เอกสาร : 48

Download Report

Transcript เอกสาร : 48

ตำรำแพทย์ศำสตร์สงเครำะห์
พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หวั ร.๕
ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้รวบรวมขึ้ น เนือ่ งจำก
เห็นว่ำแพทย์แผนโบรำณและตำรำยำพื้ นบ้ำนเป็ น
สมบัติทำงวัฒนธรรมทีม่ ีค่ำ และทีส่ ืบทอดกันมำนั้น
มีผิดบ้ำง สูญหำยบ้ำง จึ งรวบรวมไว้ให้คนรุ่นหลังได้
ศึกษำ โดยเขียนลงสมุดไทยด้วยอักษรไทย เส้นหรดำล
ปรำกฏฉบับสมบูรณ์เมือ่ พระยำพิศณุประสำทเวช (คง ถำวรเวช)
อำจำรย์ผูเ้ ชี่ยวชำญของรำชแพทยำลัยได้เริม่ จัดพิมพ์เพือ่ อนุ รกั ษ์ตำรำ
แพทย์แพทย์ไทยไว้ให้คนรุ่นหลัง
แพทยศำสตร์สงเครำะห์ฉบับหลวง แบ่งเป็ นคัมภีรต์ ่ำงๆ ดังนี้
๑. คัมภีร์ฉันทศาสตร์ จรรยาของแพทย์ทบั ๘ ประการ
๒. พระคัมภีร์ปฐมจินดาร์ การปฏิสนธิแห่งทารก กาเนิดโลหิตระดูสตรีครรภ์ทวานกาเนิดโรคกุมารและยารักษา
๓. พระคัมภีร์ธาตุวภิ งั ค์ กล่าวถึงกองธาตุพิการตามฤดูฯ
๔. พระคัมภีร์สรรพคุณ (แลมหาพิกตั )
๕. พระคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย กล่าวถึงการค้ นหาต้ นเหตุการเกิดของโรคฯ
๖. พระคัมภีร์วรโยคสาร กล่าวถึงนิมติ รร้ ายดีฯ
๗. พระคัมภีร์มหาโชตรัต กล่าวถึงโรคระดูสตรีฯ
๘. พระคัมภีร์ชวดาร กล่าวถึงพิษอาหารทาให้ ลมโลหิตกาเริบฯ
๙. พระคัมภีร์โรคนิทาน กล่าวถึงกองธาตุท้งั สี่มเี กิน-หย่อนหรือพิการฯ
๑๐. พระคัมภีร์ธาตุววิ รณ์ กล่าวถึงกองธาตุท้งั สี่ โรคโลหิตระดูสตรีฯ
๑๑. พระภัมภีร์ธาตุบรรจบ กล่าวถึงโรคอุจจาระธาตุฯ
๑๒. พระคัมภีร์มุจฉาปักขันทิกา กล่าวถึงโรคปัสสาวะมุตกิตมุตฆาตฯ
๑๓. พระคัมภีร์ตกั กะศิลา กล่าวถึงบรรดาไข้ พิษทั้งปวงฯ
๑๔. พระคัมภีร์ไกษย กล่าวถึงโรคกระษัย ๒๖ ประการฯ
คัมภีรฉ์ นั ทศำสตร์
เป็ นส่วนหนึง่ ของ ตำรำแพทย์ศำสตร์สงเครำะห์
ไหว้พระรัตนตรัย
ไหว้เทพ
บทไหว้ครู
เจ้ำของพรำหมณ์
ไหว้หมอชีวก
โกมำรภัจจ์ (แพทย์หลวงของพระเจ้ำพิมพิสำร) ไหว้ครู
แพทย์โดยทัว่ ไป
ควำมสำคัญของแพทย์
คุณสมบัติทีแ่ พทย์พึงมี
โรคและกำรรักษำ
ควำมรูแ้ พทย์
