********* PowerPoint

Download Report

Transcript ********* PowerPoint

สอนโดย
ผู้จัดทา
ครูพนิดา
ทวีศักดิ์
ปฎิภาณ
กาลา
บัวกระโทก
สุขกุล
สัตว์ป่าสงวน

 สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าหายาก 15 ชนิด ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
พ.ศ.2535 ได้ แก่ แมวลายหินอ่อน พะยูน เก้ งหม้ อ นกกระเรียน เลียงผา กวางผา ละองหรือละมั่ง
สมัน กูปรี ควายป่ า แรด กระซู่ สมเสร็จ นกแต้ วแล้ วท้ องดา และนกเจ้ าฟ้ าหญิงสิรินธร
กระซู่






กระซู่
ชื่อสามัญ : Sumatran Rhinoceros
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicermocerus sumatraensis
ชื่ออื่น : แรดสุมาตรา
เป็ นแรดพันธุเ์ ล็กที่สดุ ในบรรดาแรด 5 ชนิดของโลก มี 2 นอ ความสูงที่ระดับไหล่ 1.0 - 1.4 เมตร นา้ หนัก 900-1,000 กก. มีขนปกคลุม
ทั้งตัว ปี นเขาเก่ง มีประสาทในการรับกลิ่นดีมาก เมื่อพบสิ่งกีดขวางจะไม่ข้าม แต่มักใช้ หัวดันให้ พ้นทางเดิน ชอบกินกิ่งไม้ ใบไม้ และผลไม้ ตก
ลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนานประมาณ 7-8 เดือน ปัจจุบันหายากมาก คาดว่าจะพบได้ ในบริเวณป่ าทึบตามแนวพรมแดนไทย-พม่า และ
ชายแดนไทย-มาเลเซีย รายงานล่าสุดในปี พ.ศ.2539 พบรอยเท้ าที่เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ นอกจากนี้ยังมีกระจัดกระจาย
ตามป่ าต่าง ๆ แห่งละตัวสองตัว เช่น แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ห้ วยขาแข้ ง จังหวัดอุทยั ธานี ฮาลา-บาลา จังหวัดนราธิวาส เขาสก จังหวัด
สุราษฎร์ธานี
เลียงผา





เลียงผา
ชื่อสามัญ : Serow
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capricornis sumatraensis
เป็ นสัตว์กบี คู่ มีเขาจาพวกแพะ ความสูงที่ระดับไหล่ 85-94 ซ.ม. นา้ หนักประมาณ 85-140 กก. อาศัยอยู่ตามภูเขาที่มี
หน้ าผาหรือถา้ สามารถเคลื่อนที่ในที่สงู ชันอย่างว่องไวและปราดเปรียวมาก สามารถว่ายนา้ ข้ ามระหว่างเกาะกับแผ่นดินได้ มี
อวัยวะรับสัมผัส ทั้งตา หู และจมูกดี กินพืชที่ข้ นึ อยู่ตามที่สงู ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 7-8 เดือน ปัจจุบันลดจานวน
ลงไปมากเนื่องจาก ถูกล่าเพื่อเอาเขาและทานา้ มันเลียงผา
สมัน






สมัน
ชื่อสามัญ : Schomburgk’s Deer
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cervus schomburgki
ชื่ออื่น : เนื้อสมัน
เป็ นกวางขนาดกลาง ความสูงระดับไหล่ 1 เมตร ได้ ช่ือว่ามีเขาสวยที่สดุ การแตกแขนงของเขาเมื่อโตเต็มวัยจะมีลักษณะคล้ ายสุ่มที่หงายขึ้น จึง
เรียกว่า "กวางเขาสุ่ม" ชอบกินยอดหญ้ าอ่อน ผลไม้ และใบไม้ อยู่รวมกันเป็ นฝูงเล็ก ๆ อาศัยอยู่เฉพาะที่ราบต่าในภาคกลางของประเทศไทย
เท่านั้น โดยเฉพาะบริเวณรอบ ๆ กรุงเทพฯ ปทุมธานี อยุธยา สมุทรปราการ สมันได้ สญ
ู พันธุไ์ ปโดยสมบูรณ์เมื่อราวปี 2475 แม้ แต่สมันตัว
สุดท้ ายของโลกก็ตายด้ วยมือของมนุษย์
กูปรี






