เอกสาร

Download Report

Transcript เอกสาร

รายวิชา ชีววิทยา 1
(30141)
้ั ธยมศึกษาปี ที่ 4
ระดับชนมั
จัดทาโดย....ครู เสกสรรค ์
สุวรรณสุข
โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย
www.kruseksan.com
สารบัญ
่
บทที่ 1 ชีวต
ิ ก ับสิงแวดล้
อม
่ ชวี ต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิงมี
ิ
บทที่ 3 การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม และ
ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
บทที่ 1 ชีวต
ิ กับ
่
สิงแวดล้
อม
Ogan อวัยวะ , Organism
่ ชวี ต
สิงมี
ิ

่ ชวี ต
่ สามารถ
่
สิงมี
ิ คือ สิงที
แพร่พน
ั ธุ ์
ขยายพันธุ ์ให ้ลูกและหลานรุน
่ ต่อๆไปได ้
Population ประชากร

่ ชวี ต
ประชากร คือ สิงมี
ิ ชนิ ดเดียวกันมาอยู่
่ ่อาศัยเดียวกัน
ร่วมกัน ในแหล่งทีอยู
่ ชวี ต
Community กลุ่มสิงมี
ิ

่ ชวี ต
่ ชวี ต
กลุ่มสิงมี
ิ คือ สิงมี
ิ หลายชนิ ดมาอยู่รวม
่ ่อาศัยบริเวณเดียวกัน
ในทีอยู
ระบบนิ เวศ Ecosystem คือ

่
ระบบนิ เวศ คือ บริเวณทีประกอบด
้วยปัจจัยทาง
่ ชวี ต
ชีวภาพ (ได ้แก่ กลุม
่ สิงมี
ิ ) และปั จจัยทาง
่ อต่
้ อการดารงชีวต
กายภาพทีเอื
ิ (ได้แก่
อุณหภู ม ิ แสงสว่าง หรือสภาพภู มอ
ิ ากาศที่
่ จจัยเหล่านี มี
้ ความสัมพันธ ์กัน
เหมาะสม) ซึงปั
่ ชวี ต
เช่น ความสัมพันธ ์ระหว่างสิงมี
ิ ชนิ ดเดียวกัน
่ ชวี ต
, ความสัมพันธ ์ระหว่างสิงมี
ิ ต่างชนิ ดกัน หรือ
่ ชวี ต
่ มช
ความสัมพันธ ์ระหว่างสิงมี
ิ กับสิงไม่
ี วี ต
ิ
้
นอกจากนี ภายในระบบนิ
เวศยังต ้องมีการ
ถ่ายทอดพลังงาน และมีการหมุนเวียนของสาร
ภายในระบบนิ เวศ
ระบบนิ เวศ Ecosystem

1.
2.
3.
4.
5.
ประกอบด้วย
่ ชวี ต
ปั จจัยทางชีวภาพ ได้แก่ กลุ่มสิงมี
ิ
ปั จจัยทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภู ม ิ แสง
สว่าง ดิน อากาศ ค่าความเป็ นกรด-เบส
ฯลฯ
ความสัมพันธ ์ภายในระบบนิ เวศ
การถ่ายทอดพลังงาน
การหมุนเวียนของสาร
 ระบบนิ เวศ
ในโลกมีหลายระบบ
้
ทังระบบนิ
เวศในนา้ บนบก แต่ไม่วา่ จะเป็ น
ระบบนิ เวศใด
ก็ตาม รวมกันเป็ น
่ ชวี ต
โลกของสิงมี
ิ หรือ ไบโอเฟี ยร ์
(Biosphere)
1. Biomes ไบโอม หรือ ชีวนิ เวศ

