การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น - สำนักงานโครงการบัณฑิตศึกษา

Download Report

Transcript การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น - สำนักงานโครงการบัณฑิตศึกษา

การวิจัยเพือ่ พัฒนาท้ องถิน่
(Community Based Research-CBR)
ระดับบัณฑิตศึกษา
บัญชร แก้ วส่ อง
ภารกิจสถาบันอุดมศึกษา
ผลิตบัณฑิต
ทะนุบารุ ง
ศิลปวัฒนธรรม
วิจยั
บริ การสังคม
บทบาทสถาบันอุดมศึกษาในระยะทีผ่ ่ านมา
บัณฑิต
บัณฑิตศึกษา
มหาบัณฑิต
ความรู้
นาเข้ า
ผู้สอน
? ความรู้ทไี่ ด้
วิจัย
จากการวิจัย
บริการสั งคม
ชุ มชนท้ องถิ่น
ทะนุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
คุณลักษณะงานวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น: การบูรณาการ 4 ภารกิจ
ใน 1 งานวิจัย
ภารกิจการผลิตบัณฑิต
ภารกิจบริการวิชาการแก่ สังคม
การวิจยั
เพื่อท้องถิ่น
ภารกิจการวิจยั
ภารกิจทะนุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
ชุมชนท้ องถิ่นไทยรู้ จักตนเอง ปรับตัว ดารงอยู่ได้ อย่ างมี
คุณค่ า พลังและความสุ ขภายใต้ สถานการณ์ ทเี่ ปลีย่ นแปลง
โลกาภิวฒั น์
ภูมิภาค
อาเซียน
สังคมไทย
การมองเชื่อมชุมชนท้ องถิ่น
สั งคมไทย สั งคมอาเซียน และสั งคมโลก
ความ
เข้มแข็งของ
ชุมชน
ท้องถิ่น
สถานการณ์ วกิ ฤติของโลก
วิกฤติโลกร้อน/
สิ่ งแวดล้อม
วิกฤติสังคม
วิกฤติพลังงาน
วิกฤติของการพัฒนากระแสหลัก
วิกฤติอาหาร
วิกฤติเศรษฐกิจ
สองระบบความคิด
•
•
•
•
•
•
•
Gross Domestic
Product-GDP
ทุนที่เป็ นตัวเงิน
การแข่งขันอย่างเสรี
การค้าอย่างเสรี
ทาให้เกิดการบริ โภค
ลัทธิวตั ถุนิยม
ความไม่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
การพัฒนาแบบไม่สมดุล
•
•
•
•
•
•
•
Gross Domestic
Happiness-GDH
ทุนมนุษย์และสังคม
การอยูร่ ่ วมกัน
การแลกเปลี่ยนแบบเลือกเฟ้ น
ความพอเพียง การออม
การพัฒนาทางวัฒนธรรม จิตวิญาณ
การเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
การพัฒนาแบบมีสมดุล
สองขั้วของวิถี
• วิถีโลกาภิวฒ
ั น์
•
•
•
•
•
•
(Globalization)
มาตรฐานเดียวกันทัว่ โลก
มุ่งการใช้ ประโยชน์ สูงสุ ดจากทรัพยากร
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็ นเครื่องมือ
สาคัญ
การผลิตแบบMass สู่ การทากาไรสู งสุ ด
ระบบความสั มพันธ์ แห่ งการแข่ งขัน
เป้ าหมายคือความเป็ นหนึ่งเหนือบุคคลอืน่
• วิถีท้องถิ่น
•
•
•
•
•
•
(Localization)
มาตรฐานทีห่ ลากหลายของท้ องถิ่น
มุ่งการอยู่ร่วมกับทรัพยากรอย่ างยัง่ ยืน
ความเชื่อและเทคโนโลยีพนื้ บ้ านเป็ น
เครื่องมือสาคัญ
การผลิตแบบพอเพียง สู่ การเกือ้ กูลแบ่ งปัน
ระบบความสั มพันธ์ แห่ งการร่ วมมือ
เป้ าหมายคือการอยู่ร่วมกันของสั งคม
เรามีความรู้ เกีย่ วกับชุมชนท้ องถิน่ มากน้ อยเพียงใด
มี
มีวิถีการ
ความสัม
ผลิต:
พันธ์
ปากท้อง
คน/ชุ มชน/ท้ องถิ่น
มีระบบ
คิด คุณค่า
การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
องค์ ประกอบของชุมชนท้ องถิ่น
ช่ วงเวลาการเปลีย่ นแปลงและผลกระทบ
T1……T2……T3……Tn
ระบบคุณค่ า
