¡ÒÃá¡é䢼Ùé¡ÃзӤÇÒÁ¼Ô´ prison life
Download
Report
Transcript ¡ÒÃá¡é䢼Ùé¡ÃзӤÇÒÁ¼Ô´ prison life
การแก้ ไขผู้กระทาความผิด
Corrections
ประวัติการลงโทษและเรือนจา
– การลงโทษสะท้อนจารี ตประเพณี เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ
ศาสนา และอุดมการณ์ทางการเมือง
– การขับออกจากดินแดน เนรเทศ เป็ นสิ ท่งทากันเป็ นประจา
ในสมัยโบราณ
– ประเทศต่าง ๆในสมัยโบราณเห็นว่าอาชญากรรมเป็ นเรื่ อง
ส่ วนตัว (Private matter)
ประวัติการลงโทษและเรือนจา
• ในยุคกลาง (The Middle Ages)
– การกระทาความผิดยุติลงด้วยการแก้แค้นกันเอง
– ต่อมาหลังศตวรรษที่ สิ บเอ็ด การรับที่ดินและทรัพย์สินเป็ นการ
ลงโทษที่ปฏิบตั ิกนั อย่างแพร่ หลายในยุโรป
– คนกลางหรื อบุคคลที่สามทาหน้าที่เจรจาระงับความเสี ยหายให้
ผูเ้ สี ยหาย
– การลงโทษมักจะเป็ นเรื่ องที่ทาให้ตื่นเต้นในที่สาธารณะ
– เรื อนจาเกิดขึ้นตอนต้นปี ค.ศ. 1301 (Le Stinche)
ประวัติการลงโทษและเรื อนจา
• การลงโทษในสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18
• ผูก้ ระทาความผิดถูกบังคับให้ทางานชดใช้การกระทาความผิด
– พระราชบัญญัติ คนเร่ ร่อนพเนจรของอังกฤษปี ค.ศ. 1597
(The English Vagrancy Act) อนุญาตให้เนรเทศนักโทษได้
– การปฏิวตั ิในสหรัฐอเมริ กาทาให้การเนรเทศนักโทษ
อุกฉกรรจ์ไปสหรัฐยุติ
ประวัติการลงโทษและเรือนจา
• การเรื อนจาในตอนปลายศตวรรษที่สิแปดถึงต้นศตวรรษที่สิบเก้า
– วิลเลียม เพน (William Penn) เป็ นผูน้ าในการปรับปรุ งประมวล
กฎหมายอาญารัฐเพนซิลเวเนียห้ามการทรมานผูก้ ระทาผิด
– สร้างสถานที่กกั ขังที่ถนนวอลนัท (Walnut Street Jail)
– เรื นอจาออเบิร์นในนิยอร์ก (Auburn prison 1816) เป็ นเรื อนจาแห่ง
แรกที่รู้กนั ทัว่ ไปว่าเป็ นระบบหลายชั้น หรื อแนวคิดสถานที่ขนาด
ใหญ่ (big-house concept)
– ใช้ระบบห้ามพูดร่ วมกับการขังเดี่ยวเป็ นวิธีการลงโทษ
ประวัติการลงโทษและเรือนจา
• ระบบเพนซิลเวเนียใหม่ (The New Pennsylvania System)
– ในปี ค.ศ. 1818 เรื อนจาตะวันตกออกแบบเป็ นครึ่ งวงกลม
เพื่อแยกผุต้ อ้ งขัง
– ผูส้ นับสนุนระบบเพนซิลเวเนียเชื่อว่าเรื อนจามีไว้ให้นกั โทษ
สานึกผิดหรื อบาป
– การกระทาทารุ ณกรรมในเรื อนจามีอยูอ่ ย่างแพร่ หลายแม้วา่
การสร้างเรื อนจาเพื่อการลงโทษอย่างมีมนุษยธรรม
ประวัติการลงโทษและเรือนจา
• พัฒนาการหลังสงครามการเมืองในสหรัฐฯ
– ความหนาแน่นของเรื อนจาทาให้ตอ้ งนาผูต้ อ้ งขังมาควบคุมไว้