จรรยำบรรณแพทย์
วิธีสงั เกตไข้และยำรักษำ
กำเนิดโรคภัย
คำเตือนแพทย์ให้ศึกษำคัมภีรฉ์ นั ทศำสตร์
ลักษณะแพทย์ทีด่ ี
คำอวยพรของคนแต่ง
ควำมสำคัญของคัมภีรฉ์ นั ทศำสตร์
จะกล่ำวคัมภีรฉ์ นั
เสมอดวงทินกร
ส่องสัตว์ให้สว่ำง
ทศำสตรบรรพ์ทีค่ รูสอน
แลดวงจันทร์กระจ่ ำงตำ
กระจ่ ำงแจ้งในมรรคำ
เปรียบคัมภีรฉ์ นั ทศำสตร์โบรำณทีค่ รูพรำ่ สอนกันมำกับ
ดวงอำทิตย์และดวงจันทร์ทีช่ ่วยนำทำงแก่สตั ว์โลก
ควำมสำคัญของแพทย์
อนึ่งจะกล่าวสอน
กำยนครมีมากหลาย
ประเทียบเปรียบในกาย ทุกหญิงชายในโลกา
เปรียบแพทย์คือทหำร อันชานาญรู้ลาเนา
ร่ำงกำย = เมือง
ข้ าศึกมาอย่าใจเบา ห้ อมล้ อมรอบทุกทิศา
แพทย์ = ทหำร
คือดวงใจให้ เร่งยา
ปิ ตต คือ วังหน้ำ เร่งรักษาเขม้ นหมายให้ ดารงกระษัตริย์ไว้
อาหารอยู่ในกาย คือเสบียงเลี้ยงโยธาอนึ่งห้ ามอย่าโกรธา ข้ าศึกมาจะอันตราย
น้ ำดี = วังหน้ำ, อำหำร = เสบียง
ดวงจิตคือกระษัตริย ์ ผ่านสมบัติอนั โอฬาร์
ข้ำศึกคือโรคา
เกิดเข่นฆ่าในกายเรา
หัวใจ = พระมหำกษัตริย,์ โรคภัย = ข้ำศึก
คุณสมบัติของแพทย์
แพทย์ตอ้ งมีควำมรูแ้ ละจรรณยำแพทย์
เป็ นแพทย์ไม่รูใ้ น
รูแ้ ต่ยำมำอ่ำองค์
ไม่รูค้ มั ภีรเ์ วช
แพทย์เอ๋ยอย่ำงมคลำ
คัมภีรไ์ สย์ท่ำนบรรจง
รักษำไข้ไม่เข็ดขำม
ห่อนเห็นเหตุซึ่งโรคทำ
จักขุมืด บ เห็นหน
แพทย์ใดจะหนีทุกข์
ไปสู่สุขนิพพำนดล
พิริยสติตน
ประพฤติได้จึ่งเป็ นกำร
ศีลแปดแลศีลห้ำ
เร่งรักษำสมำทำน
ทรงไว้เป็ นนิจกำล
ทั้งไตรรัตน์สรณำ
แพทย์ตอ้ งมีควำมรูท้ ำงธรรมโดยรักษำศีลแปดและศีลห้ำ และยึดไตรรัตน์
โลภะ (เห็นลำภอย่ควำมคิ
ำโลภนัดกเบี
) ยดเบียน(พยำบำทวิ
ควำมใคร่
(ด้กำมรำคในสั
วยกำเมมิจฉำใน)
ห
ิ
ง
สำ
นดำน
ควำมง่
ว
งเหงำ
(อนึ
ง
่
โสดอย่
ำ
ซบเซำ
อย่
ำ
ง่
ว
งเหงำนั
้
น
มิ
ด
ี
มำรยำ (อย่ำหำญหั
กด้วยมำรยำ)
พยำบำท
(พยำบำทแก่
คจงเว้
นไข้ ทัน้ งวำง)
ผูอ้ ื่นอันกล่ำวกล)
ควำมไม่
ก
ลั
ว
บำป
(กลั
ว
บำปแล้
ว
จงจ
ำ
ทั
้
ง
ที
แ
่
จ้
ง
ควำมถื
อดี (ทิฏฐิมสุำโนเล่
ำออย่
ำถือวเอำซึ
่งควำมคลำงแคลงใจ
โรคเกิน)
(วิจิกิจฉำเล่ำ จงถือเอำซึ่งครูตน)
