prisoner`s rights Thai version

Download Report

Transcript prisoner`s rights Thai version

สิ ทธิของนักโทษ
(Right of Prisoners)
ชีวติ ในเรือนจำ สิ ทธิผ้ ูต้องขัง กำรปล่ อย
และกำรกระทำควำมผิดซ้ำ
สั งคมผู้ต้องขัง
ในหนังสื อ Asylums, ผู้เขียน Erving Goffman เรียกเรือนจำว่ ำ
เป็ น (สถำบัน) ทีค่ วบคุมทุกสิ่ งทุกอย่ ำง total institutions.
แม้วา่ เรื อนจาจะได้รับอิทธิพลจากโลกภายนอก แต่กถ็ ูกแยกและ
ตัดขาดจากโลกภายนอก
สถำบันทีค่ วบคุมทุกสิ่ งทุกอย่ ำง
สิ่ งแวดล้อมภายในเรื อนจาที่นกั โทษอยูร่ ่ วมกันถูกตัดขาดจาก
สังคมภายนอกและนักโทษได้รับการคาดหวังว่าจะใช้ชีวติ อยู่
ตามกฎ ข้อบังคับและระเบียบของเรื อนจา
สั งคมผู้ต้องขัง
ศูนย์กลางที่ยดึ เหนี่ยวของสังคมนักโทษชายได้แก่ประมวลการ
ประพฤติปฏิบตั ิของนักโทษ (convict code)
ประมวลกำรปฏิบัติ
ประมวลฯเป็ นที่รวมของค่านิยม บรรทัดฐาน และบทบาทที่
กาหนดวิธีการปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักโทษด้วยกันเองและกับผู้
คุม
สั งคมผู้ต้องขัง
หลักการของประมวลการปฏิบตั ิประกอบด้วย
• ผูต้ อ้ งขังควรสนใจเฉพาะเรื่ องของตนเอง
• ผูต้ อ้ งขังไม่ควรแจ้งการกระทาที่ผดิ กฎหมายของนักโทษคนอื่นให้ผู้
คุมทราบ
• ผูต้ อ้ งขัง ควรวางตัวเฉยไม่สนใจไม่ยงุ่ เกี่ยวกับผูค้ ุม
• การฉ้อฉล ฉ้อโกง เจ้าเล่ห์เพทุบายเป็ นการกระทาที่ได้รับการยกย่อง
กระบวนกำรขัดเกลำในเรือนจำ (prisonization)
กระบวนการที่นกั โทษมีปฏิสมั พันธ์กบั จารี ตประเพณี และ
หลักการต่าง ๆในสังคมของผูต้ อ้ งขัง
ควำมรุนแรงและกำรตกเป็ นเหยือ่
โดยทัว่ ไปเป็ นที่ยอมรับกันว่ามีการใช้กาลังและความ
รุ นแรงใน (เรื อนจา) สังคมผูต้ อ้ งขังชายมากขึ้นกว่าแต่
ก่อน
ควำมรุนแรงและกำรตกเป็ นเหยือ่
เหตุผลการใช้ความรุ นแรงในอัตราสูงในเรื อนจาที่กล่าวอ้างกัน
โดยทัว่ ไปรวมถึง
• การจัดการไม่เหมาะสมและวิธีการในการจาแนกประเภทผูต้ อ้ งขังของ
ผูบ้ ริ หาร
• ความหนาแน่นของผูต้ อ้ งขังและการแย่งชิงทรัพยากร
• ผูต้ อ้ งขังมีอายุนอ้ ยในเรื อนจาหลายแห่ง
• มีความตึงเครี ยดทางด้านชาติพนั ธ์ของผูต้ อ้ งขังและการตั้งแกง
ควำมรุนแรงและกำรตกเป็ นเหยือ่
แรงจูงใจโดยทัว่ ไปในกำรใช้ ควำมรุนแรงในเรือนจำได้ แก่
• เพื่อแสดงอานาจและการครอบงาผูต้ อ้ งขังอื่น ๆ
• เพื่อแก้แค้นสิ่ งตนเห็นว่าผิด เช่น การไม่ชาระหนี้ การทาผิด
กฎ ฯลฯ
• เพื่อป้ องกันผูก้ ระทาผิดจากการตกเป็ นเหยือ่ อีกในอนาคต
กำรแก้ ปัญหำและกำรปรับตัวของผู้ต้องขัง
ชีวติ ในเรื อนจาแตกต่างจากการใช้ชีวติ ในชุมชนเสรี ชีวิตใน
เรื อนจารวมถึง
