ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (Principle o

Download Report

Transcript ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (Principle o

ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับกฎหมาย
(Principle of Jurisprudence)
โดย
อาจารย์ กาญจณา สุ ขาบูรณ์
Hotmail-Hi5: [email protected]
ความหมายและความสาคัญของกฎหมาย
(Definition and Significance of Law)
ทีใ่ ดมีสังคม ที่นั่นมีกฎหมาย
(Ubi Societas, Ibi Jus)
ความหมายของกฎหมาย
Black’s Law Dictionary
- ตัวกฎข้ อบังคับการกระทาหรือความประพฤติโดยองค์
อานาจทีค่ วบคุมอยู่และมีความผูกพันทางกฎหมาย
- คาสั่ งทีผ่ ูกพันให้ บุคคลปฏิบัตติ ามหรือไม่ ปฏิบัติตามใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
- สิ่ งที่ต้องเชื่อฟังและปฏิบัติตามโดยประชาชน มิฉะนั้นจะ
ถูกบังคับหรือต้ องรับผลทางกฎหมาย
1. ความหมายตามลักษณะการเกิดขึน้ และวิวฒ
ั นาการ
Organized Sanction
กฎเกณฑ์ ทเี่ ป็ นแบบแผนความประพฤติของมนุษย์ ใน
สั งคมซึ่งมีกระบวนการบังคับทีเ่ ป็ นกิจจะลักษณะ
มนุษย์ กบั กฎหมายมีววิ ฒ
ั นาการมาพร้ อมกันอย่ างเป็ นระบบ
บทบัญญัติหรือเนือ้ หาของกฎหมายประกอบด้ วยแหล่ งทีม่ าเป็ น
สามชั้นซ้ อนทับกันอยู่ เรียกว่ า กฎหมายสามชั้น
1. ความหมายตามลักษณะการเกิดขึน้ และวิวฒ
ั นาการ
กฎหมายสามชั้น (The Three-layer of law)
1. กฎหมายชาวบ้ าน (Volksrecht)
- Simple Natural Reason
2. กฎหมายของนักกฎหมาย (Juristenrecht)
- การใช้ เหตุผลปรุงแต่ งทางกฎหมาย (Artificial Juristic
Reason)
3. กฎหมายเทคนิค (Technical law)
2. ความหมายตามแนวคิดแบบสานักกฎหมาย
บ้ านเมือง
(Legal Positivism)
เหตุผล : การเกิดขึน้ ของรัฐสมัยใหม่ (Modern-State)
อานาจอธิปไตย (Sovereignty) และความเชื่อแบบ
วิทยาศาสตร์
John Austin
กฎหมาย คือ คาสั่ งคาบังคับบัญชาของรัฐาธิปัตย์ ผู้ใดฝ่ า
ฝื นไม่ ปฏิบัตติ ามย่ อมถูกลงโทษ
พระเจ้ าบรมวงศ์ เธอกรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธิ์
- สานักกฎหมายธรรมชาติ (Natural Law)
กฎหมายเป็ นสิ่ งทีเ่ กิดขึน้ และมีอยู่ตามธรรมชาติ สู ง
กว่ าก.ม.ทีม่ นุษย์ บัญญัติ ใช้ ได้ ไม่ จากัดกาลเทศะ หาก
ก.ม.ทีม่ นุษย์ บัญญัตขิ นึ้ ขัดหรือแย้ งกับก.ม.ธรรมชาติ
ย่ อมเป็ นโมฆะ ไม่ มีค่าบังคับ
Plato
Aristotle
- สานักกฎหมายประวัติศาสตร์ (Historical Law)
กฎหมายเป็ นผลผลิตจากจิตวิญญาณประชาชาติ
(Volksgeist) ของคนในชาติน้ันๆ โดยมีรากเหง้ าหยัง่
ลึกอยู่ในประวัตศิ าสตร์ ของแต่ ละชาติ
• Savigny
Cicero
ความหมายตามแนวคิดสานักกฎหมายธรรมชาติ
กฎหมาย คือ เหตุผลที่ถกู ต้องสอดคล้องกับ
ธรรมชาติ แผ่ซ่านไปในทุกสิ่งทุกอย่าง สมา่ เสมอเป็ นนิ
รันดร์ ก่อให้เกิดหน้าที่ท่ีจะต้องทาโดยคาสัง่ หรือห้ามมิ
ให้กระทาความชัว่ โดยข้อห้าม เป็ นหน้าที่อนั ศักดิ์สิทธิ์ท่ี
จะต้องไม่บญ
ั ญัติกฎหมายให้ขดั แย้งกับกฎหมายนี้
กฎหมายไม่เป็ นอย่างหนึ่ งที่กรุงโรม และเป็ นอีกอย่าง
หนึ่ งในสมัยต่อมา แต่จะเป็ นกฎหมายอันเดียวชัว่
นิ รนั ดรไม่เปลี่ยนแปลง โดยผูกพันและบังคับทุกชาติ
ทุกภาษา ทุกยุค ทุกสมัย
3. ความหมายตามแนวทางพุทธศาสนา
