สมัยรัตนโกสินทร์ ยุคปฏิรูปบ้านเมืองตามตะวันตก

Download Report

Transcript สมัยรัตนโกสินทร์ ยุคปฏิรูปบ้านเมืองตามตะวันตก

สมัยร ัตนโกสินทร ์
ยุคปฏิรูปบ้านเมืองตามตะวันตก - ก่อน
่
เปลียนแปลงระบอบการปกครอง
2475
( ร.4-ร.7 )
่ า
เหตุการณ์อท
ิ ธิพลของชาติตะวันตกทีเข้
มามีบทบาททางการเมืองการปกครอง ใน
ภู มภ
ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
1. การปฏิวต
ั อ
ิ ต
ุ สาหกรรม
่ กดันให้เกิด
เป็ นปั จจัยสาคัญทีผลั
่ นความ
นโยบายระดับชาติในยุโรป ทีเห็
จาเป็ นของการยึดครองดินแดนนอกทวีป
่ ระดับความเจริญทางเศรษฐกิจ
ยุโรปทีมี
่
่ น
การเมือง และสังคมตากว่
า เพือเป็
แหล่งวัตถุดบ
ิ และตลาดการค้า หรือเป็ น
่
ฐานทัพในเขตยุทธศาสตร ์ เพือสร
้าง
่ งทางเศรษฐกิ
่
่
ความมังคั
จ ความมันคง
การปฏิว ัติอต
ุ สาหกรรม
่ า
เหตุการณ์อท
ิ ธิพลของชาติตะวันตกทีเข้
มามีบทบาททางการเมืองการปกครอง ใน
ภู มภ
ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
2. ความต้องการเผยแพร่คริสต ์ศาสนา
และความสานึ กในด้านมนุ ษยธรรมของ
ชนผิวขาว
ความเจริญ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของ
้
ชาวตะวันตกตังแต่
คริสต ์ศตวรรษที่ 15
่ นในวิ
่
ทาให้ชาวตะวันตกเชือมั
ถช
ี วี ต
ิ และ
การปกครองของตนว่าเป็ นวิถท
ี างที่
่
ถู กต้อง และชาติอน
ื่ ๆ ทัวโลกจะได้
ร ับ
่ า
ประโยชน์ ถ้าปฏิบต
ั ต
ิ าม พวกเขาเชือว่
่
ตะวันตกเป็ นชาติทมี
ี่ ความ
ในฐานะทีชาติ
่
่ าให้เกิดไทยการ
ปั จจัยทีท
ปร ับปรุงบ้านเมือง
1. ลัทธิจก
ั รวรรดินิยม
อิทธิพลของลัทธิจก
ั รวรรดินิยมต่อ
ภู มภ
ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้และ
ประเทศไทย มีเป้ าหมายสาคัญ คือ การ
แสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การ
แผ่อท
ิ ธิพลทางการเมือง และการ
เผยแพร่อารยธรรมตะวันตก
ชาวตะวันตกจานวนไม่น้อยเห็นว่า
่
ประเทศไทยเป็ นชาติป่าเมืองเถือน
ทู ต
่ ามาเจริญ
ตะวันตกคนหนึ่ งทีเข้
สัมพันธไมตรีกบ
ั ไทยในต้นร ัชกาลที่ 4
บันทึกไว้ในสมุดประจาวันของเขาว่า
2. การขาดประสิทธิภาพของระบบบริหาร
ราชการต่าง ๆ ภายในประเทศ
่ อยู ่ขณะนัน
้
ระบบการปกครองทีใช้
่ มายาวนานกว่า 300 ปี
เป็ นระบบทีใช้
้ั
(ตงแต่
สมัยพระบรมไตรโลกนาถ
ปฏิรูปการปกครองในปี พ.ศ.1997(
่ อยู ่ขาด