รวมกัน
– การทางานในเรื อนจาหรื ออุตสาหกรรมในเรื อจาเป็ นเรื่ องที่ได้รับ
ความนิยมทัว่ ไป
– ผูบ้ ริ หารเรื อนจา ซี อาร์ บร็ อคเวย์ (Z.R. Brockway) สนับสนุนการ
แก้ไขผูก้ ระทาความผิดเฉพาะราย คาพิพากษาที่ไม่กาหนดเวลา
แน่นอน และการพักการลงโทษ
ประวัติการลงโทษและเรือนจา
• การเรือนจาในศตวรรษที่ยสี่ ิ บ
– สันนิบาตสวัสดิการร่ วมกัน (Mutual Welfare League) เสนอให้ใช้การปฏิบตั ิ
ต่อผูต้ อ้ งขังให้ดีข้ ึนและจัดทากระบวนการปฏิสมั พันธ์ทางสังคม
(Resocialization) ให้ผกู ้ ระทาความผิด
– มีผเู ้ สนอแนะให้ใช้การรักษาวินยั อย่างเข้มงวดในการควบคุมผูต้ อ้ งขัง
– การปฏิรูปเรื อนจาเช่น ยกเลิกสวมชุดลายและให้ใช้วีออกกาลังกาย ให้เยีย่ ม
และส่ งไปรษณี ยไ์ ด้
– พัฒนาเรื อนจาพิเศษ (specialized prisons)
ประวัติการลงโทษและเรือนจา
• ยุคใหม่ (The Modern Era)
– ระหว่างปี ค.ศ.1960-1980 การฟ้ องคดีเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยกร้องสิ ทธิและประโยชน์
ต่าง ๆ ให้นกั โทษมากขึ้น
– การใช้ความรุ นแรงเป็ นเรื่ องร้ายแรงระดับชาติ
– มีการกล่าวหาว่าการแก้ไขฟื้ นฟูผตู ้ อ้ งขังล้มเหลว
– เรื อนจาไม่สามารถลดอัตราการกระทาผิดซ้ าทาให้แสวงหาทางเลือกอื่น ๆ เช่นการหันเห
หรื อเบี่ยงเบนออกจากระบบ การชดใช้ความเสี ยหายและการแก้ไขผูก้ ระทาผิดในชุมชน
• เรื อนจาร่ วมสมัย (Contemporary Corrections)
– การแก้ไขในชุมชนเป็ นทางเลือกเพราะประหยัดค่าใช้จ่าย ลดความแออัด และหลีกเลี่ยง
การมีมลทินติดตัวจากการต้องจาคุก
คุมประพฤติ
• การคุมประพฤติเป็ นการจาหน่ายคดีอย่างหนึ่ง (legal
dispositions) ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
• ผูก้ ระทาผิดที่ถูกพิพากษาจานวนมากได้รับการรอการลงโทษ
โดยคุมประพฤติ (ในสหรัฐประมาณร้อยละ40)
• การคุมประพฤติเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขสัญญาซึ่งฝ่ าฝื นจะถูกเพิก
ถอน
• ผูก้ ระทาผิดจะได้รับการไต่สวนก่อนการเพิกถอน
คุมประพฤติ
• คาพิพากษาคุมประพฤติ
– ผูพ้ ิพากษาจะเป็ นผูพ้ ิจารณาพิพากษาให้ใช้วิธีน้ ี
– การคุมประพฤติในความผิดไม่ร้ายแรงมักจะกาหนดระยะเวลาการ
เท่าการกักขัง
– โดยทัว่ ไปการคุมประพฤติในความผิดร้ายแรงจะกาหนดระยะเวลา
ระหว่างหนึ่งถึงห้าปี (สหรัฐอเมริ กา)
– มีหน่วยงานเกือบ 2,000 แห่งติดตามดูแลผูถ้ ูกคุมประพฤติกว่า สี่ ลา้ น
คนในสหรัฐอเมริ กา
คุมประพฤติ
• หน่ วยงานคุมประพฤติ (Probation Services)