โทสะ
(โทโสจงอดใจ
ข
ุ
ม
ไว้
ยู
่
ใ
นตั
)
ควำมรั
ง
เกี
ย
จ
(อย่
ำ
เกี
ย
จแก่
ค
นไข้
คนเข็
ญ
ใจขำดในทำง)
ควำมลั
ง
เลใจ
(วิ
ต
ก
ั
โกนั
้
น
บทหนึ
ง
่
ให้
ต
ด
ั
ซึ
่
ง
วิ
ต
ก
ั
กำ)
ควำมประหม่
ำ (อุทธัจจังอย่ำอุทธัจ เห็นถนัดในโรคำ)
โมหะ (โมโหอย่ำหลงเล่ห)์
บำงหมอก็กล่ำวคำ
มุสำซ้ ำกระหนำ่ ควำม
พูดไม่จริง ยกตัวเองว่ำเก่ง
บำงทีไปเยียนไข้
บ มีใครจะเชิญหำ
ไปหำคนไข้เอง
ไปบอกว่ำมียำดี
บำงแพทย์ก็หลงเล่ห์
ด้วยกำเมเข้ำปิ ดบัง
หลงเล่ห์ “กำม” รักษำ
ด้วยเจตนำโลภ
บ้ำงกล่ำวอุบำยให้
บำงหมอก็เกียจกัน
ที่พวกอันแพทย์รกั ษำ แก่คนไข้น้นั หลำยพัน
แพทย์
ท
ี
ย
่
ด
ึ
หลั
ก
จรรยำแพทย์
รังเกียจโรค พูดว่ำหนักแต่เบำ พูดให้คนไข้ตอ้ งเสียเงิน
จะไปจุติบต้นสวรรค์
องกำรลำภ
ลักษณะแพทย์ที่ไม่
ดี
อำไว้จนแก่กล้ำ
แพทย์อื่นมำก็ขดั ขวำง
หินชำติแพทย์เหล่ำนี้ เวรำมี
ม
ิ
ไ
ด้
ก
ลั
ว
รักษำคนไข้ไมได้
ทำกรรมนำใส่ตวั
จะตกไปในอบำย
แต่ทำเป็ นรักษำได้
่
แพทย์
ท
ข
ี
าดจรรยาแพทย์
จะไปอยู
ใ
่
นนรก
บ้
ำ
งถื
อ
ว่
ำ
ตนเฒ่
ำ
บำงพวกก็ถอื ตน
เป็ นหมอเก่ำชำนำญดี
ว่ำไข้คนอนำถำ
ไม่รกั ษำคนไข้อนำถำ
ถือว่ำไม่ได้เงิน
ประมำท ถือว่ำอำยุมำก
ชำนำญกว่ำ
คำเตือนแพทย์บำงประกำร
ผูใ้ ดจะเรียนรู ้
พิเครำะห์ดูผูอ้ ำจำรย์
เที่ยงแท้ว่ำพิศดำร ทั้งพุทธ์ไสยจึ่ งควรเรียน
ให้เคำรพครูบำอำจำรย์
อย่ำหมิน่ ว่ำรูง้ ่ำย
รีบด่วนประมำทใจ
กำรพิจำรณำครูแพทย์
ครูพกั แลครูเรียน อักษรเขียนไว้ตำมมี
จงถือว่ำครูดี
เพรำะได้เรียนจึ่ งรูม้ ำ
ตำรับรำยอยู่ถมไป
อย่ำประมำทในกำรศึกษำ
ดังนั้นแท้มิเป็ นกำร
บำงทีก็ยำชอบ
แต่เครำะห์ครอบจึ่งหันหวน
เชื่อมันในตั
่
ว ทบทวนกำรรักษำ
หำยคลำยแล้วทบทวน จะโทษยำก็ผิดที
ใช่โรคสิง่ เดียวดำย จะพลันหำยในโรคำ
อย่ำประมำทในกำรรักษำโรค
ต่ำงเนื้ อก็ต่ำงยำ
จะชอบโรคอันแปรปรวน
วิจำโรให้พินิจ
จะทำผิดฤำชอบกำล
ให้วินิจฉัยโรคให้ถูกต้อง
ดูโรคกับยำญำณ
ให้ตอ้ งกันจะพลันหำย
เรียนรูค้ มั ภีรไ์ สย สุขุมไว้อย่ำแพร่งพรำย
อย่
ำ
แพร่
ง
พรำยต
ำรำกั
บ
คนที
ไ
่
ม่
ส
มควร
ควรกล่ำวจึ่งขยำย
