการตรวจสอบทัว่ ไป หมายถึงเทคนิคการ
ตรวจสอบที่ใช้ กนั โดยทั่วไป และทุกระยะใน
การปฏิบตั ิงานตรวจสอบ เช่ น การ
สั งเกตการณ์ การคานวณ การตรวจนับ การ
สุ่ มตัวอย่ าง เป็ นต้ น
เทคนิคในการประเมินผลการควบคุมภายใน
หมายถึง การพิจารณาถึงผลสั มฤทธิ์ของ
ระบบการควบคุมภายในทีม่ อี ยู่ในหน่ วยงาน
โดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติกบั ระบบการ
ควบคุมภายในทีก่ าหนดไว้
การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ หมายถึงการศึกษา
เปรียบเทียบความสั มพันธ์ ของข้ อมูลสถิติที่
สาคัญทั้งทางการเงินและผลการดาเนินงาน
เพือ่ ใช้ ในการระบุความผิดพลาด ความ
ผิดปกติทอี่ าจเกิดขึน้
การประเมินความเสี่ ยง หมายถึง กระบวนการที่
ใช้ ในการระบุและวิเคราะห์ ความเสี่ ยงทีม่ ี
ผลกระทบต่ อการบรรลุวตั ถุประสงค์ ของ
หน่ วยรับตรวจ
การจัดทารายงานผลการตรวจสอบ
(Reporting)
• หมายถึง การนาเสนอข้ อมูลทีผ่ ้ ู
ตรวจสอบภายในตรวจสอบพบเสนอ
ต่ อผู้บริหาร รวมทั้งการให้
ข้ อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรุ งแก้ ไข
• องค์ประกอบข้อเท็จจริ ง
1. สิ่ งทีเ่ ป็ นอยู่ (condition)
2. สิ่ งทีค่ วรจะเป็ น (Criteria)
3. สาเหตุ (Cause)
4. ผลกระทบ (Impact)
5. ข้ อเสนอแนะ (Reccommendation)
• การนาเสนอรายงานผลการตรวจสอบ
1. รายงานด้ วยวาจา
2. รายงานเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
2.1 ระหว่ างการตรวจสอบ
2.2 เมือ่ เสร็จสิ้นการตรวจสอบ
• ลักษณะของรายงานที่ดี
1. มีความถูกต้อง
2. มีความชัดเจน/กระชับ
3. มีความสร้างสรรค์ และทันเวลา
4. จูงใจให้นาไปสู่ การการแก้ไข
การติดตามผล
(Monitoring)
• เพื่อติดตามการแก้ไขปรับปรุ ง
ข้อบกพร่ องตามข้อเสนอแนะใน
รายงาน
•
•
•
•
โดยให้หน่วยรับตรวจรายงานผล
โดยการทวงถาม/สอบทาน
กาหนดระยะเวลาที่เหมาะสม
นาเสนอรายงานการติดตามผล
ต่อผูบ้ ริ หาร
การบริหารความเสี่ ยง
(Risk Management)
• ความเสี่ ยง คือเหตุการณ์ ทจี่ ะมีผลกระทบใน
เชิงลบทีจ่ ะทาให้ องค์ ไม่ บรรลุวตั ถุประสงค์
และสร้ างความเสี ยหายให้ องค์ กร
• ความเสี่ ยงทีเ่ กิดจากปัจจัยภายใน จะใช้ วธิ ี
จัดวางระบบการควบคุมภายใน
• ความเสี่ ยงทีเ่ กิดจากปัจจัยภายนอก จะใช้
วิธีการบริหารความเสี่ ยง
• การบริหารความเสี่ ยง เป็ นการกาหนด
แนวทางทีจ่ ะรับมือหรือจัดการกับความ
เสี่ ยงทีม่ สี าระสาคัญ มีโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ สู ง • วัตถุประสงค์ ในการบริหารความเสี่ ยง
1. เชิงกลยุทธ์ (Strategic-S)
และเกิดขึน้ แล้ วมีผลกระทบหรือความ
เสี ยหายมาก ปัจจุบนั ใช้ ตามหลักของ
2. การดาเนินงาน (Operations-O)
COSO เรียกว่ าการจัดการความเสี่ ยงทั้ง
3. การเงิน (Fainancial-F)
องค์ กร (Enterprise Risk Management
4. การปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ
: ERM)
(Compliance-C)
หลักการกากับดูแล ควบคุมตนเองทีด่ ี และประโยชน์ ทไี่ ด้จากการ
ตรวจสอบภายใน
• ประโยชน์ ทไี่ ด้ จากการตรวจสอบภายใน ใน
ระบบการกากับดูแลควบคุมตนเองทีด่ ี คือ
ช่ วยให้ องค์ กรได้ รับการยอมรับ และเชื่ อถือ
จากผู้มสี ่ วนร่ วมในผลประโยชน์ ขององค์ กร
ทุกฝ่ าย
• ลักษณะงานตรวจสอบภายในกับ
ระบบการกากับดูแล มี 2 อย่าง ได้ แก่
1. การทบทวนการดาเนินงาน และแผนงาน
ต่ างๆ เพือ่ ให้ แน่ ใจว่ าการดาเนินงานหรือ
แผนงานนั้น สอดคล้ องกับเป้ าหมาย
โดยรวม และสร้ างมูลค่ าเพิม่ ให้ กบั องค์ กร
2. การมีส่วนช่ วยให้ เกิดกระบวนการกากับดูแล
ในองค์ กรโดยการประเมินและปรับปรุง
กระบวนการ โดยผ่ านสิ่ งต่ อไปนี้
2.1 มูลค่ าและเป้ าหมายขององค์ กรได้
กาหนดไว้ และมีการสื่ อสารทัว่ ทั้งองค์ กร
2.2 การติดตามดูแลผลสาเร็จของเป้ าหมาย
ขององค์ กร
2.3 ความรับผิดชอบในหน้ าทีข่ องพนักงาน
2.4 การรักษามูลค่ าขององค์ กรไว้
โทร. 0827820640
UBN0016.4 @ moi.go.th.