รูปแบบการวิจัย

Download Report

Transcript รูปแบบการวิจัย

รูปแบบการวิจัย
(Research Design)
1
Research Designs
1. By
- Application Purpose
- Basic, Pure
- Applied
2. By
-
Objectives of R.
Formulative., Exploratory, Survey
Descriptive
Analytic
Experimental
2
การวิจัยคุณภาพ
3
ความหมายของการวิจยั เชิงคุณภาพ
คือ
 ระเบียบวิธีวิจยั ในการแสวงหาองค์ความรู้
 เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม
 ที่เกี่ยวข้ องกับการกระทาของมนุษย์
 โดยพิสจู น์และตรวจสอบเรื่ องราว
 ด้ วยการสืบค้ นข้ อมูลในมุมมองจากโลกภายนอกของนักวิจยั (อัตวิสยั ใน
การค้ นหาคาตอบ)
4
แนวคิดพื้นฐานในการวิจยั
๑
แนวคิดปฏิฐานนิยม (Positivism)
๒
แนวคิดปรากฎการณ์นิยม (Phenomenology)
5
แนวคิดปฏิฐานนิยม
-
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ หลักกฎเกณฑ์ธรรมชาติ
ทฤษฎี เป็ นฐาน (deductive/นิรนัย)
ควบคุมสถานการณ์
ข้ อมูลประจักษ์ , จากัดขอบเขตตัวแปร (OD)
ทดสอบเชิงสถิติ
6
แนวคิดปรากฎการณ์นิยม
-
ข้ อมูลประจักษ์ เป็ น Facts (ไม่ใช่ truth, reality)
ศึกษาบริบท, สัมผัสปรากฎการณ์
ไม่ใช้ ทฤษฎีเป็ นกรอบ (inductive/อุปนัย)
ตัวแปรอ่อน
- นามธรรม (ความรู้สกึ ค่านิยม อุดมการณ์ ความเชื่อ)
- มิติ
- ความหมาย, คาอธิบาย
7
ลักษณะที่สาคัญของการวิจยั เชิงคุณภาพ
๑. Holistic and Multi-facet approach
ศึกษาปรากฎการณ์จากหลากหลายแง่มมุ
๒. Natural or field setting
ศึกษาในสภาวะแวดล้ อมและบริบทสังคม
๓. Intangible Variables
ตัวแปร เน้ นเกี่ยวกับด้ านความรู้สกึ นึกคิด จิตใจ และความหมาย
8
๔. Human value
เน้ น คุณค่าความเป็ นมนุษย์ของผู้ถกู วิจยั
๕. In-depth and long-term study
ศึกษาเจาะลึก ระยะเวลาศึกษายาวนาน
๖. Descriptive and Inductive analysis
วิเคราะห์และการนาเสนอ เป็ นลักษณะพรรณนาและบรรยาย
9
หลักเกณฑ์การทาวิจยั คุณภาพ
วิธีการเก็บข้ อมูล
-
สัมผัส ตรง ไม่ผา่ นสื่อกลาง (proxy)
ไม่ใช้ ทฤษฎี นาทาง, กาหนดวิธีคิด
ปราศจากอคติทางวิชาการ (Intellectual bisa)
Facts VS Truth
10
ความสัมพันธ์
-
แลกเปลี่ยน
เสรี อิสระ
มีสว่ นร่วม
เท่าเทียม
ไว้ วางใจ (good rapport)
11
ลักษณะข้ อมูล
-
ข้ อมูลบริบท
ข้ อมูลธรรมชาติ
ข้ อมูลเชิงลึก, สาเหตุ(เดี่ยว, สะสม, ซับซ้ อน)
กระบวนการ
12
การวิเคราะห์
-
ทาตลอดเวลา – เวลาเดียวกัน, ใกล้ เคียง
ทาซ ้าๆ หลายครัง้ ทบทวน
ตรวจสอบ แก้ ไข ปรับปรุง
ไม่มีคาตอบล่วงหน้ า
ศึกษาข้ อมูลก่อน –นามาประมวล – เพื่อตังสมมติ
้
ฐาน
พรรณนา, บรรยาย ข้ อมูล
สร้ างข้ อสรุปแบบอุปนิสยั
เปรี ยบเทียบ
13
คุณสมบัติของนักวิจยั คุณภาพ
- Collaborative
- Sensitive
- Integrity
- Reflexivity
- Skill
theoretical
social
14
วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย 4 วิธีที่สาคัญ คือ
๑.
๒.
๓.
๔.