• การขาดเสรี ภาพส่ วนตัวและสิ่ งของเครื่ องใช้ (สิ นค้า)
• สูญเสี ยความเป็ นส่ วนตัว
• การแย่งชิงทรัพยากรที่ขาดแคลน
• มีความรู ้สึกไม่มนั่ คงสูงมาก ความเครี ยด และสิ่ งที่คาดคะเน
ไม่ได้
กำรแก้ปัญหำและกำรปรับตัวของผู้ต้องขัง
ชีวติ ในเรือนจำส่ งเสริมควำมจำเป็ นในกำรแสวงหำกำรมีชีวติ ที่
มีประสิ ทธิภำพในสั งคมเสรีภำยนอกเรือนจำ โดย
• ไม่ส่งเสริ มให้มีความรับผิดชอบและเป็ นอิสระ
• ทาให้ตอ้ งการพึ่งพิงเจ้าหน้าที่เรื อนจาอย่างมาก
• การควบคุมเหตุการณ์ในชีวิตของตนเองมีนอ้ ยลง
ชีวติ ในเรือนจำหญิง
ชีวติ ในเรือนจำหญิงคล้ ำยคลึงกับชีวติ ในเรือนจำชำยบำง
ประกำร แต่ มีบำงอย่ ำงที่แตกค่ ำงกันอย่ ำงสำคัญ
• เรื อนจาหญิงมักไม่มีระดับหรื อลักษณะการใช้ความรุ นแรง ความ
ขัดแย้งส่ วนบุคคล และความตึงเครี ยดระหว่างเชื้อชาติในเรื อนจาชาย
• เรื อนจาหญิงมีการใช้อานาจน้อยกว่า
ชีวติ ในเรือนจำหญิง
ลักษณะสั งคมผู้ต้องขังในเรือนจำหญิงทีแ่ ตกต่ ำงจำกชำยได้ แก่
กำรมีควำมเชื่อในควำมเป็ นครอบครัว เรียกว่ ำครอบคัวเทียม
(pseudofamily)
• ผูห้ ญิงจะนาบทบาทผูช้ ายและผูห้ ญิงมาใช้ในเรื อนจา
• ความเป็ นเครื อญาติจะอยูข่ า้ มเส้นแบ่งชาติพนั ธ์
สิ ทธิผ้ ูต้องขังและกำรปฏิรูป
วิวฒ
ั นำกำรเรือนจำในอดีตจนถึงในตอนกลำงศตวรรษที่ 20
ศำลยึดปรัชญำไม่ เข้ ำไปยุ่งเกีย่ วกิจกำรเรือนจำ
ด้วยเหตุน้ ีนกั โทษจึงไม่มีสิทธิพลเมืองที่เป็ นสาระสาคัญ เมื่อ
ขบวนการสิ ทธิพลเมืองเจริ ญเติบโตในทศวรรษ 1960 จึงได้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในเรื อนจาในสหรัฐอเมริ กา
กระบวนกำรนิติธรรมในเรือนจำ
ผูต้ อ้ งขังที่ทาผิดกฎของเรื อนจาจะถูกลงโทษทางวินยั ศาล
สูงสุ ดของของสหรัฐ (The U.S. Supreme Court) พิพากษาว่า
นักโทษมีสิทธิได้รับการพิจารณาตามกระบวนการที่เป็ นธรรม
(due process) รวมถึง
• การพิจารณาทางวินยั โดยคณะกรรมการที่เป็ นกลาง
• ได้รับการแจ้งข้อหาเป็ นหนังสื อภายใน 24 ชัว่ โมง
continued…
กระบวนกำรนิติธรรมในเรือนจำ
• การแจ้งพยานหลักฐานการลงโทษเป็ นหนังสื อพร้อม
ด้วยเหตุผลการลงโทษทางวินยั
• มีสิทธิเรี ยกพยานและเสนอพยานหลักฐานเป็ นหนังสื อ
ทั้งนี้ตอ้ งไม่เป็ นอันตรายต่อการรักษาความปลอดภัย
ของเรื อนจา
เสรีภำพในกำรพูด (Free Speech)
ศำลสู งสุ ดของสหรัฐฯ พิพำกษำว่ ำกำรตรวจจดหมำย เช่ นกำร
ตรวจจดหมำยทีส่ ่ งออกจำกเรือนจำจะชอบด้วยกฎหมำยก็
ต่ อเมื่อมีประโยชน์ ที่มีสำระสำคัญทำงด้ ำน
• การรักษาความปลอดภัย (Security)
• ความสงบเรี ยบร้อย (Order)
• การแก้ไขฟื้ นฟู (Rehabilitation )
เสรีภำพในศำสนำ