– การสื บเสาะ (Investigation) เพื่อวินิจฉัยความเหมาะสมในการคุม
ประพฤติ เรี ยกว่าการสื บเสาะก่อนพิพากษา (presentence
investigations)
– การแก้ไข (Treatment) การจาแนกประเภทผูก้ ระทาผิดเพื่อเป็ นแนว
ทางการวางแผนการแก้ไขฟื้ นฟู รวมทั้งการให้คาแนะนาปรึ กษา และ
เข้าโครงการบาบัดยาเสพติด
– การสอดส่ อง (Supervision) การติดตามดูแลผูก้ ระทาผิดหรื อ
ตรวจสอบเป็ นวันจนถึงตรวจสอบเป็ นปี (hotspot probation)
คุมประพฤติ
• กฎการคุมประพฤติและการเพิกถอน
– กฎหรื อเงื่อนไขโดยทัว่ ไปประกอบด้วย
• การทางานเป็ นกิจจะลักษณะ
• ชดใช้ค่าเสี ยหาย
• ให้ความร่ วมมือกับพนักงานคุมประพฤติ
• เคารพกฎหมายทุกประการ
• รับผิดชอบต่อครอบครัว
ในสหรัฐฯการค้นผูถ้ ูกคุมประพฤติไม่ตอ้ งมีหมาย (U.S. v. Knights)
คุมประพฤติ
• ความสาเร็จการคุมประพฤติ
– ผูถ้ ูกคุมประพฤติร้อยละ 60 ประสบความสาเร็ จในการคุม
ความประพฤติจนพ้นระยะเวลาตามคาพิพากษา
– การถูกเพิกถอนการคุมประพฤติส่วนใหญ่เป็ นการฝ่ าฝื นทาง
เทคนิค
– ผูก้ ระทาความผิดที่ร้ายแรงมากจะประสบความสาเร็ จจากการ
ถูกคุมประพฤตินอ้ ย
การลงโทษระดับกลาง (Intermediate Sanctions)
– ประกอบด้วย โทษปรับ ริ บทรัพย์สิน การควบคุมตัวภายในบ้าน การ
ควบคุมด้วยเครื่ องมืออิเล็กโตรนิกส์ (electronic monitoring) การคุม
ประพฤติอย่างเข้มงวด (intensive probation) การชดใช้ความเสี ยหาย
การแก้ไขในชุมชน และการฝึ กในค่ายทหาร
– การลงโทษระดับกลางออกแบบสาหรับการลงโทษที่มีความยุติธรรม
เป็ นธรรม และได้สดั ส่ วน
การลงโทษระดับกลาง
• โทษปรับ (Fines)
– การปรับผูก้ ระทาผิดเป็ นเงิน
– ใช้สาหรับความผิดไม่ร้ายแรง ความผิดอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ
และความรับผิดของนิติบุคคล
– การปรับเป็ นวันใช้กบั ผูก้ ระทาผิดที่มีรายได้สุทธิเป็ นวัน
– เป็ นโทษที่ใช้ได้ทวั่ ไปโดยคานึงถึงหรื อไม่ตอ้ งคานึงถึงประสิ ทธิภาพ
การลงโทษระดับกลาง
• ริบทรัพย์ (Forfeiture)
– การลงโทษเป็ นเงินใช้เป็ นทางเลือกได้ท้ งั คดีแพ่งและอาญา
– การริ บทรัพย์นามาใช้ในกฎหมายสหรัฐฯ เมื่อบัญญัติกฎหมายต่อต้านองค์กร
อาชญากรรม (Racketeer Influenced and Corrupt Organizations, RICO)
• การชดใช้ ค่าเสี ยหาย (Restitution)
– ใช้ประมาณหนึ่งในสามของคดีร้ายแรง (felony cases) เพื่อจ่ายเงินให้ผเู ้ สี ยหาย
– ใช้สาหรับการหันเหคดีออกจากระบบ (diversionary sanction)
การลงโทษระดับกลาง