ค.ศ. 1454)) หน่ วยงานทีมี
่
ประสิทธิภาพ มีภาระหน้าทีและ
้ ้อน ก้าวก่าย ปะปนก ัน
บทบาทซาซ
3. กลุ่มคนรุน
่ ใหม่ทเรี
ี่ ยนรู ้
วิทยาการตะวันตก
้ มก่
่ อตัวขึนใน
้
กลุ่มคนรุน
่ ใหม่นีเริ
่
ร ัชกาลที่ 3 เมือชาวตะวั
นตกเข้ามา
่
้
ติดต่อกับไทยเพิมมากขึ
น
ผู ส
้ นใจศึกษาหาความรู ้และ
วิทยาการใหม่ ๆ จากมิชช ันนารี
บาทหลวง พ่อค้า และนักเดินทาง
ตะวันตก เป็ นพวกแรก ๆ คือ กลุ่มชน
้ั น
่
ชนผู
้ ากลุ่มหนึ่ ง ซึงประกอบด้
วยพระ
เจ้าน้องยาเธอ เจ้านาย ขุนนาง และ
สมเด็จพระปิ่ น
เกล้า
กรมหลวงวงษาธิ
ราชสนิ ท
ช่วง บุนนาค
สมเด็จจ้าพระยาบรมมหา
ศรีสุรย
ิ วงศ ์
การดาเนิ นนโยบาย
ต่างประเทศ
1. นโยบายถ่วงดุลระหว่าง
มหาอานาจ
2. นโยบายแสวงหาพันธมิตร
3. นโยบายลู ่ตามลม หรือ
นโยบาย “สนลู ่ลม”
การปร ับปรุงบ้านเมือง
่
สมัยร ัชกาลที 4
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จ อ ม เ ก ล้ า
เจ้าอยู ่หวั ทรงตระหนักดีว่า พระองค ์
จะต้อ งทรงท าการปร บ
ั ปรุ ง กฎหมาย
ขนบธรรมเนี ยมประเพณี และองค ์กร
ต่างๆของร ัฐโดยการตราออกมาเป็ น
กฎหมาย และทาการปฏิบต
ั ใิ ห้เป็ นไป
ตามแนวความคิด ของทางตะวัน ตก
่ น
้
เพือก
ั มิให้ประเทศต่างๆเหล่านันยก
้
1. การวางพืนฐานทางเศรษฐกิ
จ
สมัยใหม่
พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิ จ ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร
้
่
ภายในประเทศชินแรกที
พระบาทสมเด็
จพระจอม
่ อนคลายความ
เกล้า เจ้าอยู ่หวั ทรงกระท าเพือผ่
ตึงเครียดทางการเมืองระหว่างประเทศคือ การ
ลดภาษีสน
ิ ค้าขาเข้า
การอนุ ญาตให้ส่ ง ข้า วเป็ นสิน ค้า ออกได้ และ
การค้าฝิ่ นโดยผ่านระบบเจ้าภาษีนายอากร
หลัง จากนั้ นอีก 3ปี ก็ ม ีก ารท าสนธิส ญ
ั ญา
ท า ง พ ร ะ ร า ชไ ม ต รีแ ล ะ ก า ร ค้า กับ อ ัง ก ฤ ษ (
สนธิสญ
ั ญาเบาว ร์ งิ พ. ศ. 2398 ) หลังจากทา
สนธิสญ
ั ญาเบาว ร์ งิ แล้ว ระบบทางเศรษฐกิจของ
เซอร ์ จอห ์น เบาว ร์ งิ
้
1. การวางพืนฐานทางเศรษฐกิ
จ
สมัยใหม่
- การปร ับปรุงรู ปแบบและการผลิตเงินตรา
การขยายตัวทางการค้าทาให้เงินตรา
่ หมุนเวียนภายในประเทศมีไม่
ทีใช้
เพียงพอ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู ่หวั จึงโปรดฯให้สร ้างโรงกษาปณ์
้ และสังซื
่ อเครื
้
่
ขึน
องจั
กรสาหร ับผลิตเงิน
้
