Physical AJ.2 : Satit UP ลักษณะทางกายภาพ Northeast Region ลักษณะทางกายภาพ ของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ.

Download Report

Transcript Physical AJ.2 : Satit UP ลักษณะทางกายภาพ Northeast Region ลักษณะทางกายภาพ ของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ.

Physical
AJ.2 : Satit UP
ลักษณะทางกายภาพ
Northeast Region
ลักษณะทางกายภาพ
ของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลัก ๆ ที่สาคัญของภาคอีสาน
ที่ราบที่มีลกั ษณะเป็ นแอ่งกะทะ
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลัก ๆ ที่สาคัญของภาคอีสาน
ที่ราบที่มีลกั ษณะเป็ นแอ่งกระทะ ที่มีลกั ษณะลาดเอียงจากทางตะวันตกเอียงไปทางตะวันออก
ในบางครัง้ จะเรียกว่าเป็ นที่ราบสูง
(ในตาราเดิมมักจะเรียกว่าที่ราบสูง(แต่ในทางภูมิศาสตร์จริง ๆ แล้วระดับความสูงของพื้นที่
ภาคอีสานไม่มีระดับความสูงพอที่จะจัดอยู่ในลักษณะภูมิประเทศที่เรียนกว่าที่ราบสูง(plateau)
เพราะมีระดับความสูงโดยเฉลี่ยไม่ไม่สูงว่า 1500 เมตรจากระดับน้ าทะเล)
แต่การที่มกั เรียกว่าเป็ นที่ราบสูง เพราะว่า ที่ราบภาคอีสานเป็ นที่ราบที่มีระดับความสูงเหนื อ
ระดับน้ าทะเลสูงกว่าที่ราบลุ่มของที่ราบภาคกลาง(เมื่อเปรียบเทียบกับที่ราบลุ่มเจ้าพระยา ภาคกลาง
กับที่ราบภาคอีสาน)
ทีร่ าบ (Plains) เป็ นลักษณะภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็ นทีร่ าบทีม่ คี วามสูงจากระดับน้าทะเลน้อยกว่า
1,500 เมตร มีความต่างระดับของพืน้ ทีภ่ ายในน้อยกว่า 100 เมตร
ทีร่ าบสูง (Plateau) เป็ นลักษณะภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็ นทีเ่ ป็ นทีร่ าบทีม่ คี วามสูงจากระดับน้าทะเล
มากกว่า 1,500 เมตร และมีความต่างระดับของพืน้ ทีภ่ ายในน้อยกว่า 300 เมตร
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลัก ๆ ที่สาคัญของภาคอีสาน
ที่ราบที่มีลกั ษณะเป็ นแอ่งกระทะ(Basin)
โดยมีภเู ขาสูงล้อมรอบเป็ นขอบกระทะ และ
มีทร่ี าบลุม่ แม่น้ามูล-ชี อยูต่ รงกลาง เป็ นเสมือนก้นกระทะ
เทือกเขาเพชรบูรณ์(ตะวันออก)
เทือกเขาภูพาน
มีทร่ี าบลุม่ แม่น้ามูล-ชี อยูต่ รงกลาง เป็ นเสมือนก้นกระทะ
เทือกเขาดงพญาเย็น
เทือกเขาพนมดงรัก
เทือกเขาสันกาแพง
ภาคอีสาน มีลกั ษณะเป็ นแอ่งกระทะ(Basin)
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลัก ๆ ที่สาคัญของภาคอีสาน