่ ความคล ้ายคลึงกันของ
ระบบนิ เวศ ทีมี
องค ์ประกอบทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ
ความชืน้ และความคล ้ายคลึงกันของปัจจัยทาง
่ ความ
ชีวภาพ คือ ชนิ ดของพืชและสัตว ์ทีมี
่ ความ
คล ้ายคลึงกัน เรียก ระบบนิ เวศทีมี
้ จจัยทางกายภาพและชีวภาพ
คล ้ายคลึงกันทังปั
ว่า ไบโอม(Biomes) หรือ ชีวนิ เวศ
ประเภทของไบโอม
(Biomes)

ไบโอมบนบก
แบ่งเป็ น
- ไบโอมป่ าดิบชืน้
- ไบโอมป่ าผลัดใบใน
เขต
อบอุน
่
- ไบโอมป่ าสน
- ไบโอมทุง่ หญ ้าเขต
อบอุน
่
- ไบโอมสะวันนา

ไบโอมในนา้ แบ่งเป็ น
้ ด
- ไบโอมแหล่งนาจื
- ไบโอมแหล่ง
้ ม
นาเค็
2. ความหลากหลายของระบบ
นิ เวศ
(Ecological Diversity)
Ecosystem ระบบนิ เวศ คือ
่
บริเวณทีประกอบด้
วยปั จจัยทางชีวภาพ และ
่ อต่
้ อการดารงชีวต
ปั จจัยทางกายภาพ ทีเอื
ิ และ
่
้ ความสัมพันธ ์กัน
สิงเหล่
านี มี
- ปัจจัยทางกายภาพ ได ้แก่ แสง อุณหภูมิ ดิน
อากาศ ฯลฯ
่ ชวี ต
- ปัจจัยทางชีวภาพ ได ้แก่ กลุม
่ สิงมี
ิ
***
่ ชวี ต
โดยกลุม
่ สิงมี
ิ ในระบบนิ เวศ มีบทบาทหน้าที่
แตกต่างกันด ังต่อไปนี ้


่ ชวี ต
ิ ในระบบนิ เวศ
บทบาทของสิงมี
แบ่งได้ 3 พวก คือ
 ผู ผ
้ ลิต (Producer)
 ผู บ
้ ริโภค (Consumer)
 ผู ย
้ ่อยสลาย
(Decomposer)
ผู ผ
้ ลิต (producer)
่ ชวี ต
่
• คือ สิงมี
ิ ทีสามารถสร
้างอาหาร เองได้
ด้วยกระบวนการสังเคราะห ์แสง
(Photosynthesis) เช่น พืช สาหร่าย แพง
ตอนพืช เป็ นต้น
ผู บ
้ ริโภค (consumer)
่ ชวี ต
่ สามารถสร ้างอาหารเองได้
คือ สิงมี
ิ ทีไม่
่ นสิงมี
่ ชวี ต
่
ส่วนมากคือสัตว ์ทีกิ
ิ อืนเป็
นอาหาร
แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
1. ผู บ
้ ริโภคพืช (Herbivore)
2. ผู บ
้ ริโภคสัตว ์ (Carnivore)
้ ชและสัตว ์ (Omnivore)
3. ผู บ
้ ริโภคทังพื
ผู บ
้ ริโภคพืช (Herbivore)
่ นพืชเป็ นอาหาร เช่น ช ้าง
• ผู บ
้ ริโภค พืช คือสัตว ์ทีกิ
ม้า วัว ควาย กวาง กระต่าย ปลาตะเพียน ปลานิ ล
ฯลฯ
ผู บ
้ ริโภคสัตว ์ (Carnivore)
่ นสัตว ์เป็ นอาหาร เช่น สิงโต เสือ ไฮยีน่า
• คือ สัตว ์ทีกิ
(หมาไน) ฯลฯ
ผู บ
้ ริโภคพืชและสัตว ์ (Omnivore)
่ นได ้ทังพื
้ ชและสัตว ์ เช่น คน สุนัข ไก่ เป็ ด
• คือ สัตว ์ทีกิ
ลิง
ผู ย
้ ่อยสลาย (Decomposer)
่ ชวี ต
่ ้างอาหารเองไม่ได ้ ได ้ร ับ
• หมายถึง สิงมี
ิ ทีสร
อาหารจากการปล่อยเอนไซม ์ ออกมาย่อยสลายซาก
่ ชวี ต
สิงมี
ิ ต่างๆ แล ้วดูดซึมเข ้าสูร่ า่ งกาย เช่น
แบคทีเรีย เห็ด รา
ประเภทของระบบนิ เวศ
ระบบนิ เวศในนา้
บก
(aquatic ecosystem)
ระบบนิ เวศบน
(terrestrial
ระบบนิ เวศในนา้ (Aquatic
ecosystem)