- การวางพืนฐานการหารายได้
เข้าร ัฐ
และการปร ับปรุงภาษีทดิ
ี่ น
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู ่หวั ทรงส่งเสริมข้าวให้เป็ น
้
2. การวางพืนฐานการปฏิ
รูป
ทางสังคม
- ทรงลดหย่อนการเกณฑ ์แรงงานภาคบังคับลง
่
่ น
้
เพือให้
ไพร่มเี วลาประกอบอาชีพมากยิงขึ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู ่หวั ได้ทรง
อนุ ญาตให้ไพร่เสียเงินแทนการถูกเกณฑ ์
แรงงานได้ แล้วโปรดฯให้จา้ งกรรมกรซึง่
่ องใช้
ส่วนมากเป็ นคนจีนทางานก่อสร ้างทีต้
เวลา และแรงงานเป็ นคนจานวนมาก
- ออกประกาศห้ามบิดามารดาหรือสามีขายบุตร
ภรรยา ลงเป็ นทาสโดยเจ้าต ัวไม่สมัครใจ
่
- ทรงเริมยกฐานะสตรี
้
3. การวางพืนฐานการปร
ับปรุง
ทางด้านการปกครอง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู ่หวั
ทรงมีพระราชประสงค ์จะให้ราษฎรดารงชีพ
อยู ่ ด ว
้ ยความสงบร่ม เย็ น เป็ นสุ ข จึง ทรง
้ วย
ปร ับปรุงการปกครองให้เป็ นระเบียบขึนด้
ห ลั ก แ ห่ ง ก ฎ ห ม า ย ใ น รู ป ข อ ง ห ม า ย
่ อยู ่เป็ นจานวนมาก
ประกาศต่างๆซึงมี
ด้านการศาล พระบาทสมเด็จพระจอม
เกล้าเจ้า อยู ่ หวั โปรดเกล้า ฯ ให้ร าษฎรเข้า
่ ่ง
เฝ้าถวายฎีกาต่อ พระองค ์ได้ ณ พระทีนั
้
3. การวางพืนฐานการปร
ับปรุง
ทางด้านการปกครอง
ปร ับปรุงการปฏิบต
ั งิ านของหน่ วยงาน
ให้ม ีป ระสิท ธิภ าพเช่ น เดีย วกับ ประเทศ
ตะวันตกจึงได้ทรงติดต่อให้ชาวยุโรปและ
อเมริก าเข้า มาร บ
ั ราชการในกรมกอง
่ กษาทาหน้าที่
ต่างๆของไทยในฐานะทีปรึ
แนะน าความคิดใหม่ ๆ ให้ก บ
ั ข้า ราชการ
ไทย
น อ ก จ า ก นั้ น ยั ง ท ร ง จ้ า ง ช า ว
ต่า งประเทศให้ร ับราชการเป็ นกงสุ ลไทย
้ ้ ่
้
4. การวางพืนฐานทางด้
าน
การศึ
ก
ษาแบบตะวั
น
ตก
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู ่หวั ทรงพิจารณาเห็นความจาเป็ น
ของการศึกษาแบบตะวันตกในการ
พัฒนาประเทศ โปรดเกล้าฯ ให้สตรี
มิชช ันนารีอ ันประกอบด้วยภรรยาหมอ
บร ัดเลย ์ (Mrs.Bradley) ภรรยาหมอแม
ตตู น (Mrs.Mattoon) ภรรยาหมอโจนส ์
(Mrs.Jones) มาเป็ นครู สอน
่
ภาษาองั กฤษและความรู ้ทัวไปแก่
สตรีใน
วัง ระหว่างปี พ.ศ. 2394 – 2397 โดย
่
พลัดเปลียนกั
นเข้าไปสอนในวังสัปดาห ์ละ
่
2 วัน ต่อมาเมือพระราชโอรสและพระ
ราชธิดาเจริญพระช ันษาแล้ว จึงโปรด
นางแอนนา เลียวโนเวนส ์ (Mrs.