โลกตะวันออก ยึดถือวัฒนธรรมกฎหมาย (Legal Culture)
กฎแห่ งธรรมสู งกว่ ากฎหมายทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้
คัมภีร์มานวธรรมศาสตร์ หรือ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์
คัมภีร์ที่ว่าด้ วยข้ อกาหนดความประพฤติปฏิบัติรวมทั้ง
ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีอนั สื บทอดกันมา
คดีอุทลุม
ความสาคัญของกฎหมาย
1. ความสาคัญของกฎหมายในเรื่องความยุตธิ รรม
Aristotle
อยุตธิ รรมย่ อมเกิดขึน้ เมือ่ ความเท่ ากันถูกทาให้ ไม่
ทัดเทียมกัน และเมื่อความไม่ เท่ ากันถูกทาให้
กลายเป็ นความทัดเทียมกัน
“สิ่ งที่เหมือนกันควรได้ รับการปฏิบัติอย่างเท่ า
เทียมกัน”
1. ความสาคัญของกฎหมายในเรื่องความยุตธิ รรม
1.1 ความยุตธิ รรมในเชิงแบ่ งสรรปันส่ วน (Distributive Justice)
การแบ่ งสรรปันส่ วนในทรัพย์ สิน ในสิ ทธิหน้ าที่ในเกียรติยศ
หรืออานาจทางสั งคม โดยคานึงถึงความแตกต่ างของแต่ ละ
บุคคล ประกอบคุณธรรม ความสามารถหรือผลงานต่ างๆของ
บุคคลนั้น
ได้ แก่ กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายภาษี
กฎหมายกาหนดค่ าจ้ าง
1. ความสาคัญของกฎหมายในเรื่องความยุตธิ รรม
1.2 ความยุตธิ รรมในเชิงชดเชยหรือทดแทน (Corrective Justice)
สื บเนื่องจากความยุตธิ รรมเชิงแบ่ งสรรปันส่ วน เมื่อมีการ
เบียดเบียนส่ วนของผู้อนื่ และเกิดความเสี ยหาย ต้ องมีการแก้ ไขให้
กลับคืนสู่ ความเป็ นธรรม
ได้ แก่ การกระทาความผิดทางอาญา การละเมิดชดใช้ ค่าเสี ยหาย ค่ า
สิ นไหมทดแทน
คาร์ ล มาร์ กซ์ ปฏิเสธความยุตธิ รรมแบบนายทุนนี้
ความสาคัญของกฎหมาย
1.2 ความสาคัญของกฎหมายในชีวติ ประจาวัน
มนุษย์ ทุกคนมีความคิดและการกระทาทีเ่ ป็ นอิสระ Free Will
1.3 ความสาคัญของกฎหมายทีม่ ีต่อรัฐ
เป็ นเครื่องมือทีส่ าคัญในการปกครองและใช้ เป็ นกลไกในการ
รักษาผลประโยชน์ ในสั งคมให้ มคี วามสมดุลกันจากความต้ องการ
และความขัดแย้ งของประโยชน์ ต่างๆ ในสั งคม
กฎหมายเป็ นวิศวกรรมสั งคม (Social Engineering)
คำถำม?????
บทที่ 2
ลักษณะของกฎหมาย
และวิวฒ
ั นาการของกฎหมายในระบบต่ างๆ
1. ลักษณะของกฎหมายตามการเกิดขึน้ และวิวฒ
ั นาการ
ของมนุษย์
1.1 กฎหมายต้ องเป็ นกฎเกณฑ์ ที่เป็ นแบบแผน
กฎหมายต้ องเป็ นกฎเกณฑ์ (Rule)
มีลกั ษณะเป็ นแบบแผน (Norm)
เป็ นเครื่องชี้วดั ความถูกผิดของความประพฤติมนุษย์
อย่ างมีมาตรฐาน
1. ลักษณะของกฎหมายตามการเกิดขึน้ และวิวฒ
ั นาการ
ของมนุษย์
1.2 กฎหมายต้ องมีกระบวนการบังคับที่เป็ นกิจจะลักษณะ
- การตอบโต้ แก้ แค้ นทดแทน ตาต่ อตาฟันต่ อฟัน
(An eye for an eye-A tooth for a tooth)
- การขับไล่ ผ้ ูฝ่าฝื นออกไปจากชุมชน เฉกเช่ นหมาป่ า
- การถ่ ายโอนกระบวนการบังคับไปให้ เจ้ าหน้ าที่บ้านเมืองอย่ างมี
ระบบระเบียบเป็ นกิจจะลักษณะ (Organized Sanction) ได้ แก่
ตารวจ อัยการ ศาล การบังคับโดยหน่ วยงานราชทัณฑ์
2. ลักษณะของกฎหมายตามแนวคิดแบบ
Legal Positivism
กฎหมายเป็ นสิ่ งทีถ่ ูกกาหนดขึน้ โดยจงใจของผู้มอี านาจ
John Austin
กฎหมายคือคาสั่ งของรัฏฐาธิปัตย์ เมื่อไม่ ปฏิบัตติ ามต้ องได้ รับโทษ
เรียกว่ า กฎหมายตามเนือ้ ความ
มีลกั ษณะสาคัญ 4 ประการ