5. สารผสมเพิ่ม

Download Report

Transcript 5. สารผสมเพิ่ม

บทที่ 5 สารผสมเพิ่ม (Admixtures)
รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม
1.นาย ธนัช
ชุติมาชโลทร
2.นาย กิตติภพ บุญญวัฒน์ วณิชย์
3.นาย นพกาญจน์ ชู อนิ ทร์
5310110226
5310110048
5310110267
สารผสมเพิม่ ( Admixtures )
คาจากัดความ
สารที่ใส่ ลงไปในส่ วนผสมของคอนกรี ต ไม่วา่ จะก่อนหรื อ
ในขณะผสม เพื่อช่วยปรับปรุ งให้คอนกรี ตสดหรื อคอนกรี ตที่
แข็งตัวแล้ว ให้มีคุณสมบัติหรื อคุณภาพตามที่วสั ดุ ตอ้ งการ
อ้างอิง : http://www.civilclub.net/
คุณสมบัตแิ ละคุณภาพต่ างๆทีส่ ามารถปรับปรุงได้
ลดปริ มาณน้ าที่ใช้ผสมคอนกรี ตให้นอ้ ยลง
เร่ งการแข็งตัว คอนกรี ตรับแรงได้เร็ วกว่าปกติ
หน่วงการแข็งตัว ทาให้คอนกรี ตแข็งกว่าปกติ
คอนกรี ตสดมีความเหลว ไหลลื่นดี เทลงแบบหล่อได้ง่าย
อ้างอิง : http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0141
คุณสมบัตแิ ละคุณภาพต่ างๆทีส่ ามารถปรับปรุงได้
เพิ่มปริ มาณฟองอากาศในคอนกรี ต
ลดการเยิม้ หรื อคายน้ าของคอนกรี ตสด
ช่วยขับน้ า ป้ องกันการไหลซึมของน้ าผ่านคอนกรี ต
ทาให้คอนกรี ตมีความคงทนต่อซัลเฟตมากขึ้น
อ้างอิง : http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0141
ประเภทของสารผสมเพิม่
1. Air-Entraining Agent (ASTM C 260)
สารกักกระจายฟองอากาศ ใช้เพื่อเพิม่ ความทนทาน กรณี ที่
คอนกรี ตต้องสัมผัสกับสภาพที่เย็นจัด เช่น ในพื้นห้องเย็นหรื อ
ในบริ เวณที่มีหิมะปกคลุมบางช่วงเวลา
2. Chemical Admixture (ASTM C 494)
สารเคมีผสมคอนกรีต เป็ นสารประกอบที่ละลายน้ าที่เติมลง
ไปในส่ วนผสมคอนกรี ต เช่น เพื่อลดปริ มาณน้ าในผสม
3. Mineral Admixture (ASTM C 618)
สารประกอบแร่ ธาตุผสมเพิม่ มีลกั ษณะเป็ นผงละเอียด ใช้
ปรับปรุ งความสามารถในการใช้งาน เพิ่มความคงทน ทาให้คอนกรี ต
มีคุณสมบัติในการเกาะตัวดีข้ ึน และยังสามารถใช้ทดแทนปริ มาณ
ปูนซีเมนต์ได้บางส่ วน
4.สารผสมเพิม่ อืน่ ๆ
ได้แก่ สารผสมเพิม่ อื่นๆ ที่ไม่จดั อยูใ่ น 3 ประเภทแรก ซึ่งผลิต
ขึ้นมาเพื่อใช้งานโดยเฉพาะอย่างเท่านั้น
อ้างอิง : http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0141
ตารางการแบ่งประเภท
ของสารผสมเพิ่ม
สารกักกระจายฟองอากาศ ( Air-Entraining Agent )
สารผสมเพิ่มประเภทนี้ใช่กนั มานานแล้วประมาณกว่า 60 ปี
โดยใช้กนั อย่างแพร่ หลายในสหราชอาณาจักร
สารผสมเพิม่ ชนิดนี้ในคอนกรี ต จะทาให้เกิดฟองอากาศ
(Entrained air) ขนาดเล็กเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 0.05 มม.