อย่ำยืน่ แก้วแก่วำนร
คุณค่ำด้ำนวรรณศิลป์
การสรรคา
การเล่นเสี ยงสัมผัส
ผูใ้ ดใครทาชอบ
กุศลผลจะมี
การซ้ าคา
กายไม่แก่รู้
แม้เด็กเป็ นเด็กชาญ
การเพิ่มเสี ยง “ร”
ให้ดารงกระษัตริย์ไว้
อนึ่งห้ามอย่าโกรธา
ตามระบอบพระบาลี
อเนกนับเบื้องหน้ าไป
ประมาทผูอ้ ุดมญาณ
ไม่ควรหมิ่นประมาทใจ
คือดวงใจให้เร่ งยา
ข้าศึกมาจะอันตราย
ภาพพจน์
อุปมา
จะกล่าวคัมภีร์ฉนั
เสมอดวงทินกร
ทศาสตรบรรพ์ที่ครู สอน
แลดวงจันทร์ กระจ่างตา
บุคคลวัต
จบเรื่ องที่ตนรู้
ไม่สิ้นสงสัยทา
โรคนั้นสู้ วา่ แรงกรรม
สุ ดมือม้วยน่าเสี ยดาย
อุปลักษณ์
ดวงจิตคือกระษัตริ ย ์
ข้าศึกคือโรคา
ผ่านสมบัติอนั โอฬาร์
เกิดเข่นฆ่าในกายเรา
รสทางวรรณคดี
เสาวรจนี
พิโรธวาทัง
สัสลาปังคพิสัย
ข้าขอประนมหัตถ์
ตรี โลกอมรมา
ไม่รักจะทายับ
เสี ยแรงเป็ นครู สอน
ไม่รู้คมั ภีร์เวช
แพทย์เอ๋ ยอย่างมคลา
พระไตรรัตนนาถา
อภิวาทนาการ
พาตารับเที่ยวขจร
ทั้งบุญคุณก็เสื่ อมสู ญ
ห่อนเห็นเหตุซ่ ึ งโรคทา
จักขุมืด บ เห็นหน
คุณค่ำด้ำนสังคม
ด้ำนวิชำกำรหรือด้ำนกำรแพทย์
• ให้ควำมรูด้ ำ้ นเวชศำสตร์และสมุนไพรไทย
• คุณค่ำทำงด้ำนกำรแพทย์แผนโบรำณ
• เน้นควำมเป็ นวิทยำศำสตร์
• ให้ควำมรูถ้ งึ คุณสมบัติของแพทย์
• ทรำบถึงควำมสำคัญของแพทย์
• ทรำบถึงคำเตือนสำหรับแพทย์บำงประกำร
ให้คุณค่ำทำงด้ำนคุณธรรม
ข้อบกพร่องของแพทย์
ด้ำนจรรยำบรรณแพทย์
ควำมผิดพลำดจำกกำรรักษำ
คุณค่ำด้ำนเนื้ อหำ
เนื้อหาของคัมภีร์ฉนั ทศาสตร์ และแพทยศาสตร์ สงเคราะห์จะเน้นใจความหลักสองส่ วน นัน่
คือ เน้นคุณค่า จรรยาบรรณของแพทย์ สิ่ งที่แพทย์ที่ดีพึงปฏิบตั ิและไม่พึงปฏิบตั ิ อันเป็ นการ
รวบรวมจรรยาบรรณของแพทย์ในด้านต่างๆ มาประมวลรวมไว้ในตาราเดียวอย่างเป็ นระบบ
ทาให้คุณค่าของแพทย์ดูเป็ นรู ปธรรมและเข้าใจได้ง่ายมากยิง่ ขึ้น และก่อให้เกิดอิทธิ พลและ
เป็ นต้นแบบของจรรยาบรรณแพทย์แขนงต่างๆ จนกระทัง่ ปั จจุบนั
ส่ วนที่สองคือตาราแพทย์แผนโบราณ ซึ่ งเป็ นการรวบรวมตาราแพทย์แผนโบราณฉบับ
หลวง ก่อให้เกิดการประมวลความรู ้ทางด้านการแพทย์แผนโบราณเป็ นหนึ่ งเดียว ง่ายต่อการ