•นิเวศน์ นา้ ทาม ทุ่ง โคก ภู
•ความหลากหลายทางชีวภาพ
•ระบบการผลิต
•ภูมปิ ัญญาการผลิต
ระบบนิเวศน์
คน กลุ่มคน
และชุมชน
•ความเชื่อพุทธ/ผี
•ลัทธิบริโภคนิยม
•ความสั มพันธ์ เชิงวัฒนธรรม
•ความสั มพันธ์ เชิงเศรษฐกิจ
•ความสั มพันธ์ เชิงการเมือง
ระบบสั งคม
นิเวศวัฒนธรรมชุ มชนอีสาน
วิถีชีวติ คนทุ่ง
วิถีชีวติ คนทาม
•ทานา/รับจ้ าง
•หาปลา/รับจ้ าง
•เลีย้ งสั ตว์
•ของป่ า
•ปลูกพืชผัก
•นาทาม
•ข้ าวแลกปลา/ของป่ า
•เลีย้ งสั ตว์
าว ซื้อข้ าว/ปลา
•ปลาแดก/หม้ อแลกข้ า•ขายข้
ว
•ขายปลา/หม้ อซื้อข้ าว•ผีตาแฮก/ปู่ ตา
•วังปลา/เขตอภัยทาน
นิเวศน์ ทาม
•ทีล่ ุ่มลานา้
•ป่ าทาม
นิเวศน์ ทุ่ง
•ทีร่ าบ
•นา
วิถีชีวติ คนโคก
•ทานาดอน
•ทาไร่ /รับจ้ าง
•ของป่ า
•เลีย้ งสั ตว์
•ขายพืชไร่ ซื้อข้ าว/ปลา
•ปู่ ตา/ผีป่า
วิถีชีวติ คนดง/ภู
•ของป่ า
•เลีย้ งสั ตว์
•ทาไร่ /รับจ้ าง
•ของป่ าแลกข้ าว
•ขายของป่ า/พืช
ไร่ ซื้อข้ าว
•เจ้ าป่ า/เจ้ าดง
นิเวศน์ ภู
นิเวศน์ โคก
•ทีด่ อน
•ป่ าโคก
•ทีส่ ู งลาดชัน
•ป่ าดง/ภู
กลุ่มชาติพนั ธุ์ในภาคอีสาน
ผู้ไท
ย้ อ
ฯลฯ
ลาว
ไทคอนสาร
กะเลิง
ไทยโคราช
เยอร์
เขมร
บรู ว์
กูย
หญะกุร
โซ่
ประวัตศิ าสตร์ ชุมชนท้ องถิ่นอีสาน
ยุคบ้านป่ า
ยุคบุกเบิกป่ า
ยุคปิ ดป่ า
(หาอยูห่ ากิน)
(ทาอยูท่ ากิน)
(ทาขายทากิน)
ยุคทิ้งบ้านเข้า
เมือง
(ทาขายซื้ อ
กิน)
ยุคทิ้งบ้านทิ้ง
เมือง
(ขายตัวซื้ อ
กิน)
ทาไมต้ องวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น: การปลดปล่ อยทางปัญญา
•
•
•
•
การมีส่วนร่ วมของคนที่เกี่ยวข้อง
ค้นหารู ปแบบและวิธีการพัฒนา
ใช้และประยุกต์ภูมิปัญญา/เทคโนโลยีทอ้ งถิ่น
เพื่อการพึ่งตนเอง การอยูร่ ่ วมกับระบบนิเวศน์อย่างยัง่ ยืน และการอยู่
ร่ วมกับคนอื่นในสังคมอย่างเกื้อกูลและแบ่งปัน
การวิจัยคืออะไร
ทาไมต้ องวิจัยเพือ่ การพัฒนาท้ องถิ่น
• “การซอกหา” ความรู ้ใหม่
• “สะราวจรี ว” (สาวลงลึก)
• Re-search ค้นหา ค้นแล้วค้นเล่า
• การค้นหาความรู ้ใหม่โดยใช้วธิ ีการทาง
วิทยาศาสตร์ หรื อวิธีการอื่นใดที่เชื่อถือได้
• การทาความเข้าใจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
และสังคม
ทบทวนความหมาย
การวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น คือ อะไร
กระบวนการแสวงหาความรู้ใหม่ (ปริยตั ิ) ผ่ านกระบวนการปฏิบัติ (ปฏิบัติ)
ร่ วมกันของชุ มชนท้ องถิ่นทีก่ ่อให้ เกิดการเปลียนแปลง/การพัฒนา (ปฏิเวธ)
เป้าหมายสาคัญของการวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น
ธรรมะ:
การสร้ างความรู้
พุทธะ:
สถานการณ์ รากเหง้า
เป้ าหมาย และวิธีการสู่
เป้ าหมาย
การสร้ างคน
ผูต้ ื่น ผูร้ ู ้ ผูเ้ บิกบาน
ความเข้มแข็ง
ของชุมชน
ท้องถิ่น
สั งฆะ:
การสร้ างกลุ่ม ชุ มชน
การเปลี่ยนแปลงใน
ชุมชนท้องถิ่น
ทางเลือกทีห่ ลากหลายของการวิจัยเพือ่ ท้ องถิ่น
7. การรุ กสู่
ประชาคม
อาเซียน
6. การยกระดับ
และบุรณาการเชิง
วิชาการ
1.การสร้าง
โอกาสให้คนชาย
ขอบ
ศักยภาพของ
กลไกภาคและ Node
5. การบุรณา
การงานข้ามฝ่ าย
2. การทางาน
เชิงยุทธศาสตร์
3. การ
ขับเคลื่อนสู่
หน่วยงาน/อปท.
