ป่าไม้

Download Report

Transcript ป่าไม้

ป่ าไม้
บริเวณที่มีต้นไม้ หลายชนิด ขนาดต่างๆ ขึ ้นอยูอ่ ย่างหนาแน่น
และกว้ างใหญ่พอที่จะมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้ อมในบริเวณนัน้ เช่น ความ
เปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน ้า มี
สัตว์ป่าและสิ่งมีชีวิตอื่นซึง่ มีความสัมพันธ์ซงึ่ กันและกัน
ป่ าดิบชืน้ (Tropical Rain Forest)
ป่ าดิบชื ้น (Tropical Rain Forest) มีอยูท่ วั่ ไปในทุกภาคของประเทศ
และมากที่สดุ แถบชายฝั่ งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี และที่ภาคใต้ กระจัด
กระจาย ตามความสูงตังแต่
้ 0 - 100 เมตรจากระดับน ้าทะเลซึง่ มีปริมาณน ้าฝน
ตกมากกว่าภาคอื่น ๆ ลักษณะทัว่ ไปมักเป็ นป่ ารกทึบ ประกอบด้ วยพันธุ์ไม้
มากมายหลายร้ อยชนิด ต้ นไม้ สว่ นใหญ่เป็ นวงศ์ยาง ไม้ ตะเคียน กะบาก อบเชย
จาปาป่ า ส่วนที่เป็ นพืชชันล่
้ างจะเป็ นพวกปาล์ม ไผ่ ระกา หวาย บุกขอน เฟิ ร์น
มอส กล้ วยไม้ ป่าและ เถาวัลย์ชนิดต่างๆ
ประเภทของป่ า
ในประเทศไทยเราสามารถแบ่งประเภทของป่ าออกได้ เป็ น 2 ประเภทได้ แก่
• ป่ าไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest)
– ป่ าดงดิบชื ้น (Tropical Rain Forest)
– ป่ าดิบแล้ ง (Dry Evergreen Forest)
– ป่ าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
– ป่ าสน (Coniferous Forest)
– ป่ าพรุ (Swamp Forest)
– ป่ าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)
– ป่ าชายหาด (Beach Forest)
• ป่ าผลัดใบ (Deciduous Forest)
– ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)
– ป่ าเต็งรัง (Dry Deciduous Dipterocarp Forest)
– ป่ าหญ้ า (Grassland Forest)
ป่ าดิบแล้ ง (Dry Evergreen Forest)
ป่ าดิบแล้ ง (Dry Evergreen Forest) มีอยูท่ วั่ ไปตามภาคต่าง ๆ
ของประเทศ ตามที่ราบเรี ยบหรื อตามหุบเขา มีความสูงจากระดับน ้าทะเล
ประมาณ 500 เมตร และมีปริมาณน ้าฝนระหว่าง 1,000-1,500 ม.ม. พันธุ์
ไม้ ที่สาคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง เป็ นต้ น พื ้นที่ป่าชันล่
้ างจะไม่หนาแน่น
และค่อนข้ างโล่งเตียน
ป่ าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
ป่ าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) เป็ นป่ าที่อยูส่ งู จากระดับน ้าทะเล
ตังแต่
้ 1,000 เมตรขึ ้นไป ส่วนใหญ่อยูบ่ นเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ และบางแห่งใน
ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นที่ อช.ทุง่ แสลงหลวง และ อช.น ้าหนาว
เป็ นต้ น มีปริมาณน ้าฝนระหว่าง 1,000 ถึง2,000 ม. พืชที่สาคัญได้ แก่ไม้ วงศ์ก่อ เช่น
ก่อสีเสียด ก่อตาหมูน้อย อบเชย มีป่าเบจพรรณด้ วย เป็ นต้ น บางทีก็มีสนเขาขึ ้น
ปะปนอยูด่ ้ วย ส่วนไม้ พื ้นล่างเป็ นพวกเฟิ ร์น กล้ วยไม้ ดิน มอสต่าง ๆ ป่ าชนิดนี ้มักอยู่
บริเวณต้ นน ้าลาธาร
ป่ าสน (Coniferous Forest)
ป่ าสน (Coniferous Forest) มีกระจายอยูเ่ ป็ นหย่อม ๆ ตามภาคเหนือ เช่น
จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง เพชรบูรณ์ และที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่
จังหวัดเลย ศรี สะเกษ สุรินทร์ และอุบลราชธานี มีอยูต่ ามที่เขาและที่ราบบางแห่งที่มี
ระดับสูงจากน ้าทะเลตังแต่
้ 200 เมตรขึ ้นไป บางครัง้ พบขึ ้นปนอยูก่ บั ป่ าแดงและป่ า
ดิบเขา ป่ าสนมักขึ ้นในที่ดินไม่อดุ มสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่คอ่ นข้ างแห้ งแล้ ง ประเทศ
ไทยมีสนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านัน้ คือสนสองใบและสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ ขึ ้น
ปะปนอยู่ พืชชันล่
้ างมีพวกหญ้ าต่าง ๆ