• การคุมประพฤติแบบช๊อคและแยกส่ วน (Shock Probation and Split Sentencing)
– ให้ผกู้ ระทาผิดได้ทดลองรับโทษจาคุก
– การกักขังเป็ นเงื่อนไขการคุมประพฤติ
– การคุมประพฤติแบบช๊อคจะใช้การลงโทษจาคุกเป็ นเวลา 90 วัน
• การคุมประพฤติแบบเข้ม (Intensive Probation, ISP)
– คุมความประพฤติอย่างใกล้ชิดในจานวนน้อย
– การอยูร่ ่ วมกับสังคมเป็ นเป้ าหมายของวิธีน้ ี
– ตรวจยาเสพติดเป็ นประจา
การลงโทษระดับกลาง
• การควบคุมไว้ในบ้านและควบคุมด้วยเครื่ องอิเล็คโตรนิค (Home
Confinement/Electronic Monitoring)
– การตรวจสอบทาได้ท้ งั เชิงรุ กและรับ
– ได้รับการยกย่องว่าเป็ นพัฒนาการที่ประสบความสาเร็ จมากที่สุดทางด้านนโยบาย
ควบคุมผูต้ อ้ งขัง
– ประหยัดเงินและหลีกเลี่ยงการสร้างเรื อนจาใหม่ที่มีราคาแพงโดยไม่ตอ้ งขยายเครื อข่าย
งาน
• ที่อยูใ่ นชุมชน (Residential Community Corrections)
– บ้านกึ่งวิถีสาหรับผูก้ ระทาผิดที่มีบริ การการแก้ไขฟื้ นฟู และส่ งกลับคืนสังคม
– อาจใช้เป็ นศูนย์ปล่อยผูก้ ระทาผิดซึ่ งต้องการบริ การสังคมสงเคราะห์
การลงโทษระดับกลาง
• ค่ายทหารและการกักขังแบบช็อค (Boot Camps/Shock Incarceration)
– โดยปกติใช้สาหรับเยาวชนที่กระทาผิดครั้งแรก
– การฝึ กอบรมและการใช้ระเบียบวินยั อย่างเข้มงวดในระยะเวลาสั้น
– ค่าใช้จ่ายใกล้เคียงกับเรื อนจาและการกระทาผิดซ้ ามีอตั ราไม่นอ้ ยกว่า
เรื อนจา
• ทางเลือกได้ผลหรื อไม่
– ไม่มีพยานหลักฐานชัดเจนว่าการลงโทษระดับกลางมีประสิ ทธิภาพ
มากกว่าเรื อนจาแต่ค่าใช้จ่ายต่ากว่า
สถานที่กกั ขัง (Jails)
มีกาเนิดมาจากทวีปยุโรปใช้สาหารับผูต้ อ้ งขังระหว่างพิจารณาคดีและผู ้
ต้องโทษ
• จานวนผูต้ อ้ งขัง
• มีจานวนเพิม่ มากขึ้น
• มีผตู ้ อ้ งขังประมาณวันละ 700,000 ทุกวัน
– ผูต้ อ้ งขังส่ วนใหญ่เป็ นคนกลุ่มน้อย
– สภาพห้องขังเต็มไปด้วยความรุ นแรง แออัด สภาพทางกายภาพเสื่ อมโทรม
และขาดแคลนการแก้ไขฟื้ นฟูผตู ้ อ้ งขัง
สถานที่กกั ขัง
• สถานทีก่ กั ขังยุคใหม่
– สร้างเป็ นกลุ่มห้องขังล้อมรอบไปด้วยปี ก
– เจ้าหน้าที่สังเกตการณ์เห็นผูต้ อ้ งขัง
– มีการปฏิสมั พันธ์ตลอดเวลาและเฝ้ าระวังอย่างใกล้ชิด
– เวลาส่ วนใหญ่อยูใ่ นห้อง
เรือนจา (Prisons)
– รัฐต่าง ๆ และรัฐบาลกลางสร้างเรื อนจาแบบปิ ด
• ประเภทเรื อนจา
– จัดแบ่งประเภทตามระดับความมัน่ คงแข็งแรง
• ความมัน่ คงสู ง (Maximum security, elaborate security)
• ความมัน่ คงปานกลาง (Medium security) ผูต้ อ้ งขังรุ นแรงน้อย