แบ่งเป็ น 2 ระบบ คือ
ระบบนิ เวศน้ าจืด
(Freshwater)
ระบบนิ เวศน้ าเค็ม
(marine)
้ ด
ระบบนิ เวศนาจื
่
แบ่งเป็ น 2 ชนิ ด โดยทัวไปมี
เกลือน้อยกว่าร ้อยละ
0.1 หรือ น้อยกว่า 1 %๐
ระบบนิ เวศน้ านิ่ง
ระบบนิ เวศน้ าไหล
ระบบนิ เวศน้ านิ่ ง

้ ่ ง แบ่งได ้ 3 บริเวณ คือ
ระบบนิ เวศนานิ
- บริเวณชายฝั่ง (littoral zone) เช่น พืชนา้
รากหยัง่
ลึก , พืชลอยนา้ ฯลฯ
- บริเวณผิวนา้ (limnetic zone)
้ นล่
้ั าง (profundal zone) ตา่
- บริเวณนาช
้ ้องนา้ (benthic
กว่าระดับผิวนา้ จนถึง พืนท
zone)
่ ชวี ต
แต่ละบริเวณประกอบด้วยสิงมี
ิ ใด ?
ระบบนิ เวศน้ าไหล

แบ่งได ้ 2 บริเวณ คือ บริเวณแอ่งน้ า (pool zone)
และ
่ บริเ(rapid
บริเวณน้ าไหลเชียว
วณ
zone)
แอ่งน้ า
บริเวณน้ าไหล
่
เชียว
ระบบนิ เวศแหล่งน้ ากร่อย

่ ้ าจืด และน้ าเค็ม มาบรรจบกัน
เป็ นบริเวณทีน
มักพบตามบริเวณปากแม่นา้ ปากอ่าว และช่อง
่
แคบ เป็ นบริเวณทีมี
ความอุดมสมบูรณ์ มี แร่ธาตุอาหารสูง มักพบ
้ เป็
่ นอาหารของมนุ ษย ์ เช่น กุง้ หอย ปู
สัตว ์นาที
่ ่ของ
ปลา และเป็ นแหล่งอนุ บาลสัตว ์นา้ (เป็ นทีอยู
่
้ ้แก่ ต้น
ลูกปลา ลูกกุ ้ง ฯลฯ) พืชทีพบบริ
เวณนี ได
โกงกาง ต้อนแสม เป็ นต ้น
ระบบนิ เวศน้ าเค็ม (Marine)

แบ่งได ้ 2 บริเวณใหญ่ คือ
บริเวณชายฝั่ ง (coastal zome)
บริเวณทะเลเปิ ด (open sea zome)
่ นบริเวณทีอยู
่ ่ห่างออกจากชายฝั่ง แบ่ง
ซึงเป็
ออกเป็ นเขตต่างๆ 3 เขต คือ
่
- เขตทีแสงส่
องถึง
่ แสงน้อย
- เขตทีมี
่ มแี สง
- เขตทีไม่
ทะเลเปิ ด
แสงส่องถึง 0-200
m
่ แสงน้อย
เขตทีมี
200-1,500
m
1,500-15,000 m
ไม่มแ
ี สง
หาดทราย

้ นลงเป็
้
กระแสนาขึ
นปัจจัยหนึ่ งทาให ้ความชืน้ อุณหภูมข
ิ อง
หาดทรายแตกต่างกัน
้ นน
้ าลง
้
่ ชวี ต
่
กระแสนาขึ
สิงมี
ิ ทีอาศั
ยหาดทราย
หาดหิน