Anna Leonowens)
5. การวางรากฐานการคมนานคม
สมัยใหม่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู ่หวั ได้
ทรงวางรากฐานการคมนาคมสมัยใหม่ไว้ให้
ชาวไทย กล่าวคือ พระองค ์ได้โปรดเกล้าฯ
่
้
่ ั นเพื
อใช้
ในการ
ให้สร ้างถนนแบบฝรงขึ
คมนาคม และเป็ นศรีสง่ าแก่บา้ นเมือง ได้แก่
่ อง
ถนนเจริ
ญ
กรุ
ง
ถนนบ
ารุ
ง
เมื
อ
ง
ถนนเฟื
้
6.นคร
การวางพื
นฐานการปร
ับปรุ
ง
และถนนสีลม
ทางด้
า
นการทหาร
พระองค ์ทรงจ้างนายร ้อยเอกทหารอ ังกฤษ
่ อิมเป (Impey) เป็ นครู ฝึกทหารบก โปรด
ชือ
เกล้าฯให้เกณฑ ์คนกรมอาสาลาวและเขมรมา
ฝึ กหัดเป็ นทหาร เรียกว่า “ ทหารเกณฑ ์หัด
การปร ับปรุงบ้านเมือง
สมัยร ัชกาลที่ 5
1.การปฏิรูปการเมืองการปกครอง
ทรงปฏิรูปการปกครองด้วยการจัดตัง้
่ กษาเพือช่
่ วยในการบริหาร
สภาทีปรึ
่ พ.ศ. 2417 ดังนี ้
ราชการแผ่นดิน เมือ
่ กษาราชการแผ่นดิน
1. สภาทีปรึ
่
(Council of State) มีหน้าทีถวาย
คาปรึกษาราชการแผ่นดินแด่กษัตริย ์
้ งทาหน้ามีด้
่ านตุลาการอีก
นอกจากนี ยั
ด้วย
่ กษา ส่วนพระองค ์(Privy
2. สภาทีปรึ
2. การปฏิรูปการปกครองในส่วนกลาง :
้ั
การจัดตงกระทรวง
ทบวง กรม
้
จัดตังกระทรวงแบบใหม่
แทนจตุสดมภ ์แบบ
่ นที่ 1 เมษายน
เก่ารวม 12 กระทรวง เมือวั
พ.ศ. 2435 ได้แก่ กระทรวงกลาโหม
กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงเกษตร
พาณิ ชยการ กระทรวงพระคลังมหาสมบัต ิ
กระทรวงธรรมการ กระทรวงนครบาล
กระทรวงมุรธาธิการ กระทรวงยุตธ
ิ รรม
กระทรวงยุทธนาธิการ กระทรวงโยธาธิการ
3. การปฏิรูปการปกครองในส่วน
้ั
ภู มภ
ิ าค : การจด
ั ตงมณฑลเทศาภิ
บาล
หลังจากการปฏิรูปการบริหารงาน
ส่วนกลางแล้ว พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หวั
มีพระราชประสงค ์ที่
จะดึงอานาจการปกครองในส่วนภู มภ
ิ าคมา
้
ขึนอยู
่ก ับการปกครองในส่วนกลาง จึงโปรดให้
้
้
่
จัดตังมณฑลเทศาภิ
บาลขึนเพื
อปกครองหั
ว
เมืองต่าง ๆ
การปกครองแบบเทศาภิบาลเป็ นการ
่ าหน้าทีต่
่ างพระ
ปกครองโดยข้าราชการ ซึงท
เนตรพระกรรณของพระบาทสมเด็จพระ
พระราชชายาเจ้า
ดาราร ัศมี
เจ้าอุตรการโกศล
4. การปฏิรูปการปกครองในส่วน
่
ท้องถิน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
่
เจ้าอยู ่หวั ได้ทรงเริมให้
มก
ี ารจัดการบารุง
่
้
ท้องถินแบบสุ
ขาภิบาลขึนในกรุ
งเทพฯ
่ พ.ศ.2442 (ร.ศ.118) และต่อมาได้ม ี
เมือ
การจัดตัง้ “การสุขาภิบาลท่าฉลอม” ที่
่
ตาบลท่าฉลอม เมืองสมุทรสาคร เมือ
่
พ.ศ.2448 เพือทดลองให้
ราษฎรรู ้จักการ
่
ปกครองตนเองในระดับท้องถินของตน
และต่อมาจึงได้ประกาศใช้