ผู้ต้องขังมีเสรีภำพในกำรปฏิบัตกิ จิ ทำงศำสนำทั้งตำมประเพณี
หรือมิใช่ ในเรือนจำ และเจ้ ำหน้ ำที่เรือนจำมีหน้ ำที่ต้องจัด
สถำนที่ให้
• การจากัดเสรี ภาพเช่นว่านั้นจะกระทาได้เมื่อเจ้าหน้าที่
เรื อนจา แสดงให้เห็นได้วา่ การปฏิบตั ิกิจศาสนาเป็ นการไม่
ปลอดภัยหรื อมีค่าใช้จ่ายที่สูงโดยไม่สมควร
สิ ทธิทไี่ ม่ ได้ รับกำรปฏิบัตอิ ย่ ำงทำรุ ณโหดร้ ำย
รัฐธรรมนูญบัญญัติมิให้มีการลงโทษที่ทารุ ณโหดร้ายหรื อการ
ลงโทษที่ผิดธรรมดา
ศาลสหรัฐฯได้พิจารณาประเด็นนี้มากมายหลายคดี
กำรบริกำรทำงกำรแพทย์
ในปี ค.ศ. 1976 ศาลสูงสุ ดของสหรัฐได้มีคาพิพากษาในคดี
Estelle v. Gamble ความว่าผูต้ อ้ งขังมีสิทธิ ได้รับบริ การทาง
แพทย์อย่างเพียงพอ
ผูต้ อ้ งขังที่ยกข้ออ้างรัฐธรรมนูญมาตรานี้ ต้องแสดงให้เห็นว่า
เจ้าหน้าที่ไม่สนใจใยดีในปั ญหาอาการเจ็บป่ วยร้ายแรงของ
ผูต้ อ้ งขัง
สภำพของเรือนจำ
สภาพในเรื อนจาทั้งหมดของเรื่ องที่เกี่ยวข้องการอ้างนี้มี
การรวมการปฏิบตั ิต่าง ๆและเงื่อนไขที่ทาให้เรื อนจาทั้ง
มวลหรื อโดยรวมขัดต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ
• ในคดี Ruiz v. Estelle เรื อนจำทั้งระบบของรั ฐเทกซัส
ขัดต่ อรั ฐธรรมนูญด้ วยเหตุผลว่ ำสภำพเรื อนจำทั้งหมด
ไม่ เหมำะสมและศำลสั่งให้ ดำเนินกำรแก้ ไขหลำย
ประกำร
กำรปลดปล่ อยและกำรกระทำผิดซ้ำ
ในสหรัฐฯ ผู้ต้องขังอำจได้ รับกำรปลดปล่ อยหลำยวิธีได้ แก่
• ครบกาหนดโทษตามคาพิพากษา
• กำรลดโทษหรืออภัยโทษ (Commutation)
• การพักการลงโทษ
• การปล่อยโดยคาสัง่ ของผูม้ ีอานาจ (Mandatory release)
กำรลดโทษ
กำรลดโทษจำกคำพิพำกษำครั้งแรกโดยอำนำจของฝ่ ำยบริหำร
ปกติจะกระทำโดยผู้ว่ำรำชกำรของรัฐ
ถ้าคดีอาญาอยูใ่ นเขตอานาจศาลของรัฐนั้น ถ้าอยูใ่ นเขตอานาจ
ศาลสหรัฐเป็ นอานาจของประธานาธิบดี
กำรปลดปล่อยและกำรกระทำผิดซ้ำ
เมื่อปล่อยผูต้ อ้ งขังออกจากเรื อนจา เราคาดว่าเขาจะไม่
กลับไปกระทาผิดอีก (recidivism.)
กระทำควำมผิดซ้ำหมำยถึง
การกลับไปกระทาความผิดอีกหลังจากได้รับการ
ปลดปล่อย (release)
กำรปลดปล่อยและกำรกระทำผิดซ้ำ
ในการศึกษาหนึ่งผูต้ อ้ งขังที่ได้รับการปลดปล่อยกลับไป
กระทาความผิดอีกถึงร้อยละ 40 และถูกจับอีกหรื อผู้
ได้รับการพักการลงโทษถูกเพิกถอนการพักการลงโทษ
การศึกษาอื่น ๆพบอัตราการกระทาผิดซ้ าสู งถึงร้อยละ 75
กำรปลดปล่อยและกำรกระทำผิดซ้ำ
ลีนน์ กูดสไตน์ (Lynne Goodstein) แสดงผลการวิจยั ให้
เห็นว่าผูต้ อ้ งขังที่สามารถปรับตัวในเรื อนจาได้ผลดีจะ
ประสบความยากลาบากในการปรับตัวในสังคมภายนอก
ที่ตนเองได้รับเสรี ภาพหลังจากได้รับการปล่อยตัวแล้ว