นามาจัดระบบให้การศึกษาเช่นเดียวกัน ทั้งยังเป็ นการรวบรวมความรู ้ทางการแพทย์เอาไว้มิ
ให้สูญหายไปตามกาลเวลาและผิดเพี้ยนไปจากเดิม
จึงถือได้วา่ คัมภีร์ฉนั ทศาสตร์ แพทยศาสตร์ สงเคราะห์ เป็ นวรรณคดีที่รวบรวมพื้นฐานทุก
สิ่ งอย่างของอาชีพแพทย์อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ และมีคุณค่าทั้งทางด้านองค์ความรู้และ
ทางด้านจิตใจต่อแพทย์ ผูป้ ระกอบวิชาชีพ และผูท้ ี่สนใจอาชีพแพทย์อย่างยิง่
ควำมรูเ้ พิม่ เติม
หมอชีวก โกมารภัจจ์
ถือกาเนิดจากนางนครโสเภณี แคว้ นมคธ ถูก
นามาทิ้งในกองขยะ เจ้ าชายอภัยราชกุมาร โอรส
พระเจ้ าพิมพิสารเป็ นผู้ทรงเก็บมาเลี้ยงที่วัง
เป็ นหมอหลวงในราชสานักของพระเจ้ าพิมพิสาร ได้
ถวายการรักษาโรค “ภคันทลาพาธ” (ริดสีดวงทวาร)
ของพระเจ้ าพิมพิสารแห่งเมืองราชคฤห์
คุณธรรมทีเ่ ป็ นแบบอย่ำง
- เป็ นอุบาสกที่ดี เลื่อมใสในพระรัตนตรัย เคารพพระพุทธเจ้ าอย่างสูง
- ใฝ่ เรียนรู้และมีความพยายาม ตั้งใจเล่าเรียนอย่างมานะ
มีจิตใจเสียสละ ดูแลผู้ป่วยอย่างเต็มความสามารถ ไม่เลือกอยากดีมีจน
ลักษณะทับ ๘ ประกำร
๑. เด็กเป็ นไข้ เนือ่ งจำกแม่ทรำง ๒ ชนิดให้โทษ คืออำกำรต่อไป
ให้ลงท้อง กระหำยน้ ำ เชื่อมมัว ตัวร้อน ปลำยมือปลำยเท้ำเย็น ถ้ำ
เด็กมีอำกำรเป็ นดังนี้
ก. ตอนเช้ำให้กินยำตรี
ข. ตอนเที่ยงให้กินยำหอมผักหนอก
ค. ตอนเย็นให้กินประสะนิลน้อย
๒. เด็กเป็ นไข้ให้สำรอก เสมหะเป็ นสีเหลืองสีเขียว เป็ นเม็ด
มะเขือ ให้ไอนอนผวำ เบือ่ ข้ำวเบือ่ นม ตัวร้อนบ้ำงเย็นบ้ำงเป็ น
ครำวๆ ตำมองช้อนไปข้ำงบน
๓. เป็ นไข้แล้วให้อุจจำระพิกำร ลงท้องเป็ นมูกเหม็นเปรี้ ยวเหม็นคำว
ละอองทรำงขึ้ นในคอ ให้ไอ มีน้ ำมูก ปวดศีรษะ ตัวร้อนจัด เชื่อมมัว
๓. เป็ นไข้แล้วให้อุจจำระพิกำร ลงท้องเป็ นมูกเหม็นเปรี้ ยวเหม็นคำว
ละอองทรำงขึ้ นในคอ ให้ไอ มีน้ ำมูก ปวดศีรษะ ตัวร้อนจัด เชื่อมมัว
๔. ไข้เนือ่ งจำกหวัดกำเดำ ให้ไอ ตัวร้อนจัด หำยใจถี่ ปำกคอแห้ง นอนผวำ
เม็ดทรำงเกิดในคอ ข้ำวนมไม่กิน ท้องขึ้ นหลังแข็ง ให้ใช้ยำเย็นและสุขุม