5. การปฏิรูปสังคม
- การเลิกทาส
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หวั ทรงมี
พระราชดาริวา
่ คนควรมีความเสมอภาค
่ บานะ
เท่าเทียมกัน ไม่ควรปล่อยให้คนทีมี
่ งกดขี
่
่
่
มังคั
ราษฎรที
ยากจน
้
นอกจากนี การมี
ทาสอยู ่ใน
บ้านเมือง ยังแสดงให้เห็นถึงความไม่
่
่ าให้
เจริญ เป็ นบ้านป่ าเมืองเถือน
ซึงท
- การเลิกไพร่
่
เมือพระบาทสมเด็
จพระจุลจอมเกล้า
้
เจ้าอยู ่หวั ขึนครองราชย
์อานาจของพระองค ์ก็
่ั
ไม่มนคงนั
ก พระองค ์จึงมีพระราชดาริทจะ
ี่
้ งมีสาเหตุอน
ยกเลิกระบบไพร่ นอกจากนี ยั
ื่
ประกอบคือ
่
่
- สภาวะเศรษฐกิจทีเปลี
ยนแปลงจากสภาพ
่ งชีพมาเป็ นการผลิตเพือการค้
่
การผลิตเพือยั
า
โดยเฉพาะหลังสนธิสญ
ั ญาเบาริง
- อิทธิพลของตะว ันตกทาให้ตอ
้ ง
่
เปลียนแปลงระบบไพร่
กล่าวคือ ชาติตะวันตก
้ อร ังเกียจระบบไพร่ในเมืองไทย เพราะเห็น
ตังข้
- ด้านการศาลและกฎหมาย
ก่อนการปฏิรูปทางด้านการศาลของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หวั
ศาลอยู ่ปะปนกับองค ์กรบริหารต่าง ๆ เช่น ศาล
้ อานาจทัง้
กรมวัง ศาลกรมนา ศาลเหล่านี มี
่
ด้านบริหารและตุลาการปะปนกัน กฎหมายทีใช้
ยังไม่เป็ นไปตามหลักสากล
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หวั จึงทรงประกาศ
้ั
่
่ 25 มีนาคม
ตงกระทรวงยุ
ตธ
ิ รรม เมือวันที
่ าคัญพระองค ์โปรดให้ยกเลิกการ
พ.ศ. 2434 ทีส
่
่
ลงโทษแบบจารีตนครบาลทีทารุ
ณ ป่ าเถือนแบบ
้
สมัยก่อน ๆ นันเสี
ย และให้นาประมวล
- การปฏิรูปการศึกษา
้ั
่
่
การจัดตงโรงเรี
ยนเพือสอนกุ
ลบุตรกุลธิดาเริม
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู ่ หวั
หลัง การเสวยราชย ไ์ ด้เ พีย ง 4 ปี โดยจัด ต ง้ั
้
้ั
โรงเรีย นขึนในพระบรมหมาราชวั
ง เป็ นคร งแรก
โ ด ย อ อ ก ป ร ะ ก า ศ ช ั ก ช ว นใ ห้ ร า ช ว ง ศ แ
์ ละ
ข้าราชการให้ส่งบุตรหลานเข้าศึกษาเล่าเรียน
้ั
ต่ อ มาทรงจัด ต งโรงเรี
ย นเพิ่ มเติ ม อี ก คื อ
โรงเรีย นนายทารมหาดเล็ ก ที่พระต าหัก สวน
กุหลาบ โรงเรียนทาแผนที่ โรงเรียนของพระเจ้า
ลู กเธอ โรงเรียนพระปริยต
ั ธ
ิ รรม
้ั
จัด ต งโรงเรี
ย นแห่ ง แรกส าหร บ
ั ราษฎร คือ
โรงเรียนวัดมหรรณพาราม
้
การปร ับปรุงบ้านเมือง
่
สมั
ย
ร
ัชกาลที
6
การปกครองในสมัยร ัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2453 -
2468) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู ่หวั พระองค ์ทรงพยายามปร ับปรุงการ
่
ปกครองบ้านเมืองตามทีร่ ัชกาลที่ 5 ทรงริเริมและ
ดาเนิ นการไปแล้วต่อไป
กวาดล้างจับกุมบุคคลใน “คณะพรรค ร.