4. การทางาน
ร่ วมสถาบัน
วิชาการ
จะวิจัยอย่ างไร
กระบวนการสาคัญ: อริยสั จจ์ 4 ประการ
ทุกข์: การศึกษาความ
ทุกข์ให้ชดั
วิจัยระยะที่ 1 ความรู้ใหม่ ได้ จากการเก็บรวบรวม
และวิเคราะห์ ข้อมูล
สมุทยั : การวิเคราะห์
เหตุแห่งทุกข์เพื่อ
วางแผนปฏิบตั ิการให้
พ้นทุกข์
นิโรธ: การกาหนด
เป้ าหมายสู่ การดับ
ทุกข์
ระยะที่ 2 ความรู้ ใหม่ ได้ จากการสรุ ปบทเรียน
และวิเคราะห์ ผลการปฏิบัติการ
มรรค: การลงมือ
ปฏิบตั ิการเพื่อการดับ
ทุกข์
รูปแบบและกระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น
Node
-
แนวคิดในการพัฒนาโจทย์ วจิ ัย
สอดคล้องกับ
ความสนใจ
ทีมนักวิชาการ
การเลือกประเด็นวิจยั
ทีมชุ มชน
การเลือกทีมวิจยั
ทีมนักพัฒนา
สอดคล้องกับ
ปัญหาท้ องถิ่น
ความพร้ อม
ของพืน้ ที่
การเลือกพื้นที่วิจยั
ความเหมาะสม
ของระยะทาง
กระบวนการสร้ างโจทย์ วจิ ัยแบบมีส่วนร่ วม
การวิเคราะห์
ปัญหาการพัฒนา
กาหนดปัญหาการ
วิจยั
วางวัตถุประสงค์
เพื่อตอบปัญหา
การวิจยั
จัดทีมวิจัยสร้ างความรู้ ใหม่
นักวิชาการมหาวิทยาลัย
• ต้องหาความรู้มาผลิตบัณฑิต
• ใช้ความรู้บริ การสังคม/ทะนุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
นักศึกษา
ชุมชนท้องถิ่น
• ผูเ้ รี ยน/เรี ยนวิธีหาความรู้/สร้างปัญญา
• ผูต้ อ้ งใช้ปัญญาในการพัฒนาในอนาคต
• เจ้าของพื้นที่ เจ้าของชีวิต
• ผูร้ ับผลโดยตรงของการพัฒนา
การออกแบบการวิจัยโดยทัว่ ไป
•
•
•
•
การออกแบบข้อมูลที่ตอ้ งเก็บ เก็บข้อมูลอะไร
การออกแบบแหล่งข้อมูลที่เก็บ เก็บข้อมูลจากใคร
การออกแบบวิธีการเก็บ เก็บข้อมูลอย่างไร
การออกแบบวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล ข้อมูลที่ได้มาจะวิเคราะห์อย่างไร
วิธีการเก็บข้ อมูล
• โสเหล่ (Focus group)
• โฮมกัน (Group
Interview)
• เว่ าสู่ ฟัง (Oral History)
• ส่ อ (Indept-interview)
• ซอมเบิ่ง(Participant
observation)
• จอบเบิ่ง(Observation)
-ใช้ แบบสอบถาม
-สารวจ เดินดู ร่ วมกันกับผู้รู้
จัดทาแผนที่กายภาพ
บันทึก
การสร้ างความคุ้นเคย (Rapport-ลึง้ )
ใช้ความมักคุน้ ส่ วนตัว
สร้างผ่านคนรู ้จกั กัน
ใช้ความสังเกตสิ่ งที่น่าสนใจ หยิบขึ้นมาเป็ นประเด็นสนทนานา
ให้เวลาเป็ นของชาวบ้านให้มากที่สุด
กรณี สมุนไพรดอนจาน หมากมีพลูไปฝากด้วย หรื อนัง่ เคี้ยวหมาก
ด้วยกัน
• กรณี ควายทาม ไปนัง่ กินข้าวกลางวันด้วยกันตอนเลี้ยงควาย
•
•
•
•
•