กูปรี
ชื่อสามัญ : Kouprey
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bos sauveii
ชื่ออื่น : วัวเขาเกลียว(ลาว) โคไพร
เป็ นสัตว์ป่าตระกูลเดียวกับกระทิงและวัวแดง ความสูงที่ระดับไหล่ 1.7-1.9 เมตร นา้ หนักประมาณ 700-900 กก. อยู่รวมกันเป็ นฝูง 2-20
ตัว มีลักษณะพิเศษคือ ตัวผู้ท่โี ตเต็มที่มักจะมีปลายเขาที่แตกเป็ นพู่ เนื่องจากมันชอบใช้ เขาแทงดินเพื่องัดหาอาหารกิน ส่วนตัวเมียมีเขา
ลักษณะเป็ นวงเกลียว ชอบกินหญ้ า ใบไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนาน 9-10 เดือน พบในไทย ลาว เขมร และเวียดนามเท่านั้น ข้ อมูล
เกี่ยวกับกูปรีมีน้อยและยังถูกล่าอยู่เสมอเพราะเขามีราคาสูงมาก เป็ นที่ต้องการของนักสะสม มีแนวโน้ มว่าจะสูญพันธุไ์ ด้
นกกระเรี ยน






นกกระเรียน
ชื่อสามัญ : Sarus Crane
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Grus antigone sharpii
ชื่ออื่น : _
อยู่ในตระกูลนกบินได้ ขนาดใหญ่ท่สี ดุ สูงประมาณ 150 ซม. พบตามหนอง บึง และท้ องทุ่ง หากินเป็ นคู่และกลุ่มครอบครัว จับคู่แบบผัวเดียว
เมียเดียว กินแมลง สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์นา้ เมล็ดพืช และต้ นอ่อนของพืชนา้ ปัจจุบันไม่พบในประเทศไทยเพราะถูกล่ า และแหล่งที่อยู่อาศัย
ถูกทาลาย แต่ยังพบในประเทศลาวและเขมร
นกแต้วแล้วท้องดา






นกแต้ วแล้ วท้ องดา
ชื่อสามัญ : Gurney's Pitta
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pitta gurney
ชื่ออื่น : _
ขนาดลาตัววัดจากจงอยปากถึงโคนหางยาว 21 ซม. อาศัยอยู่เฉพาะในป่ าดิบที่ราบต่า ชอบทารังบนกอระกา และกอหวาย ซึ่งมีหนามแหลม
ชอบกินไส้ เดือน ส่งเสียกร้ อง "วัก วัก" เพื่อประกาศอาณาเขตและร้ องหาคู่ ส่งเสียงร้ อง "แต้ ว แต้ ว" ขณะตกใจ ฤดูผสมพันธุเ์ ริ่มเดือน
พฤษภาคม ปัจจุบันพบแห่งเดียวในโลก ที่เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าเขาประ-บางคราม (เขานอจู้จ้ ี) จ.กระบี่ คาดว่าเหลืออยู่ไม่เกิน 100 ตัว และ
มีแนวโน้ มว่าจะสูญพันธุใ์ นไม่ช้าเนื่องจาก ถิ่นที่อยู่กาลังถูกบุกรุกอย่างรุนแรง
ควายป่ า