• ความมัน่ คงต่า (Minimum security) ผูต้ อ้ งขังไว้ใจได้
• เรื อนจาความมัน่ คงสูงมาก (Super Maximum Security Prisons)
– ความมัง่ คงพิเศษ (Ultra high-security)
– เฟอร์นิเจอร์ประจาห้องและเครื่ องใช้นาออกทั้งหมด
– การขาดการรับรู ้ทางสัมผัสอาจเป็ นอันตรายต่อผูต้ อ้ งขังได้
เรือนจา
• เรื อนจาในไร่ นาและค่าย (Farm and Camps)
– ส่ วนใหญ่อยูท่ างภาคใต้และตะวันตกของสหรัฐฯ
– นักโทษผลิตสิ นค้าเกษตรสาหรับใช้ในราชการ เช่น ข้าวและผักสด
– การใช้เข็มขัดทาให้หมดความรู ้สึกหรื อเคลื่อนไหวไม่ได้ (stun belts) มีปัญหา
• เรื อนจาเอกชน (Private Prisons)
– ในปี ค.ศ. 2000 สถานที่ควบคุมในชุมชน มากกว่าหนึ่งในสามของทั้งหมด (communitybased facilities) บริ หารโดยเอกชน
– มีผวู ้ จิ ารณ์วา่ เรื อนจาเอกชนมีประสิ ทธิ ภาพไม่เท่ากับเรื อนจาบริ หารโดยหน่วยงานของ
รัฐ
– ปั ญหาทางกฎหมาย การฟ้ องคดีแพ่งละเมิดสิ ทธิ ผตู ้ อ้ งขัง และพนักงานไม่มี
ความสามารถ
เรือนจา
• ผู้ต้องขังชาย
–
–
–
–
–
–
ผูต้ อ้ งขังเป็ นชายอายุนอ้ ย ยากจนมีการศึกษาต่ากว่ามัธยมปลาย
การลงโทษจาคุกระยะยาวทาให้ประชากรนักโทษมีอายุสูง
ผูต้ อ้ งขังอายุ 51 และสู งกว่ามีสัดส่ วนร้อยละ 33 ในปี ค.ศ. 2010
ผูต้ อ้ งขังร้อยละ 80 เคยต้องโทษมาก่อน
ผูต้ อ้ งขังเกือบร้อยละ 75 เป็ นผูม้ ีปัญหาใช้ยาเสพติด
ผูต้ อ้ งขังร้อยละประมาณ 18 ทาการสมรสเมื่อต้องโทษจาคุก
เรือนจา
• ชีวติ ในเรือนจา
• ผูต้ อ้ งขังได้รับการจาแนกตามการมอบหมายงาน
• การสูญเสี ยประกอบด้วย ได้รับสิ นค้าและบริ การ เสรี ภาพ ความสัมพันธ์กบั เพศ
ตรงกันข้าม ความเป็ นตัวเอง และความมัน่ คง
–
–
–
–
–
การสู ญเสี ยสิ ทธิ ส่วนตัวเป็ นเรื่ องสาคัญต้องปรับตัวของผูต้ อ้ งขัง
ต้องเรี ยนรู้การปรับตัวจากการถูกเอารัดเอาเปรี ยบทางเพศและความรุ นแรงในเรื อนจา
มีส่วนร่ วมในเศรษฐกิจตลาดมืด (หารายได้โดยผิดกฎหมาย)
ตกอยูภ่ ายใต้อิทธิ พบขอบแก๊งและความขัดแย้งทางชาติพนั ธ์
มีปัญหาทางด้านจิตใจที่จะต้องแก้ไข
เรือนจา
• สั งคมผู้ต้องขัง
– วัฒนธรรมย่อย (subculture) ประกอบด้วยข้อบังคับทางสังคมที่แปลกเกี่ยวกับศัพท์ที่ใช้
ในเรื อนจา
– กระบวนการขัดเกลาในเรื อนจา (Prisonization) ทาให้การปรับปรุ งพฤตินิสัยผูต้ อ้ งขัง
เป็ นไปได้ยาก
• วัฒนธรรมผู้ต้องขัง
– การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมย่อยเดิมริ เริ่ มโดยขบวนการพลังคนผิวดาในยุคทศวรรษ ค.ศ.