ความลาดเอียงของพื้นที่ในภาคอีสาน
ที่ราบที่มีลกั ษณะเป็ นแอ่งกระทะ ที่มีลกั ษณะ
ลาดเอียงจากทางตะวันตก --->ตะวันออก
โดยด้านตะวันตกของภาคอีสานเป็ นภูเขาสูง
(เทือกเขาเพชรบูรร์ และเทือกเขาดงพญาเย็น)
และลาดเอียงไปทางตะวันออกสูแ่ ม่น้ าโขง
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ทีร่ าบ (Plains)
- เป็ นลักษณะภูมปิ ระเทศที่
เป็ นทีร่ าบทีม่ คี วามสูงจาก
ระดับน้าทะเลน้อยกว่า 1,500
เมตร และ
- มีความต่างระดับของพืน้ ที่
ภายในน้อยกว่า 100 เมตร
ทีร่ าบสูง (Plateau)
- เป็ นลักษณะภูมปิ ระเทศที่
เป็ นทีเ่ ป็ นทีร่ าบทีม่ คี วามสูง
จากระดับน้าทะเลมากกว่า
1,500 เมตร และ
- มีความต่างระดับของพืน้ ที่
ภายในน้อยกว่า 300 เมตร
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลัก ๆ ที่สาคัญของภาคอีสาน
ที่ราบที่มีลกั ษณะเป็ นแอ่งกระทะ ที่มีลกั ษณะลาดเอียงจากทางตะวันตกเอียงไปทาง
ตะวันออก ในบางครัง้ จะเรียกว่าเป็ นที่ราบสูง
แอ่งที่ราบ ในภาคอีสาน มี 2 แอ่งใหญ่ คือ
1) แอ่งสกลนคร
2) แอ่งโคราช
Sakon Nakhon basin
Khorat basin
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลัก ๆ ที่สาคัญของภาคอีสาน
1) แอ่งโคราช (Khorat basin)
- เป็ นแอ่งทีร่ าบทีใ่ หญ่สดุ ของภาคอีสาน
- กินอาณาบริเวณตัง้ แต่อสี านตอนกลางและอีสานตอนใต้
- ครอบคลุมพืน้ ทีม่ ากกว่าครึง่ หนึ่งของภาคอีสาน
- เป็ นแอ่งทีร่ าบลุม่ แม่น้ าชีและมูล
- มีทงุ่ สัมฤทธิ ์ และทุง่ กุลาร้องไห้ ตัง้ อยูใ่ นแอ่งนี้
แม่น้ าชี
แม่น้ ามูล
1) แอ่งโคราช (Khorat basin)
- เป็นแอ่งทีร่ าบทีใ่ หญ่สุดของภาคอีสาน
- กินอาณาบริเวณตัง้ แต่อสี านตอนกลางและอีสานตอนใต้
- ครอบคลุมพืน้ ทีม่ ากกว่าครึง่ หนึ่งของภาคอีสาน
- เป็นแอ่งทีร่ าบลุ่มแม่น้ าชีและมูล
- มีทุ่งสัมฤทธิ ์ และทุ่งกุลาร้องไห้ ตัง้ อยูใ่ นแอ่งนี้
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลัก ๆ ที่สาคัญของภาคอีสาน
2) แอ่งสกลนคร (Sakhon Nakhon basin)
แม่น้ าสงคราม
- เป็ นแอ่งทีร่ าบตอนบนของภาคอีสาน
- มีเนื้อทีน่ ้อยกว่าแอ่งโคราช
- เป็ นแอ่งทีร่ าบลุม่ แม่น้ าสงคราม
- แอ่งโคราราชและแอ่งสกลนครนี้ม ี
เทือกเขาภูพานกัน้ อยู่
- มีทงุ่ กระสังตัง้ อยูบ่ ริเวณแอ่งนี้
2) แอ่งสกลนคร
(Sakhon Nakhon basin)
- เป็ นแอ่งทีร่ าบตอนบนของภาคอีสาน
- มีเนื้อทีน่ ้อยกว่าแอ่งโคราช
- เป็ นแอ่งทีร่ าบลุม่ แม่น้ าสงคราม
- แอ่งโคราราชและแอ่งสกลนครนี้ม ี