ควายป่ า
ชื่อสามัญ : Wild Water Buffalo
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bubalus bubalis
ชื่ออื่น : มหิงสา
เป็ นบรรพบุรษุ ของควายบ้ าน ขนาดของลาตัวใหญ่กว่าควายบ้ าน รอบคอด้ านหน้ ามีรอยสีขาวเป็ นรูปพระจันทร์เสี้ยว
หงายอยู่ เรียกว่า "รอยเชียดคอ" ขาทั้งสี่มีสขี าวเหมือนใส่ถุงเท้ า แต่ในธรรมชาติมักไม่เห็นถุงเท้ านี้ เพราะควายป่ า
ชอบแช่และลุยปลักโคลนจนถุงเท้ าเปื้ อนไปหมด ความสูงที่ระดับไหล่ 1.6-1.9 เมตร นา้ หนักถึง 800-1,200 กก.
แต่ปราดเปรียวมาก ชอบนอนแช่ปลักให้ ดินโคลนพอกลาตัวเพื่อป้ องกันแมลงรบกวน มีนิสยั ชอบอยู่เป็ นฝูง เมื่อ
บาดเจ็บจะดุร้ายมาก กินใบไม้ หญ้ า และหน่อไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนานประมาณ 10 เดือน ปัจจุบันพบ
บริเวณเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าห้ วยขาแข้ ง จ.อุทยั ธานี เท่านั้น
แมวลายหิ นอ่อน

 แมวลายหินอ่อน
 ชื่อสามัญ : Marbled Cat
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pardofelis marmorata
 ชื่ออื่น : _
 เป็ นแมวป่ าขนาดกลาง นา้ หนักประมาณ 4-5 กก. อยู่ในป่ าดงดิบและป่ าดิบชื้น ชอบอยู่บนต้ นไม้ หากิน
ในเวลากลางคืน อาหารได้ แก่ แมลง งู นก หนู และสัตว์เลี้ยงลูกด้ วยนมขนาดเล็ก ปัจจุบันหายากมาก มี
รายงานพบเพียงไม่ก่แี ห่งเท่านั้น เช่น เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าห้ วยขาแข้ ง อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยาน
แห่งชาติเขาใหญ่ และอุทยานแห่งชาติทบั ลาน
กวางผา






กวางผา
ชื่อสามัญ : Goral
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Naemorhedus griseus
ชื่ออื่น : ม้ าเทวดา
มีลักษณะคล้ ายแพะ ความสูงที่ระดับไหล่ 50-70 ซม. นา้ หนักประมาณ 20-32 กก. มีขาแข็งแรงสามารถกระโดดตาม
ชะง่อนผาได้ อย่างว่องไวและแม่นยา พบตามยอดเขาสูงชัน สูงจากระดับนา้ ทะเลมากกว่า 1,000 เมตร ซึ่งมีอากาศ
หนาวเย็นเกือบตลอดปี อาหารได้ แก่ พืชตามสันเขาและหน้ าผาหิน ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนาน 6-8 เดือน อายุ
ประมาณ 8-10 ปี ปัจจุบันเหลืออยู่จานวนน้ อย พบบริเวณเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าแม่ต่นื จ.ตาก
สมเสร็ จ

 สมเสร็จ
 ชื่อสามัญ : Malayan Tapir
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tapirus indicus
 ชื่ออื่น : ผสมเสร็จ
 เป็ นสัตว์หากินกลางคืน นา้ หนักประมาณ 250-300 กก. มีประสาทสัมผัสทางกลิ่นและเสียงดีมาก มีจมูก
เหมือนงวงช้ าง รูปร่างเหมือนหมู เท้ าเหมือนแรด จึงเรียกว่าผสมเสร็จหรือสมเสร็จ มักหากินตามที่รกทึบ
ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนาน 13 เดือน พบบริเวณป่ าชายแดนไทย-พม่า ตลอดลงไปจนถึงภาคใต้ ของ
ไทย
เก้งหม้อ