แผนที่เดินดิน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์
ชาวบ้าน/องค์กรชุมชน
ประวัติศาสตร์ทอ้ งถิ่น
การทาแผนที่ทางสั งคม
Social Mapping
เพือ่ กาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนา
สภาพสังคม วัฒนธรรม
ประเพณี
สถานภาพเศรษฐกิจท้องถิ่น
ข้ อมูลแผนทีท่ างสั งคมของชุมชน
• ข้อมูลสาคัญของแผนที่กายภาพ
– โครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญ ถนน ไฟฟ้ า ประปา วัด โรงเรี ยน บ้านผูน้ าทางการ
– ระบบนิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติ
– พื้นที่ทาการผลิตที่สาคัญ เช่น พื้นที่นา ไร่ พื้นที่หาปลา เลี้ยงปลา
• ข้อมูลสาคัญของแผนที่ทางสังคม
–
–
–
–
สิ่ งศักดิ์สิทธิ์ในชุมชนที่คนเคารพนับถือ
กลุ่มองค์กร และเครื อข่ายที่มีศกั ยภาพ
ปราชญ์/ผูร้ ู้ของชุมชน/ผูน้ าสาคัญ
เครื อข่ายการเกาะเกี่ยวของคนในชุมชน
• ทิศทางและสัญลักษณ์
– การกาหนดทิศของแผนที่
– การกาหนดสัญลักษณ์
– การกาหนดอัตราส่ วนที่ใกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง
การเดินสารวจเพือ่ ทาแผนที่เดินดินแบบมีส่วนร่ วม
แผนทีก่ ายภาพเน้ นการตั้งบ้ านเรือน
แผนทีก่ ายภาพเน้ นสภาพแวดล้ อม
ประวัตศิ าสตร์ ชุมชนท้ องถิ่น
• ประวัติศาสตร์บอกเล่า
• ศึกษาประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์ทาความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและ
สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
• ประวัติศาสตร์วิถีชุมชนท้องถิ่น ไม่ใช่ประวัติผนู ้ า
– ช่วงการก่อเกิดชุมชน
– ช่วงการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ
แนวการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ชุมชน
•
•
•
•
ช่วงเวลาการก่อตั้งถิ่นฐาน สาเหตุที่มา กลุ่มที่มา แหล่งทีม่ า
ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลง/การขยายตัวที่สาคัญของชุมชน
เหตุที่ทาให้เปลี่ยนแปลง ผลของการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมที่สาคัญในแต่ละช่วงเวลา
การศึกษาประวัตศิ าสตร์ ชุมชน-การสั มภาษณ์ กลุ่ม: โสเหล่
การสร้ างประวัติศาสตร์ แบบมีส่วนร่ วม
ผ่ านเส้ นเวลา (Timeline)
เหตุการณ์
สาคัญ
2509
2520
กายภาพและ
ระบบนิเวศน์
สร้างเขื่อน
น้ าท่วม/ย้าย
บ้าน
ถนน
คอนกรี ต
หาปลา/เลี้ยง หาปลา/เลี้ยง
สัตว์
สัตว์/รับจ้าง
ตัดอ้อย
คนอพยพมา
จากที่อื่น