1960 และค.ศ. 1970
– ชนกลุ่มน้อยมีการรวมตัวมากกว่าคนผิวขาว
– แก๊ง ต่าง ๆของผูต้ อ้ งขังในเรื อนจาบางครั้งมีรากฐานมาจากศาสนาแลการฝักใฝ่ ทาง
การเมือง
เรือนจา
ผู้ต้องขังหญิง
• ประกอบด้วยจานวนประชากรร้อยละ 5-6 ของจานวนประชากรผูข้ งั ผูใ้ หญ่
ทั้งหมด
• ผูต้ อ้ งขังหญิงแบ่งออกเป็ นสามประเภท
• ปกติ (ไม่ใช่อาชญากรแต่กระทาผิดเพราะอารมณ์โกรธ)
• กระทาผิดเป็ นชีวิต (ผูก้ ระทาผิดซ้ า)
• เลือดเย็น (เป็ นส่ วนหนึ่งของผูก้ ระทาผิดที่มีฝีมือหรื ออยูใ่ นโลกมืดหรื อองค์กร
อาชญากรรม)
– ผูห้ ญิงมักไม่มีประสบการณ์ใช้ความรุ นแรงในเรื อนจา
– ความเชื่อมัน่ ในตนเองต่าเป็ นปกติที่เกิดขึ้นเนื่องจากต้องแยกจากครอบครัว
– ผูห้ ญิงจะได้รับการฝึ กอาชีพในบทบาทของตนและอาจต้องอยูใ่ นเรื อนจานานกว่าผูช้ าย
เรือนจา
• การแก้ไขในเรื อนจา (Correctional Treatment)
– ผูต้ อ้ งขังกว่าร้อยละ 90 มีส่วนร่ วมในโครงการกิจกรรมการแก้ไขฟื้ นฟูอย่าง
ใดอย่างหนึ่งหลังจากเข้ามาในเรื อนจา
• การบาบัดและการรับคาปรึ กษาทางจิต
• เข้ารับการบาบัดยาเสพติดในชุมชนบาบัด (Therapeutic Communities)
• โครงการศึกษาทัว่ ไป
• การแก้ไขฟื้ นฟูดา้ นอาชีพ (การฝี กทักษะ)
• อุตสาหกรรมเอกชน (โครงการลงทุน)
เรือนจา
• ผูต้ อ้ งขังสูงอายุ
– ผูต้ อ้ งขังสู งอายุมีมากขึ้น
– ผูต้ อ้ งขังสูงอายุมกั เป็ นคนผิวขาวไม่แต่งงานและมีบุตร
– ผูต้ อ้ งขังสูงอายุมกั กระทาผิดโดยใช้ความรุ นแรง
– ผูต้ อ้ งขังสูงอายุ มีปัญหาสุ ขภาพเรื้ อรัง
เรือนจา
• ผูต้ อ้ งขังช่วยเหลือตัวเอง
– ผูต้ อ้ งขัง ได้รวมกันจัดตั้งโครงการช่วยเหลือป้ องกันการกระทาผิดซ้ า
• การบาบัดแอลกอฮอร์นิรนาม (Alcoholics Anonymous)
• กองกาลังลูกเสื อ (Boy Scout Troops)
• การจัดตั้งของชาวอินเดียนแดง (Chicanos Organizados Pintos Aztlan, COPA)
• พันธมิตรชาวผิวดาอเมริ กนั (Afro-American Coalition)
• พี่นอ้ งชาวอเมริ กนั พื้นเมือง (Native American Brotherhood)
• สมาคม Fortune Society
• องค์กรเจ็ดก้าว Seventh Step Organization
เรือนจา
• การแก้ไขฟื้ นฟูได้ผลหรื อไม่?