กระจายไปในเนื้อคอนกรี ตมีความเหลวและไหลลื่นเพิ่มขึ้นเทลง
แบบหล่อได้ง่ายช่วยให้คอนกรี ตไม่เป็ นโพรง
สารกักกระจายฟองอากาศ ( Air-Entraining Agent ) (ต่ อ)
นอกจากนี้คอนกรี ตจะมีความทนทานต่อสภาพอากาศเย็นจัด
จนเป็ นน้ าแข็ง เช่น พื้นห้องเย็น( Cold storage) หรื อคอนกรี ตใน
ประเทศหนาวโดยฟองอากาศเล็กๆ เหล่านี้ทาให้น้ าในคอนกรี ต
สามารถขยายตัวได้ไม่เกิดแรงดันจนคอนกรี ตแตกร้าวเสี ยหาย
สารกักกระจายฟองอากาศ ( Air-Entraining Agent ) (ต่ อ)
ปริ มาณฟองอากาศที่ให้ผลดี คือ 3 - 6% โดยปริ มาตร แต่
ปริ มาณคอนกรี ตจะมีผลทาให้กาลังของคอนกรี ตลดลง 3 - 4%
ต่อฟองอากาศที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 1%
กาลังคอนกรี ตที่ลดลง อาจชดเชยด้วยการลด w/c ratio ซึ่งจะ
ทาให้คอนกรี ตกาลังตามที่ตอ้ งการ
สารกักกระจายฟองอากาศ ( Air-Entraining Agent ) (ต่ อ)
การทาให้เกิดฟองอากาศใช้หลักการลดแรงตึงผิวของน้ าโดย
ใส่ สารที่ลอยตัวอยูท่ ี่ผวิ น้ า ( Surface Active Agent ) และทาให้เกิด
ฟอง เวลาผสมคล้ายสบู่ แต่ฟองอากาศที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเล็กกว่า
มาก และมีความคงตัวโดยไม่สลายตัวทั้งเวลาผสมคอนกรี ตและ
เมื่อคอนกรี ตแข็งตัวแล้ว วัสดุที่ใช้เป็ นสารกักกระจายฟองอากาศมี
หลายชนิดและอยูใ่ นรู ปของของเหลวหรื อผงที่ละลายน้ า
ประสิ ทธิภาพของสารกักกระจายฟองอากาศ
สารกระจายกักฟองอากาศทาให้คอนกรี ตสดมีความสามารถ
เทได้ดีข้ ึน การเพิ่มฟองอากาศร้อยละ 5 ทาให้ค่าการยุบตัวของ
คอนกรี ตเพิ่มขึ้น 20 ถึง 50 มิลลิเมตร หรื อสามารถลดปริ มาณน้ า
ได้ 20 ถึง 30 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร โดยที่ค่าการยุบตัวของ
คอนกรี ตสดเท่าเดิม นอกจากนี้การเยิม้ น้ าและการแยกตัวก็จะ
ลดลงด้วย
อ้างอิง : http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0141
ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่ อการทางาน
1.วัสดุผสมคอนกรีตและสั ดส่ วนผสม
- ส่ วนละเอียด เช่น ทรายละเอียด หรื อ ปริ มาณซีเมนต์ที่เพิ่มขึ้นจะ
ยับยั้งการเกิดฟองอากาศ
- ปริ มาณฟองอากาศจะเพิม่ ขึ้น โดยลดขนาดของหิ น
- สัดส่ วนของทรายมีความสาคัญต่อปริ มาณฟองอากาศ การเพิ่ม
ทรายขนาด 300-600 ไมโครเมตร จะก่อให้เกิดปริ มาณฟอง
อากาศมากขึ้น
- น้ าที่เหมาะสาหรับคอนกรี ตไม่มีผลต่อปริ มาณฟองอากาศที่
เกิดขึ้น แต่น้ ากระด้างจะยับยั้งการเกิดฟองอากาศ
2.การผสมและการจีเ้ ขย่ า
-การจี้เขย่าคอนกรี ตมากเกินไปจะส่ งผลให้ปริ มาณฟองอากาศลดลง