๕. เด็กไข้ตกอุจจำระเป็ นมูกดำสดๆ เป็ นหวัดมีกำเดำแทรก ตัวร้อนจัด
เชื่อมมัว อยำกน้ ำเป็ นกำลัง ตอนเช้ำให้กินน้ ำสมอไท เที่ยงยำหอมผักหนอก
๖. กำลังเด็กเป็ นไข้หวัด มีอำกำรซึมเซำเชื่อมมัว ปวดหัวตัวร้อนตั้งแต่เท้ำตลอด
เบื้ องบน บำงทีทอ้ งขึ้ น หอบไอแห้ง ลงเป็ นมูกเลือดไม่เป็ นเวลำ พอแก้ได้
๗. เด็กให้ลงออกมำเป็ นส่ำเหล้ำ เหม็นคำว เหม็นขื่น ต่อมำเป็ นมู กเลือด
สดๆ ปวดเบ่งตับทรุดลงมำตัวร้อน ท้องขึ้ น ปลำยเท้ำปลำยมือเย็น หำยใจ
ขัด อำกำรนี้ อำกำรตำย แก้ไม่ได้
๘. เด็กใดๆก็ดี หกล้ม ชอกช้ ำ ต่อมำจับไข้ตวั ร้อนเป็ นเวลำ หน้ำตำไม่มีสี
เลือด ท้องร่วงเป็ นส่ำเหล้ำหรือไข่เน่ำ สุดท้ำยลงเป็ นมูกเลือด ตัวร้อน
หำยใจขัดสะอื้ น ปลำยเท้ำเย็น มือเย็น อำกำรนี้ เป็ นอำกำรตำยแก้ไม่ได้
จารึกตารายาทีว่ ดั พระเชตุพนวิมงมังคลาราม
จารึ กตารายาที่วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม แบ่งเป็ น ๔ ประเภท (หรื อ
วิชา) ดังนี้
๑. วิชากายภาพบาบัด (ฤาษีดดั ตน) ทาเป็ นรู ปฤาษี หล่อด้วยดีบุกผสมสังกะสี
จานวน ๘๐ ท่า มีโคลงสี่ สุภาพอธิ บายประกอบทุกท่า
แม้๒.วา่ วิพระคั
มภีร์สรรพคุ
(แลมหาพิ
กตั ) ในหนั
อ "แพทย์ศกาสตร์
ชาเวชศาสตร์
ว่าด้ณวยการศึ
กษาโรคภั
ยไข้เจ็งบสืตามทฤษฎี
ารแพทย์แผน
สงเคราะห์
นั้น น่าจะเป็
นคนละสานวนกั
ยาฉบั
ไทย มีก" ารแยกสมุ
ฏฐานของโรค
การวินนกัิจบฉัตยาราสรรพคุ
โรค การใช้ณยาบ
าบัดบรัวักดษาโรค
พระเชตุ
นฯ และฉบั
บกรมหลวงวงษาธิ
ราชสนิท เพราะมีรายละเอียด
รวมจพานวนยา
๑,๑๒๘
ขนาน
ต่างกั๓.นวิแต่
กม็ ีเนื้อหาใกล้
เห็นได้
า่ มีพ้นื ฐานมาจากต้
ฉบับ ษย์
ชาแผนนวด
หรื อเคีวิยชงกั
าหันตมาก
ถศาสตร์
มีภวาพโครงสร้
างของร่ านงกายมนุ
เดียวกั
น โดยได้
มีการปรั
บปรุ งแก้ไขและเพิ
มในชั
้ นหลัง ่ยวกับการนวดแก้ขดั
แสดงที
่ต้ งั ของเส้
นประสาทการนวด
๑๔่มเติภาพ
และภาพเกี
ยอกแก้เมื่อยและโรคต่างๆ อีก ๖๐ ภาพ
๔. วิชาเภสัช ว่าด้วยสรรพคุณของเครื่ องสมุนไพร ที่เรี ยกว่า ตาราสรรพคุณยา
ปรากฏสรรพคุณในการบาบัดรักษา จานวน ๑๑๓ ชนิด