เทือกเขาภูพานกัน้ อยู่
- มีทงุ่ กระสังตัง้ อยูบ่ ริเวณแอ่งนี้
แม่น้ าสงคราม
1) แอ่งโคราช (Khorat basin) กินอาณาบริเวณครอบคลุมหลายจังหวัดในภาคอีสานทัง้ อีสานตอนกลาง
และอีสานตอนใต้ รวมทัง้ ครอบคลุมพื้นที่ท่งุ กุลาร้องไห้ดว้ ย
ขอนแก่น
กาฬสินธุ์
มหาสารคาม
ชัยภูม ิ
ร้อยเอ็ด
ยโสธร อานาจเจริญ
อุบลราชธานี
นครราชสีมา
บุรรี มั ย์
สุรนิ ทร์
ศรีสะเกษ
2) แอ่งสกลนคร (Sakhon Nakhon basin) กินอาณาบริเวณครอบคลุมหลายจังหวัดในภาคอีสานตอนบน
บึงกาฬ
หนองคาย
อุดรธานี
หนองบัวลาภู
ชัยภูม ิ
สกลนคร
นครพนม
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
ลักษณะภูมิประเทศหลักของภาคอีสาน
แม้ว่าที่มีท่รี าบกว้างใหญ่แต่ว่าลักษณะของดินที่ไม่ค่อยมีความอุดมสมบูรณ์ อันเนื่ องมาจากเป็ นดิน
ป่ นทราย(ซึ่งไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์และไม่อมุ ้ น้ า ทาให้ในช่วงที่ฝนมากน้ าก็จะไหลเร็วและไม่อมุ ้ น้ าใน
ฤดูแล้งจึงเกิดปัญหาความแห้งแล้งได้งา่ ยและทาให้ปริมาณน้ าในแม่น้ าในฤดูแล้งแห้งมมาก) บาง
แห่งก็เป็ นดินเค็ม ประกอบกับพื้นที่ท่กี ว้างใหญ่และการไม่มีระบบชลประทานอย่างทัว่ ถึงเหมือนภาค
กลาง จนทาให้ภาพของภาคอีสานเป็ นภาคที่ประสบกับภาวะภัยจากความแห้งแล้งซ้าซากทุกปี
เป็ นภาคที่มีเนื้ อที่ปลูกข้าวมากที่สุดแต่กลับมีผลผลิตข้าวต่อไร่ตา่ สุด
หมายเหตุ ภาคอีสานแห้งแล้งไม่ใช่เพราะมีปริมาณฝนตกน้อยกว่าภาคอื่น(มี
ปริมาณฝนตกมากกว่าบางภาคของประเทศไทยด้วยซ้า) แต่วา่ มีปญั หาทีด่ นิ ทีไ่ ม่
สมบูรณ์และไม่อุม้ น้ า
“ ทุ่งกุลาร้องไห้ ” เป็ นบริเวณพื้นที่หนึ่ งในแอ่งโคราช ครอบคลุมพื้นที่ หลายจังหวัด ได้แก่ มหาสารคาม
ร้อยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ สุรนิ ทร์ บุรรี มั ย์ เป็ นพื้นที่ท่แี ต่เดิมประสบกับปัญหาความแห้งแล้งจัด ต่อมาได้มี
การนาข้าวหอมมะลิมาปลูกและได้ผลเป็ นอย่างมาก จนเป็ นบริเวณที่ข้ ึนชื่ออย่างมากในการปลูกข้าวหอมมะลิ
แอ่งโคราช
มหาสารคาม
บุรรี มั ย์
ร้อยเอ็ด
สุรนิ ทร์
ยโสธร
ศรีสะเกษ
การทีไ่ ด้ชอ่ื ว่า “ ทุง่ กุลาร้องไห้ “ นัน้ มีเรือ่ งเล่าสืบกันมาว่า ชนเผ่ากุลาซึง่ เป็ น
ชนกลุม่ น้อยจากเมืองเมาะตะมะ ประเทศพม่า ได้เดินทางมาค้าขายผ่านทุ่งแห่ง
นี้ ต้องใช้เวลาเดินทางหลายวัน ไม่พบหมูบ่ า้ นใด ๆ เลย น้ าก็ไม่มดี ม่ื ต้นไม้ก็
ไม่มที จ่ี ะให้รม่ เงา มีแต่ทงุ่ หญ้าเต็มไปหมด พืน้ ดินก็เป็ นทราย เดินทาง