– นายโรเบิร์ต มาร์ตินสัน (Robert Martinson) เสนอแนะว่าการแก้ไข
ฟื้ นฟูไม่มีผลในทางปฏิบตั ิ
– การวิเคราะห์เมื่อเร็ ว ๆนี้แสดงว่าการศึกษาและโครงการทางานช่วย
ลดอัตราการกระทาความผิดซ้ า
– การแก้ไขจะมีประสิ ทธิภาพมากที่สุดถ้าทาได้สอดคล้องกับความ
ต้องการของผูต้ อ้ งขัง
เรือนจา
• ความรุ นแรงในเรื อนจา (Prison Violence)
– การล่วงละเมิดทางเพศเป็ นภัยคุกคามโดยทัว่ ไป
– รัฐสภาได้บญั ญัติกฎหมายว่าด้วยการลดการข่มขืนในเรื อนจาปี ค.ศ. 2003 เพือ่ แก้ปัญหา
การข่มขืนในเรื อนจา
– สาเหตุความรุ นแรงในเรื อนจาได้แก่ผตู ้ อ้ งขังมีแนวโน้มใช้ความรุ นแรงเป็ นธรรมชาติ
ความแออัด และสภาพที่ไม่มีมนุษยธรรม
– การจลาจลในเรื อนจาเกิดขึ้นเนื่องจากสิ่ งแวดล้อมไม่เป็ นธรรมชาติ การต่อต้านสังคม
ของผูต้ อ้ งขัง การจัดการไม่มีประสิ ทธิ ภาพ บุคลากรปฏิบตั ิงานไม่เพียงพอ สถานที่ไม่
เพียงพอ กิจกรรมและรางวัลน้อยเกินไป ขาดงบประมาณ และไม่มีความเป็ นธรรมและ
ความซับซ้อนของกระบวนการยุติธรรม
เรือนจา
• เรื อนจาและหลักนิติธรรม
– ศาลสูงสุ ดของสหรัฐฯพิพากษายืนยันสิ ทธิผตู ้ อ้ งขังตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960
ว่าด้วยสภาพเรื อนจาไม่เหมาะสมหรื อชารุ ดทรุ ดโทรม
– ในปี ค.ศ. 1996 รัฐสภาได้บญั ญัติกฎหมายควบคุมการฟ้ องคดีของ
ผูต้ อ้ งขัง (Prison Litigation Reform Act, PLRA)
– การฟ้ องคดีทาให้ผตู ้ อ้ งขังได้รับสิ ทธิเพิม่ ขึ้นได้แก่ เสรี ภาพในการ
สื่ อสารและการพูด และสิ ทธิในการรักษาพยาบาล
เรือนจา
• การลงโทษที่โหดร้ายและผิดปกติวสิ ยั
– ในปี ค.ศ.1970 ระบบเรื อนจาทั้งหมดของรัฐ Arkansas ถูกประกาศว่า
ขัดรัฐธรรมนูญเนื่องจากการลงโทษทางกายภาพมากเกินไป
– ศาลพิพากษาว่าเจ้าหน้าที่เรื อนจาละเมิดสิ ทธิพลเมืองของผูต้ อ้ งขัง
ต้องมีความรับผิดทางละเมิด
– คดี Hope v. Pelzer
พักการลงโทษ (Parole)
– การวางแผนการปล่อยและควบคุมในชุมชนของผูต้ อ้ งขังก่อนครบกาหนด
โทษตามคาพิพากษา
– คณะกรรมการพักการลงโทษอาจอนุญาตหรื อไม่อนุญาตให้ปล่อยผูต้ อ้ งขัง
ก่อนกาหนด (ยกเว้นในรัฐที่มีกฎหมายกาหนดคาพิพากษาแน่นอน)
– ตารางการคาดคะเนเพื่อการตัดสิ นใจว่าจะอนุญาตให้พกั การลงโทษหรื อไม่
จะใช้ดชั นีปัจจัยคะแนน (Salient Factor Score Index)
พักการลงโทษ
» Weblink
www.usdoj.gov/uspc/
พักการลงโทษ
• ผูไ้ ด้รับการพักการลงโทษในชุมชน (The Parolee in the Community)
– ผูก้ ระทาผิดอยูภ่ ายใต้การควบคุมดูแลของของพนักงานพักการลงโทษตามกฎ
ข้อบังคับอย่างเข้มงวดและมีเงื่อนไขกาหนดให้แต่ละคน
– ผูต้ อ้ งขังสามารถถูกเพิกถอนการพักการลงโทษกลับไปเรื อนจาได้
– ผูไ้ ด้รับการพักโทษมีจานวนเพิ่มมากขึ้นสามเท่าตั้งแต่ปี 1980
• การพักโทษได้ผลดีหรื อไม่
• ผูไ้ ด้รับการพักโทษส่ วนใหญ่กลับไปสู่เรื อนจาภายในสามปี นับแต่ได้รับพักโทษ
– เรื อนจาช่วยให้นกั โทษปรับตัวสู่โลกภายนอกน้อยมาก
– บุคลิกภาพต่อต้านสังคม การใช้ยาเสพติดและปัญหาไม่ปกติในครอบครัวเป็ น
ส่ วนสาคัญทาให้ผตู ้ อ้ งขังกระทาความผิดซ้ า
จบการนาเสนอ