่
อุณหภูมิ แสง และความชืน้ มีการเปลียนแปลงเกิ
ด
้ นน
้ าลง
้
นาขึ
่
ปู ปลิง ทะเล เพรียงหิน หอยนางรม ลินทะเล
แนวปะการ ัง (coral reefs)
ระบบนิ เวศบนบก (Terrestrial ecosystem)

่ ขนาดใหญ่ คือ ป่ าไม้
ระบบนิ เวศบนบกทีมี
ป่ าไม้ในประเทศไทย แบ่งได ้ 2 กลุม
่ ใหญ่ๆ คือ
ป่ าไม่ผลัดใบ (Evergreen forest)
ป่ าผลัดใบ (Deciduous forest)
ป่ าไม่ผลัดใบ
ได้แก่
-
้
ป่ าดิบชืน
ป่ าดิบแล้ง
ป่ าดิบเขา
ป่ าสนเขา
ป่ าชายเลน
ป่ าพรุ
ป่ าผลัดใบ
ได ้แก่
- ป่ าเบญจพรรณ
- ป่ าเต็งร ัง หรือ ป่ า
แดง
1. ป่ าไม่ผลัดใบ (evergreen
forest)

้ (tropical rain forest
ป่ าดิบชืน
หรือ tropical
evergreen forest)
่
ลักษณะ : ฝนตกชุก อุณหภูมไิ ม่เปลียนแปลง
เขียวตลอดปี
พืชมีความสูงแตกต่างกัน
่ : ภาคใต ้ ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
 แหล่งทีพบ
 พืช
: ไม้ต ้น 25-40 เมตร เช่น ไม้ยาง
ตะเคียน ไม้สะยา
ไม้กลาง เช่น 10-20 เช่น ตีนเป็ น
แดง จิกเขา
ไม้พนล่
ื ้ าง ไม่เกิน 7 เมตร เช่น ไม้
พุ่ม ปาล ์ม ไผ่

ป่ าดิบแล้ง (dry evergreen
forest)
 ลักษณะ
: ป่ าโปร่ง แห้งแล ้งอย่างน้อย 3-4
เดือน
่ : ภาคเหนื อ
 แหล่งทีพบ
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
 พืช
: พืชเด่น เช่น ยางแดง
่
มะค่าโมง เคียม
หลุมพอ กะบาก ตะเคียนหิน
พืชรอง เช่น พลอง กระเบา
เล็ก
ป่ าดิบเขา (hill evergreen forest
หรือ mountain
forest)
้
: ป่ าใน พ.ท.สูง ระดับนาทะเล
1,000 เมตร
้
ขึนไป
่ : เทือกเขาสูงภาคเหนื อ ป่ าต ้น
 แหล่งทีพบ
นา้
 พืช
: ไม้วงศ ์ก่อ นางพญาเสือโคร่ง
อบเชย
มะขามป้ อมแดง สนเขา จาปี
ป่ า
้
 ลักษณะ
ป่ าสน (coniferous forest)
 ลักษณะ
: ต ้นไม้มใี บเรียวเล็ก
่ : ภูเขาสูงภาคเหนื อ ภาคกลาง
 แหล่งทีพบ
ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
 พืช
: สนสองใบ สนสามใบ ไม้พุ่ม
ไม้ล ้มลุก
 สัตว ์
: แมวป่ า หมาป่ า ชะมด อีเห็น
และสัตว ์
กินเมล็ดสนได ้แก่ กระรอก และ
นก
ป่ าสน
>>> อุทยานแห่งชาติแสลงหลวง
ป่ าชายเลน (mangrove
forest)
 ลักษณะ
้ อย มี
นากร่
้
: ขึนตามแนวทะเล
ปากแม่นา้
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สูง
่ : ชายฝั่งทะเล อ่าวไทย ชายฝั่ง
 แหล่งทีพบ
อันดามัน
 พืช
: โกงกาง แสม ลาพู ตะบูน เป็ น
ต ้น
 สัตว ์
: แหล่งอาหาร วางไข่ อนุ บาลตัว
ป่ าพรุ (peat swamp forest)
 ลักษณะ
้
พรุ นามี
่ ม
้ งตลอดปี ดินอินทรีย ์
: ทีลุ
่ นาขั
ความเป็ นกรดสูง ป่ าแน่ นทึบ
่ : ภาคใต ้ เช่น พรุโต๊ะแดง
 แหล่งทีพบ
 พืช
: หวาย ปากแดง หลุมพี ฯลฯ
 สัตว ์
: แหล่งอาหาร วางไข่ อนุ บาลตัว
อ่อน
เช่น กุ ้ง หอย ปู ปลา
ป่ าพรุ >>> พรุโต๊ะแดง จ.นราธิวาส
2. ป่ าผลัดใบ (deciduous
forest)