ยากลาบากเหมือนอยูก่ ลางทะเลทราย ทาให้คนพวกนี้ถงึ กับร้องไห้ ดังนัน้ จึง
ได้ชอ่ื ว่า "ทุง่ กุลาร้องไห้"
มหาสารคาม
บุรรี มั ย์
ร้อยเอ็ด
สุรนิ ทร์
ยโสธร
ศรีสะเกษ
“ ทุง่ กุลาร้องไห้ “ แหล่งปลูกข้าวหอมมะลิทม่ี ชี อ่ื เสียงของไทย
มหาสารคาม
บุรรี มั ย์
ร้อยเอ็ด
สุรนิ ทร์
ยโสธร
ศรีสะเกษ
ลักษณะภูมิประเทศในภาคอีสาน
จากสถาพทางธรณี วิทยาที่หลายพื้นที่หลายบริเวณในภาคอีสานในชัน้ ใต้ดินมีชน้ั เกลือหินและมีโพแทช
จึงละลายอยู่ในชัน้ น้ าใต้ดินและแพร่กระจายไปตามชัน้ น้ าใต้ดินและบางส่วนถูกพามาสะสมอยู่บนผิวดิน
ด้วยคุณสมบัตขิ องน้ าเค็มนี้ทาให้มกี าร
นาน้ าทีเ่ ค็มนี้ในภาคอีสานมาทาเกลือ ซึง่
เป็ นเกลือทีไ่ ม่ได้ผลิตจากน้ าเค็มจากทะเล ที่
เรียกว่า “เกลือสมุทร” แบบจังหวัดทีต่ ดิ ทะเล
เช่น สมุทรปราการ สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม แต่เป็ นการนาน้ าทีเ่ ค็มจาก
ผิวดินหรือใต้ดนิ ขึน้ มาทา โดยเกลือทีไ่ ด้
เรียกว่า “เกลือสินเธาว์”
การทานาเกลือในภาคอีสานทาได้
หลายวิธี เช่นการต้ม แต่ทน่ี ิยมคือการทานา
เกลือโดยใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์เพราะ
ประหยัด
โดยทากันมากที่ นครราชสีมา
มหาสารคาม อุดรธานี ร้อยเอ็ด เป็ นต้น
การทานาเกลือสินเธาว์ในภาคอีสานทาได้หลายวิธี เช่น
การต้ม แต่ทน่ี ิยมคือการทานาเกลือโดยใช้ความร้อนจาก
แสงอาทิตย์เพราะประหยัด
โดยทากันมากที่ นครราชสีมา มหาสารคาม อุดรธานี
ร้อยเอ็ด เป็ นต้น
Question
ประเทศ......
ประเทศ......
ภาค......
ภาค......
ประเทศ......
แม่น้ า......
แม่น้ า......
แม่น้ า......
แม่น้ า......
แม่น้ า......
เทือกเขา......
เทือกเขา......
เทือกเขา......
เทือกเขา......
เทือกเขา......
แอ่ง.......
แอ่ง.....
จังหวัดที่ 77
จังหวัด.....
จังหวัด.....
จังหวัดลาดับที่ 73
แห่เทียนพรรษา
เมืองดอกลาดวน
เนวินบุรี
เมืองปัง้ ไฟ
งานบุญผะเหวด
แห่ปราสาทผึ้ง
เมืองน้ าดา
เมืองช้าง
เมืองย่าโม
เมืองพญาแล
เมืองหมอแคน
พระธาตุนาดูน
งานไหลเรือไฟ
แหล่งโบราณคดีบา้ นเชียง
แห่ผีตาโขน
จังหวัด......
จังหวัด......
จังหวัด......
จังหวัด......
จังหวัด......
จังหวัด......
ทุ่ง.....
มหาสารคาม
บุรรี มั ย์
ร้อยเอ็ด
สุรนิ ทร์
ยโสธร
ศรีสะเกษ
เขื่อน.....
ขอนแก่น
นครราชสีมา
เขื่อน.....
เขื่อน.....
กาฬสินธุ์
อุบลราชธานี
เขื่อน.....
สกลนคร
หนอง.....
อุดรธานี
หนอง.....
บึงกาฬ
บึง.....
อุบลราชธานี
อาเภอ.....