-คอนกรี ตที่มีความสามารถเทได้ต่ามาก จะก่อให้เกิดฟองอากาศได้ยาก
3.สภาพแวดล้อม
-ปริ มาณฟองอากาศในคอนกรี ตจะเป็ นปฏิภาคผกผันกับอุณหภูมิ
Chemical Admixture ( ASTM C 494)
Chemical Admixture ( ASTM C 494) สารผสมเพิม่ ตามมาตรฐาน
เป็ นสารผสมเพิ่มประเภทสารเคมีเป็ นของเหลวละลายน้ าได้จาแนกได้
7 ชนิด ดังต่อไปนี้
1. Type A Water Reducing Admixtures
2. Type B Retarding Admixtures
3. Type C Accelerating Admixtures
4. Type D Water-Reducing and Retarding Admixtures
5. Type E Water Reducing and Accelerating Admixtures
6. Type F High Range Water Reducing Admixtures
7. Type G High Range Water Reducing and Retarding Admixtures
Chemical Admixture ( ASTM C 494)
1. Type A
Water Reducing Admixtures
เป็ นสารผสมเพิม่ ที่ใช้สาหรับลดปริ มาณน้ าในการผสม
คอนกรี ตโดยที่ความข้นเหลวยังคงเดิมมีผลให้คอนกรี ตแข็งแรง
เพิ่มขึ้นในทางกลับกันถ้าให้ปริ มาณน้ าคงเดิม จะมีผลให้คอนกรี ต
สดมีความข้นเหลวเพิ่มขึ้น ทาให้การเทคอนกรี ตลงแบบได้ดีข้ ึน
Type A Water Reducing Admixtures
จุดประสงค์ของการใช้สารผสมเพิ่มประเภทนี้มี 3 ประการ คือ
1.เพื่อให้ได้กาลังคอนกรี ตเพิ่มขึ้นจากการลด w/c ratio
2.เพิ่มความข้นเหลวแก่คอนกรี ตสดทาให้การเทการหล่อคอนกรี ต
ง่ายขี้น
3. ลดปริ มาณการใช้ปูนซีเมนต์ เนื่องจากเราสามารถเพิ่มปริ มาณ
หิ น-ทราย ได้ โดยความข้นเหลวยังคงเดิม ผลจากการลดปริ มาณ
ปูนซีเมนต์ ทาให้ความร้อนจากปฏิกิริยา Hydration ลดลง
Type A Water Reducing Admixtures
สารผสมเพิ่มนี้ทาให้ลดการใช้น้ าลง ประมาณ 5% - 15%
กาลังคอนกรี ตเพิ่มขึ้น ประมาณ 10% - 20%
สารผสมเพิม่ นี้เป็ นสารอินทรี ยส์ ่ วนใหญ่ผลิตจากกรดหรื อ
เกลือ Lignosulphonic (LSN) ซึ่งเป็ นผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมทา
เยือ่ ไม้ หรื อ เป็ นเกลือของกรด Hydroxylated carboxylic acid (HCA)
สารลดปริมาณนา้ (plasticizer)
วัตถุดิบ
สารลดปริ มาณน้ าได้มาจากสารประกอบหลัก 3 ชนิด
1. เกลือและสารประกอบของ Lignosulphonate
2. เกลือและสารประกอบ Hydroxycarboxylic Acid
3. Polymer
สารลดปริมาณนา้ (plasticizer)
สารลดน้ าจาพวกเกลือและกรด Hydroxycarboxylic ทา
ให้คอนกรี ตเกิดการเยิม้ น้ ามากขึ้นโดยเฉพาะส่ วนผสมที่มี
ความสามารถทางานได้สูง สารลดน้ าจาพวกเกลือและกรด
Lignosulphonic จะใช้งานได้ง่ายกว่าโดยการทาให้คอนกรี ต
สดมีการเกาะตัวที่ดีและยังมีคุณสมบัติในการเพิ่มฟองอากาศ
ด้วย
ทาไมถึงต้ องลดปริมาณนา้ ?