คนเลี้ยง
เลี้ยงปลาใน ลดลง
กระชัง
ปลูกผักสวน ต่างคนต่าง
ครัว
อยู่
ปู่ หลุบ
เขตอภัยทาน
ครัวเรื อนและ
การทามาหากิน รับจ้าง
ก่อสร้าง
ความสัมพันธ์
ความเชื่อ/
คุณค่า
ศาลปู่ หลุบ
2530
2540
2550
ข้ อมูลประวัตศิ าสตร์ ของชุมชน
•
ยุคก่อตั้งถิ่นฐาน –ยุคบ้านป่ า/บ้านไร่ (2496-2516)
–
–
–
–
–
•
ระบบนิเวศน์และสภาพกายภาพของพื้นที่
ครัวเรื อนที่อพยพมาตั้งถิ่นฐาน แหล่งที่ต้ งั
การทามาหากิน/อาชีพของคนในยุคแรก-หาของป่ า ไร่ ขา้ วโพด ไร่ ถวั่
ระบบความสัมพันธ์และการปกครองชุมชนยุคแรก
ระบบความคิด ความเชื่อ คุณค่า
ยุคการสร้างเขื่อนและพืชไร่ (2516-2525)
– การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์และกายภาพ สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
– การเปลี่ยนแปลงการทามาหากิน อาชีพ สาเหตุการเปลี่ยนแปลง -มะขามหวาน ลาไย รับจ้าง
– การเปลี่ยนแปลงระบบอื่น ๆ และสาเหตุการเปลี่ยนแปลง
•
ยุคไม้ผลและรับจ้าง (2526-2535)
– พืชไร่ ลม้ เหลว ปลูกไม้ผล มะขามหวาน ลาไย
– การรบจ้างขยายตัว เริ่ มปลูกยางปลายยุค
•
ยุคปัจจุบนั –ยุคยางรุ่ งเรื อง (2536-ปัจจุบนั )
–
–
–
–
จานวนครัวเรื อนที่มีในปัจจุบนั
การทามาหากิน และอาชีพในปัจจุบนั –ปลูกยาง รับจ้าง ทานา
ระบบความสัมพันธ์และการปกครองในปัจจุบนั
ระบบความคิดความเชื่อที่ยงั มีอยูใ่ นปัจจุบนั ระบบที่หมดไป สาเหตุที่หมดไป หายไป
การทาผังเครือญาติ
พ่ อพันธุ์+ยายสาย
นางมา + นายโส
เด็กชายสมาน
นายน้ อย + นางลาวัลย์ นายฝัน (เสี ยชีวติ )
เด็กหญิงสิ ดา
พ่อวัง + แม่ ลดั ดา
นางลาวัลย์
การทาแผนทีศ่ ักยภาพขององค์ กรชุมชน
• องค์กรชุมชนที่สาคัญมีอะไรบ้าง
– องค์กรที่เป็ นทางการ
– องค์กรที่ไม่เป็ นทางการ
•
•
•
•
ที่อยู/่ ที่ต้ งั ขององค์กร
ภารกิจและกิจกรรมสาคัญขององค์กร
สมาชิกและเครื อข่ายขององค์กร
การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ดูงานขององค์กร
ตัวอย่ างกลุ่มและองค์ กรในชุมชน
• กลุ่มองค์กรที่เข้มแข็งและมีศกั ยภาพในชุมชน
– กลุ่มผูอ้ าวุโส
– กลุ่มประมงพื้นบ้าน
– กลุ่มแม่บา้ น
– กลุ่ม อสม.
– กลุ่มเครื อข่ายอนุรักษ์และฟื้ นฟู
– กลุ่มปศุสัตว์
– กลุ่มพัฒนาอาชีพ
– ฯลฯ
พย.-ธค.
มค.-กพ.
• ทานา-เกี่ยวข้าว
• ตัดอ้อย
• บุญ....
• บุญข้าวประดับดิน
• ตัดอ้อย
กย.-ตค.
มีค.-เมย.
• บุญออกพรรษา
• ทานา
• วันสงกรานต์
• ทาไร่
• รับจ้าง
กค.-สค.
พค.-มิย.