ป่ าเบญจพรรณ (mixed
deciduous forest)
 ลักษณะ
: ป่ าโปร่ง ต ้นไม้ขนาดใหญ่และ
ขนาดกลาง
ดินร่วนปนทราย
่ : ทุกภาคในประเทศไทย ยกเว ้น
 แหล่งทีพบ
ภาคใต ้
 พืช
: พันธุ ์ไม้หลักสาคัญ มี 5 ชนิ ด
ได ้แก่
สัก มะค่า แดง ประดู่ และชิงชัน
ป่ าเบญจพรรณ >>> เขตร ักษาพันธุ ์สัตว ์ป่ า
ป่ าเต็งร ัง ป่ าแดง และป่ าแพะ
(dry dipterocarp forest)
 ลักษณะ
: ป่ าโปร่ง ต ้นไม ้ขนาดใหญ่
่ : พืนที
้ แห
่ ้งแล ้งของทุกภาค โดย
 แหล่งทีพบ
เฉพาะ....ภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ยกเว ้น
ภาคใต ้ และ
ภาคตะวันออก จ.จันทบุร ี และตราด
 พืช
: เต็ง ร ัง ไผ่เพ็ก พะยอม เหียง พลวง
ประดูแ่ ดง มะขามป้ อม
ป่ าเต็งร ัง ป่ าแดง ป่ าแพะ >>> สถานี วจิ ยั
สวัสดี
สมการเคมีในการสังเคราะห ์ด้วย
แสง
• สรุปสมการเคมีในการสังเคราะห ์ด้วยแสงของ
พืชสีเขียวเป็ นด ังนี ้ :
nCO2 + 2nH2O + พลังงานแสง → (CH2O) n +
nO2 + nH2O
้ นดัง
• น้ าตาลกลูโคส และ แป้ ง เป็ นผลผลิตขันต้
สมการด ังต่อไปนี :้
6CO2 + 12H2O + พลังงานแสง → C6H12O6 +
6O2 + 6H2O
• การสังเคราะห ์ด้วยแสงแบ่งเป็ น 2 ปฏิก ิรย
ิ า คือ
่ องใช้แสง คือ ปฏิก ิรย
• ปฏิก ิรย
ิ าทีต้
ิ าโฟโตฟอส
่
้ ้ าลง และคลืน
กระแสน้ าขึนน
้ ้ าลงเกิดจากแรงดึงดูดของดวง
• กระแสน้ าขึนน
อาทิตย ์ และ ดวงจันทร ์
่
• เมือดวงอาทิ
ตย ์ และดวงจันทร ์ โคจรมาอยู ่ใน
้ ้ าลง
แนวเดียวกันกับโลก ทาให้ระดับน้ าขึนน
แตกต่างกันมาก
้ 15
เรียก น้ าเกิด (spring tide) ตรงกับ วันขึน
่ และแรม
คา
่
15 คา
้
เรียก น้ าตาย
• แต่ถา้ โคจรตังฉากกันมาก
(neap tide)