การลดปริ มาณน้ าในส่ วนผสม เป็ นสิ่ งสาคัญมากสาหรับงาน
คอนกรี ตโดยจะพบว่าสารเคมี 5 ใน 7 ชนิดข้างต้นล้วนทั้งมีคุณสมบัติ
ในการลดปริ มาณน้ า
หน้ าที่ของนา้ ต่ อคอนกรีต
น้ าเป็ นส่ วนผสมสาคัญส่ วนหนึ่งในการผลิตคอนกรี ตโดยจะ
ทาหน้าที่ 3 อย่าง
1.เข้าทาปฏิกิริยาเคมีกบั ปูนซีเมนต์ หรื อ ปฏิกิริยา Hydration
2. ทาหน้าที่เคลือบหิ นและทรายให้เปี ยก เพื่อซีเมนต์จะเข้าเกาะ
และยึดแข็งติดกัน
3.ทาหน้าที่หล่อลื่นให้หิน ทราย ซีเมนต์ อยูใ่ นสภาพเหลว
สามารถไหลเข้าแบบง่าย
หน้ าที่ของนา้ ต่ อคอนกรีต
น้ าจานวนพอดีที่จะทาปฎิกิริยาไฮเดรชัน่ คือ ประมาณ
28% ± 1% ของน้ าหนักซีเมนต์ หรื ออัตราส่ วนน้ าต่อซีเมนต์
เท่ากับ 0.28 ± 0.01 แต่คอนกรี ตทัว่ ไปใช้ค่าอัตราส่ วนน้ าต่อ
ซีเมนต์มากกว่า 0.35 น้ าเกินนี้จะเข้าไปทาให้คอนกรี ตเหลว
ทางานได้สะดวกขึ้น น้ าส่ วนนี้ถูกเรี ยกว่า น้ าส่ วนเกิน
หน้ าที่ของนา้ ต่ อคอนกรีต
น้ าส่ วนเกิน ถ้ามีมากเกินไปจะมีผลเสี ยต่อคอนกรี ต คือ
1. เกิดการเยิม้ ของน้ าขึ้นมาที่ผวิ หน้ามาก
2. เกิดการแยกตัว
3. กาลังอัดต่าลง
4. เกิดการหดตัว
5. ทาให้เกิดรู พรุ น มีผลทาให้คอนกรี ตขาดความทนทาน
ในรู ปด้านล่าง แสดงลักษณะคอนกรี ตที่ใช้น้ ามากเกินไป น้ า
ส่ วนหนึ่งจะอยูใ่ นลักษณะที่เป็ นแอ่งใต้ดินและบางส่ วนจะเคลื่อนที่ข้ ึนสู่
ผิวหน้าคอนกรี ต ซึ่ งคือการเยิม้ เมื่อคอนกรี ตแข็งตัวแอ่งน้ าดังกล่าวจะ
กลายเป็ นโพรงอากาศทาให้ความทนทานและกาลังอัดคอนกรี ตต่าลง
อ้างอิง : http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0063
อนุภาคของซีเมนต์จะจับตัวอยู่เป็ น
กลุม่ ก่อนการใส่สารผสมเพิ่ม
ประเภทลดน ้า
อ้างอิง : http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0063
การกระจายตัวอย่างสม่าเสมอของ
อนุภาคซีเมนต์หลังการใส่สารผสม
เพิ่มประเภทลดน ้า
อ้างอิง : http://www.cpacacademy.com/index.php?tpid=0063
วัตถุประสงค์ หลักในงานคอนกรีต
ใช้ลดน้ าในส่ วนผสมคอนกรี ต โดยที่ยงั ได้ค่ายุบตัวที่
เท่าเดิม ทาให้คอนกรี ตมีกาลังอัดเพิ่มขึ้น
ได้รับค่ายุบตัวที่เพิ่มขึ้นโดยไม่ตอ้ งเปลี่ยนแปลง
ส่ วนผสมและไม่ตอ้ งเพิ่มน้ าอีก
2. Type B Retarding Admixtures ( สารหน่ วงการก่อตัว)
เป็ นสารผสมเพิม่ สาหรับใช้หน่วงปฏิกิริยา Hydration ทาให้คอนกรี ต
สดก่อตัวและแข็งตัวช้าลง
จุดประสงค์ของการให้คอนกรี ตสดก่อตัวและแข็งตัวช้าลง เพื่อ
1. สาหรับงานเทคอนกรี ตในสภาพอากาศร้อน
2. กรณี ที่ตอ้ งส่ งคอนกรี ตผสมเสร็ จไปยังงานก่อสร้างที่อยูไ่ กลหรื อต้องใช่
เวลานานในการขนส่ ง
3. กรณี ที่เทคอนกรี ตปริ มาณมากๆซึ่งจะช่วยลดความร้อนจากปฏิกิริยา
เพื่อให้ความร้อนมีเวลาระบายออกก่อนคอนกรี ตแข็งตัวหรื อต้องการให้