่ นคณะนายทหารบกกลุ่มหนึ่งได้
ศ.130” ซึงเป็
่
วางแผนเปลียนแปลงการปกครองจากระบอบ
่
สมบู รณาญาสิทธิราชย ์เป็ นการปกครองทีมี
พระมหากษัตริย ์เป็ นประมุขอยู ่ภายใต้ร ัฐธรรมนู ญ
่ พ.ศ. 2454 (ร.ศ.130) แต่ตอ
เมือ
้ งประสบความ
ดุสต
ิ ธานี
การปร ับปรุงบ้านเมือง
่
สมัยร ัชกาลที 7
้ั
่ นทีป
่ รึกษา
1. แต่งตงอภิ
ร ัฐมนตรีสภา เพือเป็
่
ราชการแผ่นดิน โดยมีสมาชิกซึงประกอบด้
วย
พระบรมวงศานุ วงศ ์ 5 พระองค ์
2. จัดตง้ั “สภากรรมการองคมนตรี” มี
่ กษาในพระองค ์
ลักษณะเป็ นสภาทีปรึ
้ั
่
3. จัดตงเสนาบดี
สภา เพือเตรี
ยมฝึ กให้
้
เสนาบดีมก
ี ารร ับผิดชอบร่วมกันทังคณะ
่
4. การจัดวางรู ปแบบการปกครองท้องถินใน
รู ปแบบเทศบาลและวางโครงการปร ับปรุงแก้ไข
่ อยู ่ให้เป็ นเทศบาลแต่ไม่ทน
สุขาภิบาลทีมี
ั ได้ตง้ั
5. เตรียมการร่างร ัฐธรรมนู ญ ด้วยการ
โปรดเกล้าฯให้พระยากัลยาไมตรี (ดร.ฟราน
ซิส บี แซร ์) ร่างร ัฐธรรมนู ญให้พระองค ์
ทอดพระเนตร และโปรดเกล้าฯให้นายเรย ์
มอนด ์ บี. สตีเวนส ์ และพระยาศรีวส
ิ ารวาจา
ร่างร ัฐธรรมนู ญอีกฉบับหนึ่งให้พระองค ์
ทอดพระเนตร
สาหร ับพระยาศรีวส
ิ ารวาจาและนายเรย ์
้ ภายหลังทีร่
่ าง
มอนด ์ บี. สตีเวนส ์ นัน
ร ัฐธรรมนู ญเสร็จแล้วได้ทาบันทึกความเห็น
ของตน แสดงเหตุผลว่ายังไม่ถงึ เวลาสมควรที่
จะมีการประกาศให้ร ัฐธรรมนู ญจนกว่า
ประชาชนจะมีการศึกษาและมีประสบการณ์ใน
การปกครองตนเองอย่างเพียงพอเสียก่อน
การปร ับปรุงการเมืองการปกครองของ
่
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู ่หวั
พระราชทานร ัฐธรรมนู ญ
เมืองไทยภายหลังการปร ับปรุง
บ้านเมืองตามตะวันตก
้
การปร ับปรุงบ้านเมืองตังแต่
ร ัชกาลที่ 4 จนถึงร ัชกาลที่ 7 เป็ น
่ ความสาคัญมากต่อ
กระบวนการทีมี
ประเทศไทย เพราะก่อให้เกิดการ
่
เปลียนแปลงอย่
างกว้างขวางในสังคมไทย
โดยเฉพาะทางการเมืองการปกครองและ
สังคม เป็ นการวางรากฐานความเจริญ
สาหร ับรองร ับการพัฒนาประเทศเข้าสู ่
่
่ ดขึน
้
สมัยใหม่ตอ
่ ไป การเปลียนแปลงที
เกิ
่
1. การเปลียนแปลงทาง
การเมืองการปกครอง
- ร ัฐชาติทมี
ี่ กษัตริย ์เป็ นผู น
้ า
- ระบบราชการแบบตะว ันตก
- การเผยแพร่อด
ุ มการณ์
้ั
ประชาธิปไตยในหมู ่ชนชนกลาง
่
2. การเปลียนแปลงทางสั
งคม
่
่
- การเคลือนที
ของคนในสั
งคม
- การร ับว ัฒนธรรมตะว ันตก
่
3. การเปลียนแปลงทาง
เศรษฐกิจ
่
เศรษฐกิจไทยเปลียนจากระบบการ
่
ผลิตเพือพอเพี
ยงแก่การยังชีพเป็ น
่
ระบบการผลิตเพือการส่
งออก