การสังเกต
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
การสนทนากลุม่
การศึกษาประวัติชีวิต
15
การสังเกต
มี 2 รูปแบบ คือ
๑. การสังเกตโดยตรง (direct observation)
๒. การสังเกตแบบมีสว่ นร่วม (participant observation)
16
สิ่ งที่นกั วิจยั ต้องสังเกต
๑. การกระทา (acts) เหตุการณ์ หรื อพฤติกรรมที่เกิดขึ ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่
๒. กิจกรรม (activities) เหตุการณ์ สถานการณ์ หรื อกิจกรรมที่กระทาใน
ลักษณะต่อเนื่องแบบแผนปฏิบตั ิอย่างเป็ นกระบวนการ มีขนตอน
ั้
๓. ความหมาย (meaning) คือ การที่บคุ คลอธิบาย หรื อให้ ความหมาย
เกี่ยวกับการกระทาหรื อกิจกรรม
๔. ความสัมพันธ์ (relationship) คือลักษณะความเกี่ยวข้ องระหว่างบุคคล
ลักษณะยึดโยงกัน แบบแผน
๕. การมีส่วนร่ วม (participation) การปรับตัว การยอม ตามกลุม่ การเข้ า
ร่วมในกิจกรรมของกลุม่ ในสถานการณ์ตา่ งๆ
๖. สภาพสังคม (setting) คือ สภาพสนาม
17
Unstructured Observation
- Participant as observer
• Member
- Observer as participant
• Participant - Complete participants
• Non-member - Complete observer
•Levels of
participation
•Free-broad, no frame
•Systematic Notation of Event
•Interpretation on meaning in the
contextual circumstance
•Actual site
•People desire to cooperate
การบันทึก
บันทึกย่อ
บันทึกภาคสนาม
การทาบันทึก
• จา
• จดข้อความสาคัญ
• Diary (บันทึกภาคสนาม)
- สภาพเหตุการณ์
- เหตุการณ์ที่ตกบันทึก
- ผลการวิเคราะห์เบือ้ งต้น
- ความรู้สึกส่วนตัว
- ข้อมูลที่ต้องการ
• Eardropping
ดูความ
สอดคล้องกับบริ บท
ดูความเป็ นไปได้
ของข้อสังเกตอื่นๆ
ผู้วจิ ัย
การตรวจสอบ
ต่างวิธีการเก็บ
ความถูกต้ อง-เชื่อถือของข้ อมูล
เทคนิคสามเส้ า
Triangular
ทวนความ
คาตอบ
ต่างระยะเวลา
ต่างแหล่งข้อมูล
ต่าง……
ต่างสถานที่
Drawbacks
•
•
•
•
•
•
Unexpected Events
One Event at one time
Small Group Context
Validity, Reliability
Personal Behavior
Errors (Observer Bias)
การสั มภาษณ์ แบบเจาะลึก
In-depth Interview
ความหมาย
เป็ นการสนทนาที่มีจดุ มุง่ หมายชัดเจน เพื่อการเรี ยนรู้ และความเข้ าใจระดับ
ลึกในประเด็นการวิจยั (Erlandson et al, 1993)
- Structured การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้ าง
- Unstructured การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้ าง
- Semi structured การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้ าง
23
การสัมภาษณ์เชิงคุณภาพ
 คำถำมปลำยเปิ ด
 ยืดหยุน
่
 กำรสัมภำษณ์ดำเนินไปเสมือนเป็ นกำรสนทนำในชีวต
ิ ประจำวัน
ความสาเร็จขึน้ อยู่กบั
 ผูใ้ ห้สม
ั ภำษณ์ (key informant, information-rich cases)
 ทักษะกำรสัมภำษณ์ของนักวิจยั และกำร “ทำกำรบ้ำนอย่ำงดี” ก่อน
กำรสัมภำษณ์
 สถำนกำรณ์ -- บรรยำกำศทีเ่ หมำะสม