ท่ าฤๅษีดดั ตน
ประโยชน์
การปั้ นเป็ นรู ปฤาษีน้ นั ไม่มีหลักฐานว่า พระมหากษัตริ ยไ์ ทยลอกแบบมาจากที่
การบริ
ฤาษีดว่ ดั ไปทั
ตน นอกจากใช้
เป็ นท่าในการบริ
หารร่เป็านงกายแล้
ใด แต่หารร่
เป็ นาทีงกายด้
่ยอมรัวบยท่
กันาโดยทั
ว่ ไปว่าคนไทยเคารพนั
บถือฤาษี
ครู บา ว ทาให้
ร่ างกายตื
่นตัการปั
ว แข็้ งนแรง
กผ่ชอื่อนฤาษี
ท่าเต่ป็านงๆผูค้ ทีิด่ใค้ช้นยท่งั มีาเหล่
สรรพคุ
ในการรั
อาจารย์
เป็ นและเป็
รู ปฤาษีนแการพั
ละระบุ
านั้นณอาจเป็
น กษาโรค
เบื้อกลวิ
งต้นธได้
วย นับว่งามีเพราะผู
ประโยชน์
อันมาก
แก่างๆ กับรู ปปั้ นฤาษี
ี ให้อเกิีกดด้ความขลั
ฝ้ ึ กต้เป็อนงมาฝึ
กท่าได้
ทางต่
1.ช่เปรี
วยให้
เกิดการเคลื
ต่างๆ เป็างๆ
นไปอย่าง คล่องแคล่ว
ยบเสมื
อนได้ฝ่อึ กนไหวตามธรรมชาติ
กับครู เพราะฤาษีเป็ ขนองแขนขาและข้
ครู ของศิลปะวิทอยาการต่
นการแพทย์
แผนไทย
ได้ดวาเนิ
นวการคั
มีการเน้นสถาบั
การนวดโดยบางท่
าจะมีการกดหรื
อบีบนวดร่
มไปด้
ย ดเลือกท่าฤาษี
าให้
โลหิ้นตเฐาน
ยดนตามอิ
นได้
สะดวกดด
เป็ นการออกก
าลัว่ งไปสามารถท
กายทีท่ส้ งั ามารถท
วนใหญ่
ป็หมุ
นท่นาเวีดั15
ิ จากท่
ยาบถของคนไทย
วามสุ
ภ่ราพและทั
า าได้
ดั2.ทดส่ตนพื
ท่เลือารดลมเดิ
าฤาษี
ัมีนัคบตนที
วบรวมไว้
หมด
ทุกอิได้ริยแต่
าบถของคนไทย
อย่างไรก้ตามในจานวนท่า ฤาษีดดั ตน 80 ท่า มีท่าแบบจีน 1 ท่า ท่าแบบ
127
า1 ท่อา ต้ท่าานโรคภั
3.เป็แขก
นท่การต่
ารุ งรักษาสุ
ขภาพให้ม่ยีอนายุความรู
ยนื ยาว้กนั และมีการระบุไว้
ดัดคู ้ 2 ยท่าบแสดงถึ
งการแลกเปลี
่ วมด้วายจะช่
4.มีชักดารใช้
จิตใจให้
พน้ อารมณ์ขย่นุื มัยาว
ว หงุดหงิด ความง่วง ความ
เจนว่สามาธิ
เป็ นรของต่
งชาติ วเพืยยกระดั
่อให้ร่าบงกายแข็
งแรงและอายุ
ท้อแท้ ความเครี ยด และช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการหาใจหากมีการฝึ กการหายใจให้
ถูกต้เช่อนง อินเดียมีการบริ การร่ างกาย ที่เรี ยกว่า โยคะ จีนมีการรามวยจีนที่เรี ยกว่า ไท
เก๊ก ไทยมีการบริ การร่ างกายด้วยท่าฤาษีดดั ตน เป็ นต้น