ป่ าพรุ (Swamp Forest)
ป่ าพรุ (Swamp Forest, Peat Swamp Forest) เป็ นสังคมป่ าที่อยูถ่ ดั จาก
บริเวณสังคมป่ าชายเลน โดยอาจจะเป็ นพื ้นที่ลมุ่ ที่มีการทับถมของซากพืชและ
อินทรี ยวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน ้าท่วมขังหรื อชื ้นแฉะตลอดปี จากรายงานของกอง
สารวจดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2525) พื ้นที่ที่เป็ นพรุพบในจังหวัดต่าง ๆ ดังนี ้ นราธิวาส
283,350 ไร่ นครศรี ธรรมราช 76,875 ไร่ ชุมพร 16,900 ไร่ สงขลา 5,545 ไร่ พัทลุง
2,786 ไร่ ปั ตตานี 1,127 ไร่ และตราด 11,980 ไร่ ส่วนจังหวัดที่พบเล็กน้ อย ได้ แก่ สุ
ราษฎร์ ธานี ตรังกระบี่ สตูล ระยอง จันทบุรี เชียงใหม่ (อ.พร้ าว) และจังหวัดชายทะเล
อื่น ๆ รวมเป็ นพื ้นที่ 400,000 ไร่ อย่างไรก็ตาม พื ้นที่สว่ นใหญ่ถกู บุกรุกทาลายระบาย
น ้าออกเปลี่ยนแปลงสภาพเป็ นสวนมะพร้ าว นาข้ าว และบ่อเลี ้ยงกุ้งเลี ้ยงปลา คงเหลือ
เป็ นพื ้นที่กว้ างใหญ่ในจังหวัดนราธิวาสเท่านัน้ คือ พรุโต๊ ะแดง ซึง่ ยังคงเป็ นป่ าพรุ
สมบูรณ์ และพรุบาเจาะ ซึง่ เป็ นพรุเสื่อมสภาพแล้ ว
ป่ าชายเลน (Mangrove Swamp Forest)
ป่ าชายเลน (Mangrove Swamp Forest) ป่ าชนิดนี ้จะขึ ้นอยู่
ตามชายฝั่ งทะเลที่มีดินโคลนและน ้าทะเลท่วมถึง เช่น ตามชายฝั่ ง
ตะวันตก ตังแต่
้ ระนองถึงสตูลแถบอ่าวไทยตังแต่
้ สมุทรสงครามถึง
ตราด และจากประจวบคีรีขนั ธ์ลงไปถึงนราธิวาส ไม้ ที่สาคัญเช่น ไม้
โกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ แสมลาพู โพทะเล
ป่ าชายหาด (Beach Forest)
ป่ าชายหาด (Beach Forest) เป็ นป่ าที่มีอยูต่ ามชายฝั่ งทะเลที่
เป็ นดินกรวด ทรายและโขดหินพันธุ์ไม้ จะต่างจากที่ที่น ้าท่วมถึง ถ้ า
ชายฝั่ งเป็ นดินทรายก็มีสนทะเล พืชชันล่
้ างก็จะมีพวกตีนนก และพันธ์
ไม้ เลื ้อยอื่น ๆ อีกบางชนิด ถ้ าเป็ นกรวดหรื อหิน พันธุ์ไม้ ที่ขึ ้นส่วนใหญ่ก็
เป็ นพวกกระทิง หูกวาง
ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)
ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest) พบทัว่ ประเทศ
ตามที่ราบและเนินเขา ฝนตกไม่มากนัก มีฤดูแล้ งยาวนาน พรรณไม้ ที่
พบมีวงปี เด่นชัด ที่พบมาก ได้ แก่ สัก แดง ประดู่ มะค่าโมง พยุง ชิงชัน
พี ้จัน่ ฯลฯ พืชชันล่
้ าง คือ ไผ่หลายชนิด
ป่ าเต็งรัง (Dry Deciduous Dipterocarp Forest)
ป่ าเต็งรัง (Dry Deciduous Dipterocarp Forest) พบทัว่ ไป
เช่นเดียวกับป่ าเบญจพรรณ แต่แห้ งแล้ งกว่าเนื่องจากดินอุ้มน ้าน้ อย
พรรณไม้ มกั ทนแล้ ง และทนไฟ เช่น เต็ง รัง เหียง พลวง กราด
มะขามป้อม มะกอก ผักหวาน พืชชันล่
้ างเป็ นหญ้ า ไผ่เพ็ก ปรง
กระเจียว เปราะ
ป่ าหญ้ า (Grassland Forest)
ป่ าหญ้ า ( Grassland Forest) ในประเทศไทย ป่ าหญ้ าเกิด
ภายหลังเมื่อป่ าธรรมชาติอื่นๆถูกทาลาย ดินมีสภาพเสื่อมโทรม หญ้ า
ที่พบมีหญ้ าคา แฝก อ้ อ แขม มีไม้ ต้นบ้ าง เช่น ติ ้ว แต้ สีเสียดแก่น ซึง่
ทนแล้ งและทนไฟ
ความสาคัญและประโยชน์ ของป่ าไม้
•
•
•
•
•
•
•
•
เป็ นส่วนที่สาคัญมากส่วนหนึง่ ของวัฏจักร
ป่ าช่วยในการอนุรักษ์ ดินและน ้า
ช่วยปรับสภาพบรรยากาศ
ป่ าไม้ เป็ นแหล่งต้ นน ้าลาธาร
ป่ าไม้ เป็ นแหล่งปั จจัยสี่ ป่ าไม้ เป็ นแหล่งผลิต/ผู้ผลิต
เป็ นที่อยูอ่ าศัยของสัตว์ป่า
เป็ นแนวป้องกันลมพายุ
ช่วยลดมลพิษทางอากาศ
อ้ างอิง
•
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B9%88
%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89
• http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/ecology
(3)/chapter1/chapter1_world.htm
สวัสดี
นางสาวเสาวลักษณ์ เปล้ ากระโทก
รหัสนิสิต 55520737 สาขาเศรษฐศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์