 มีกำรบันทึกกำรสัมภำษณ์ทด
่ี ี
 แนวคำถำม (interview guidelines)

คุณสมบัติของผูส้ มั ภาษณ์เชิงคุณภาพที่ดี









มีความรูล้ ึกและกว้างในเรือ่ งทีส่ มั ภาษณ์
ดาเนินการสัมภาษณ์อย่างเป็ นระบบและมีโครงสร้างที่
เหมาะสม
ถามคาถามชัดเจน เข้าใจง่าย
สุภาพ
จับประเด็นเก่ง
เปิ ดกว้าง สาหรับคาตอบทุกรูปแบบ
คุมสถานการณ์ในการสัมภาษณ์เก่ง
เป็ นนักฟังทีด่ ี ฟังอย่างวิพากษ์
จาเก่ง ตีความเก่ง
Unstructured Interactive Interview
การสนทนาที่เปิ ดกว้ าง ให้ นกั วิจยั ได้ “เจาะ” หาข้ อมูลที่ต้องการ
อย่างไม่จากัด จะใช้ หรื อไม่ใช้ แนวคาถามที่เตรี ยมไว้ ลว่ งหน้ า ก็ได้ (ใช้ ได้
ดีกบั การสัมภาษณ์เชิงเล่าเรื่ อง narrative interview)
-
ไม่มีความรู้ หรือรู้น้อยในประเด็นที่สมั ภาษณ์
ไม่มีรายการคาถามเตรียมไว้
ผูใ้ ห้ข้อมูลเล่าเรื่อง
ตัง้ ใจฟัง, ไม่ขดั จังหวะ, ตอบสนอง
ไม่รบั รอง (non - commited)
ไม่สะท้อนความรู้สึก (non-reflective listening process)
เตรียมรับสถานการณ์
26
Semi structured Interview
ใช้ กนั มาก นักวิจยั ใช้ แนวคาถามเป็ นแนวทางดาเนินการ แต่
คาถาม และลาดับการถามสามารถยืดหยุน่ ได้
• มีแนวคาถามที่ชดั เจน (คาปลายเปิ ด)
• ดาเนินการสัมภาษณ์ไปตามลาดับคาถามที่เตรี ยมไว้
• อาจถามออกนอกกรอบแนวคาถามที่วางไว้ ได้ แต่ควรจากัดอยู่
ในประเด็นที่เกี่ยวข้ องกับเรื่ องที่สมั ภาษณ์
27
แนวคาถาม (interview guidelines)
• รายการของสิ่งที่ต้องถามในการสัมภาษณ์ ที่นกั วิจยั ต้ องเตรี ยมไว้
ล่วงหน้ า
• เป็ นเครื่ องมือสาคัญเบื ้องต้ นในการเก็บข้ อมูล (อาจเปรี ยบเหมือน
แบบสอบภามในการวิจยั เชิงปริมาณ)
• ต้ องเตรี ยมอย่างพิถีพิถนั และทดสอบจนอยูต่ วั และเป็ นที่พอใจ
ก่อนนาไปใช้ ในการเก็บข้ อมูล
28
การสร้ างแนวคาถาม
• ยึดคาถามและวัตถุประสงค์ของการวิจยั เป็ นหลัก
- ตีโจทย์การวิจยั ให้ แตก ว่าจะต้ องรู้เรื่ องอะไรบ้ างจึงจะตอบโจทย์การ
วิจยั ได้ อย่างดีที่สดุ
- “แปล” สิง่ ที่ต้องรู้นนออกมาเป็
ั้
นประเด็นหรื อ concept สาคัญๆ
• “แปล” แต่ละประเด็น หรื อ concept เหล่านันออกเป็
้
นคาถาม
ปลายเปิ ด
• ประเด็น / มโนทัศน์ หนึง่ ๆ อาจประกอบด้ วยชุดคาถามที่เกี่ยวข้ องกัน
หลายข้ อ (แต่ก็ไม่ควรมากข้ อเกินไป)
• สาหรับแต่ละคาถามควรเตรี ยมประเด็นเพื่อการซักต่อ (list of
probes)ไว้ ด้วย
29
FOCUS GROUP DISCUSSION (FGD)
 Interview Guideline
 ทักษะ
 บริบท
- Homogeneous เกีย่ วข้องกับปญั หำ
- Anonymity -ข้อมูลนิรนำม ไม่รวู้ ำ่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลคือใคร
 ผูด้ ำเนินกำร
- นำกำรสนทนำ
- บุคลิกภำพ กำรสือ่ สำร
- ภำษำถิน่
30
FOCUS GROUP DISCUSSION (FGD)
 สถำนที่
- เป็ นกลำง
- ถูกรบกวน
 กำรแทรกแซงจำกภำยนอก
 กำรจดบันทึก
 ผูเ้ ก็บข้อมูล ประเมินข้อมูล วิเครำะห์ขอ้ มูล
 ต้องเป็ นกลำง
 อยูต่ ลอดเวลำ
 กำรวิเครำะห์
 เนื้อหำหลัก
 บรรยำย
31
ข้ อควรตระหนัก