• บุญเข้าพรรษา
• ทานา-ปักดา
• หาหน่อไม้
• บุญบั้งไฟ บุญเบิกบ้าน
• ทานา-ไถ
ใครเป็ นปราชญ์ ชาวบ้ าน/ผู้ร้ ู ทสี่ าคัญของชุมชน
ผูร้ ู ้ดา้ นอาชีพ เช่น การเลี้ยงสัตว์ การทาการเกษตรอินทรี ย ์ พรานปลา
ผูร้ ู ้ดา้ นวัฒนธรรม ประเพณี เช่น ผูอ้ าวุโสที่ทาพิธีกรรมด้านต่าง ๆ
ผูร้ ู ้เรื่ องป่ า เช่น พรานป่ า เซียนเห็ด
ผูร้ ู ้ดา้ นการดูแลรักษาผูป้ ่ วย เช่น หมอยา หมอธรรม หมอเป่ า
ผูอ้ าวุโสที่ชุมชนให้ความเคารพด้านต่าง ๆ เช่น เจ้าอาวาส หัวหน้า
ตระกูล
• ผูช้ ่วยคลี่คลายปัญหาให้ชุมชน เช่น กลุ่มตุลาการชุมชน
• ฯลฯ
•
•
•
•
•
ข้ อมูลบริบทและสภาพแวดล้ อมของชุมชน
• สภาพกายภาพและระบบนิเวศน์
– แหล่งน้ า ป่ าไม้ แหล่งหาปลา เลี้ยงสัตว์ ความสมบูรณ์ของพื้นที่
• สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
– การถือครองที่ดิน อาชีพและจานวนครัวเรื อนที่ทาอาชีพเหล่านั้น หาปลา เลี้ยงปลา
รับจ้าง
– รายได้ รายจ่าย หนี้สิน ทรัพย์สิน
• สภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม
– ระบบเครื อญาติ ความสัมพันธ์ วัฒนธรรมประเพณี
– ความเชื่อที่สาคัญ ปู่ หลุบ
• สภาพแวดล้อมทางการเมืองการปกครอง
– ระบบการปกครองที่เชื่อมคนต่างถิ่นให้อยูด่ ว้ ยกันได้
ตัวอย่ างรูปแบบการพัฒนา
กรณี
โครงการนาร่ องเพือ่ การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยัง่ ยืน
กระบวนการ
วิจัยไทบ้ าน
การผลิตเกษตร
ผสมผสาน
กระบวนการ
เรียนรู้
องค์ รวม
บูรณาการ
การสร้ างทายาท
เกษตรกร
การพัฒนา
องค์ กร/เครือข่ าย
กระบวนการ
องค์ กร
การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
การตลาดทางเลือก
การปรับเปลีย่ น
กระบวนทัศน์
การปรับเปลีย่ น
การผลิต/วิถีชีวติ /สภาพแวดล้ อม
การสร้ างกระบวนการเรียนรู้
สู่ การเปลีย่ นแปลงระบบการทาการเกษตรแบบยัง่ ยืน
4 ศึกษารูปแบบ
ที่ให้ คุณค่าแล้ว
1 ศึกษาดูงาน
รูปแบบเกษตร
รับจ้ างก่อสร้ าง
ปัญหาระยะเวลา
ทามานานแล้ว
ปัญหาแหล่งนา้
เผชิญปัญหา
การผลิตในพืน้ ที่
อายุมากขึน้
ตกผลึกความคิด
ลงสู่ การปฏิบตั ิ
เวทีโสเหล่
2 ศึกษารูปแบบ
ไกลแหล่งนา้
ปัญหาการลงทุน
ศึกษาดูงานเพิม่ เติม
เฉพาะประเด็น
5 ศึกษารูปแบบ
และวิธีคดิ
3 ศึกษารูปแบบ
ไม่ ต้องใช้ ทุน
ปัญหาความขยัน
ศึกษาดูงาน
สร้ างเครือข่ าย
ด่ านทีต่ ้ องฟันฝ่ า
ชุมชน/สังคม
เพื่อนบ้าน/เพื่อน
ร่ วมงาน
ครอบครัว
ตัวเรา
การผสมผสานวิชาการกับภูมปิ ัญญา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การจัดการ: ร้านค้าชุมชน โรงสี ชุมชน ตลาดชุมชน
สาธารณสุ ข: สุ ขภาพชุมชน สมุนไพร สิ่ งแวดล้อม กลุ่มขยะ
การศึกษา: เด็กแรงงานก่อสร้าง รวมกลุ่มเยาวชน โรงเรี ยนอาชีพ
สังคมศาสตร์: การฟื้ นฟูวิถีชุมชน วัฒนธรรมประเพณี ชุมชนศรัทธา
บรรณารักษ์: ชวนเด็กอ่านหนังสื อ ห้องสมุดเด็ก
เกษตร: เกษตรเขตเมือง พืชผักปลอดสาร
นิติศาสตร์: สิ ทธิของชุมชน การจัดการความขัดแย้งของชุมชน
รัฐศาสตร์: องค์กรชุมชน ผูน้ าชุมชน ประชาธิปไตยชาวบ้าน
การเงิน: บัญชีครัวเรื อน บัญชีร้านค้า
ขอศานติแห่ งหัวใจจงมีแด่ ทุกท่ าน
บัญชร แก้วส่ อง