 เก้ งหม้ อ
 ชื่อสามัญ : Fea’s Barking Deer
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Muntiacus feai
 ชื่ออื่น : เก้ งดา, กวางจุก
 เป็ นเก้ งที่มีสคี ลา้ กว่าเก้ งธรรมดา ทางด้ านบนสีดาตัดกับสีขาวด้ านล่างชัดเจน บริเวณโคนเขามีขนยาวแน่น
และฟูเป็ นกระจุก ชอบอาศัยอยู่เดี่ยว ๆ ในป่ าดงดิบตามลาดเขา จะอยู่เป็ นคู่เฉพาะในฤดูผสมพันธุเ์ ท่านั้น
กินใบไม้ หญ้ าและผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนาน 6 เดือน พบบริเวณชายแดนไทย-พม่า และใน
ภาคใต้ ของไทย เป็ นสัตว์ในตระกูลกวางที่หายากที่สดุ ชนิดหนึ่งของโลก
แรด






แรด
ชื่อสามัญ : Javan Rhinoceros
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhinoceros sondaicus
ชื่ออื่น : แรดชวา
มีนอเดียว ความสูงที่ระดับไหล่ 1.70-1.75 เมตร นา้ หนัก 1,500-2,000 กก. ชอบนอนในปลัก โคลนตม หนอง
นา้ เพื่อไม่ให้ ถูกแมลงรบกวน มีสายตาไม่ค่อยดีนัก แต่ประสาทสัมผัสในการรับกลิ่นดีมาก ชอบกินยอดไม้ ใบไม้
และผลไม้ ตกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนาน 16 เดือน อาศัยอยู่ในป่ าทึบ โดยเฉพาะบริเวณที่มีแหล่งนา้ อุดมสมบูรณ์
ครั้งหนึ่งเคยมีพบในบริเวณป่ าชายแดนไทย พม่า ลงไปทางใต้ แต่ไม่มีใครพบแรดในธรรมชาติในเมืองไทยเป็ นเวลา
กว่า 30 ปี แล้ ว ประชากรแรดในประเทศอื่น ๆ ก็อยู่ในภาวะคล้ ายคลึงกัน ปัจจุบันยังมีเหลือแรดอยู่ในธรรมชาติ
เพียง 20-30 ตัวเท่านั้น โดยอยู่ในอุทยานแห่งชาติแห่งหนึ่งในประเทศเวียดนาม
นกเจ้ าฟ้ าหญิงสิรินธร

 นกเจ้ าฟ้ าหญิงสิรินธร
 ชื่อสามัญ : White-eyed River-Martin
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pseudochelidon sirintarae
 ชื่ออื่น : นกเจ้ าฟ้ า
 เป็ นนกนางแอ่นชนิดหนึ่ง ขนาดวัดจากปลายจงอยปากถึงโคนหางยาวประมาณ 15 ซม. พบครั้งแรกใน
ประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.2511 บริเวณบึงบรเพ็ด จ.นครสวรรค์ เพียงแห่งเดียวในโลกและไม่พบที่อ่นื อีก
เลย เป็ นนกที่อพยพมาในฤดูหนาว ส่วนในฤดูอ่นื เชื่อว่าจะอยู่บริเวณต้ นแม่นา้ ปิ ง ชอบเกาะนอนในพงหญ้ า
นอนอยู่รวมกับฝูงนกนางแอ่นชนิดอื่น ๆ ตามใบอ้ อ และใบสนุ่น โฉบจับแมลงเป็ นอาหาร ปัจจุบันเชื่อว่า
สูญพันธุไ์ ปแล้ ว
พะยูน






พะยูน
ชื่อสามัญ : Dugong
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dugong dugon
ชื่ออื่น : หมูนา้ , ปลาพะยูน
สัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้ วยนม นา้ หนักประมาณ 300 กก. ชอบอยู่รวมกันเป็ นฝูง กินหญ้ าทะเลตามบริเวณนา้ ตื้นใกล้
ชายฝั่ง ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้ องนาน 1 ปี ลดจานวนลงมากเพราะติดอวน และหญ้ าทะเลซึ่งเป็ นแหล่งอาหาร
สาคัญถูกทาลาย ปัจจุบันพบอยู่บริเวณเกาะลิบงและหาดเจ้ าไหม จ.ตรัง ประมาณ 40-50 ตัว