ผู้ดาเนินการสนทนากลุ่ม(moderator)
• ไม่ใช่ครู อย่าสอนใครในขณะดาเนินการสนทนากลุม่
• ไม่ใช่ผ้ พู ิพากษา อย่าตัดสินความคิดเห็นของใครว่าถูก หรือผิด
• อย่าดูถกู ความคิดของสมาชิกกลุม่ และอย่าเอาเรื่ องคนอื่นมานินทา หรื อ
สรรเสริญ ให้ กลุม่ ฟั ง
• งดเว้ นการแสดงความเห็นของตนร่วมกับสมาชิกกลุม่
• อย่าถามนา อย่าเอาคาพูดของตน “ใส่ปาก” สมาชิกกลุม่
32
หลักการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
คือกระบวนการทาให้ขอ้ มูล “พูด สังเกต” ออกมาเป็ นภาษาที่มี
ความหมาย และที่จะตอบโจทย์การวิจยั ของคุณได้
๑. กระทาพร้ อมๆ กับการเก็บรวบรวมข้ อมูล กระทาพร้ อมๆ กันไปตลอด
ระยะเวลาของการเก็บรวบรวมข้ อมูล
๒. อาศัยข้ อมูลที่เป็ นบริบทของปรากฎการณ์นนๆ
ั ้ เป็ นแนวทางในการ
วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อความเข้ าใจถึงความหมายและความสัมพันธ์
๓. คานึงถึง
๑) ทัศนะคนใน หมายถึง ผู้ที่ให้ ข้อมูลที่อยูใ่ นสถานการณ์นนจริ
ั ้ งๆ
๒) ทัศนะคนนอก หมายถึง มุมมองของผู้วิจยั
33
การวิเคราะห์เกิดขึ้ นได้ในทุกขั้นตอนของการวิจยั
กิจกรรมการวิจยั
เก็บข้ อมูล
จัดระเบียบข้ อมูล
กระบวน
การ
วิเคราะห์
แสดงข้ อมูล
หาข้ อสรุ ป / ตรวจสอบความถูกต้ อง
ระหว่างเก็บข้อมูล
ที่มา: ปรับปรุ งจาก Miles and Huberman, 1994: 10
หลังเก็บข้ อมูล
สิง่ ที่ตอ้ งทาการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
องค์ประกอบสาคัญ
จัดระเบียบข้อมูล
แสดงข้อมูล
สรุ ป / ตีความ
จัดระเบียบข้อมูล
จัดระเบียบข้อมูล
จัดระเบียบกายภาพ
ถอดเทป
บรรณาธิกรณ์
จัดระเบียบเนือ้ หา
ให้ รหัสข้ อมูล
ให้รหัสข้อมูล
ให้รหัสข้อมูล
อ่ านข้ อมูล
ให้ ขนึ้ ใจ
กาหนด
ประเด็นหลัก
มองหาข้ อความ
ทีม่ คี วามหมาย
สอดคล้ องกับ
ประเด็นหลัก
กาหนดรหัส
สาหรับ
แต่ ละ
ความหมาย
ทา
codebook
แสดงข้อมูล
แสดงข้อมูล
จัดกลุ่มข้อมูล
ทีใ่ ห้รหัสแล้ว
ตำมประเด็นหลัก
และประเด็นย่อย
ทำตำรำง
เปรียบเทียบ
ข้อมูล/
ควำมหมำย
จำกแต่ละกลุ่ม
มองหำ
Concepts
ทีจ่ ะตอบคำถำม
กำรวิจยั
เชือ่ มโยง
Concepts
ทีส่ มั พันธ์กนั
ให้มคี วำมหมำย
บรรยำยผลทีไ่ ด้
อย่ำงละเอียด
อภิปรายผล และหาข้ อสรุป
• ในขันนี
้ ้ อย่ าแสดงข้ อมูลใหม่ แต่ให้ นาเอาข้ อค้ นพบที่สาคัญจากการ
วิเคราะห์มาอภิปรายเป็ นเรื่ องๆ ให้ แต่ละเรื่ องเชื่อมโยงกันเป็ นภาพรวมกัน
เดียวกัน
• อภิปราย คือ การกล่าวถึงข้ อค้ นพบอย่างวิพากษ์ เช่น การที่ผลออกมา
เช่นนัน้ แปลว่าอย่างไร ทาไมผลที่ได้ จงึ เป็ นเช่นนัน้ ผลที่ปรากฏออกมานัน้
สามารถเชื่อมโยงกับผลการวิจยั อื่นในประเด็นเดียวกันได้ อย่างไร หรื อไม่
สามารถเชื่อมโยงกับแนวคิด ทฤษฎีที่มีอยูแ่ ล้ วอย่างไรบ้ าง
• และผลการวิจยั ที่ได้ นนมี
ั ้ นยั ยะทางนโยบายอย่างไร
39
สรุป
กระบวนการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงคุณภาพ
จัดระเบียบ
ข้อมูล
แสดงและ
เสนอผล
อภิปรำยผล
สรุป
40
ขอบคุณค่ะ
41