การเทคอนกรี ตต่อเนื่องเป็ นเนื้อเดียวกัน
4. สาหรับกรณี ลาเลียงคอนกรี ตด้วยเครื่ องปัมพ์
2. Type B Retarding Admixtures ( สารหน่ วงการก่อตัว)
สารหน่วงการก่อตัวมีคุณสมบัติยดื เวลาการก่อตัวของ
ปูนซีเมนต์และลดปริ มาณความร้อนจากปฏิกิริยา ใช้ลดความ
ร้อนของคอนกรี ตที่เทที่อุณหภูมิสูง ใช้ยดื เวลาในการทางานเมื่อ
เกิดเหตุเสี ยเวลาในการลาเลียงและขนส่ งในการเทคอนกรี ต
คุณสมบัตขิ องสารหน่ วงการก่ อตัว
เป็ นสารผสมเพิม่ ที่มีการใช้งานแพร่ หลายที่สุดในประเทศ สาร
หน่วงการก่อตัวเป็ นสารเคมีที่ใช้สาหรับหน่วงเวลาการแข็งตัวของ
คอนกรี ต ในงานคอนกรี ตที่ตอ้ งเทในสภาพอากาศร้อน อุณหภูมิที่
สูงจะเป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยาไฮเดรชัน่ ให้เกิดอย่างรวดเร็ ว สารหน่วง
การก่อตัวจึงถูกนามาใช้เพื่อหน่วงระยะเวลาการก่อตัวที่เร็ วเกินไป
สาหรับงานโครงสร้างขนาดใหญ่ เช่น การเทคอนกรี ตในสภาพ
อากาศที่ร้อนจัด ล้วนจาเป็ นต้องผสมสารหน่วงการก่อตัวใน
คอนกรี ตเพื่อยืดระยะเวลาการเทและการแต่งผิวหน้าคอนกรี ต
ออกไป
สารหน่ วงเวลาการก่ อตัว
สารหน่วงการก่อตัวจัดอยูใ่ นประเภท B มาตรฐาน ASTM
C494 สารผสมเพิ่มชนิดหน่วงเวลาการก่อตัวแบ่งได้เป็ น 4 ประเภท
ตามส่ วนประกอบทางเคมี ดังนี้
1. น้ าตาลสารและประกอบของน้ าตาล
2. เกลืออนินทรี ย ์
3. Hydroxycaboxylic Acid และเกลือของมัน
4. Lignosulphoic Acid และเกลือของมัน
สารหน่ วงเวลาการก่ อตัว
สารผสมเพิม่ ชนิดยืดเวลาการก่อตัวนี้จะถูกดูดซึมไว้บนผิว
ของอนุภาคซีเมนต์ ส่ งผลให้อตั ราการซึมผ่านของน้ าเข้าไปทา
ปฏิกิริยา ไฮเดรชัน่ กับอนุภาคซีเมนต์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการทางาน
 ชนิดและปริ มาณการใช้ปริ มาณสารยืดเวลาการก่อตัว
 ชนิดของซีเมนต์และสารประกอบ
 เวลาที่เติมสารยืดเวลาการก่อตัว
 อุณหภูมิ
3. Type C Accelerating Admixtures ( สารเร่ งการก่อตัว )
เป็ นสารผสมเพิ่มสาหรับเร่ งปฏิกิริยา Hydration ทาให้คอนกรี ต
สดแข็งตัวเร็ วขึ้น
จุดประสงค์ของการให้คอนกรี ตแข็งตัวเร็ วขึ้น เพื่อ
1.สาหรับงานเร่ งด่วนเพื่อสามารถเปิ ดใช้งานได้ทนั เวลา
2.สาหรับคอนกรี ตที่ตอ้ งการถอดแบบเร็ ว
3.สาหรับงานหล่อคอนกรี ตในประเทศที่มีอุณหภูมิต่าซึ่งปฏิกิริยา
Hydration จะช้ามาก
3. Type C Accelerating Admixtures ( สารเร่ งการก่อตัว ) (ต่อ)
สารผสมเพิ่มประเภทนี้ ได้แก่ แคลเซียมคลอไรด์ อลูมิเนียมคลอ
ไรด์ โปแตสเซียมคาร์บอนเนต โซเดียมฟลูออไรด์ โซเดียมอลูมิเนต
และโซเดียมซิลิเกต
3. Type C Accelerating Admixtures ( สารเร่ งการก่อตัว ) (ต่อ)
สารผสมเพิ่มประเภทคลอไรด์ เป็ นสารผสมเพิ่มที่หาง่ายและ
ราคาถูก ทาให้คอนกรี ตแข็งตัวเร็ ว ความร้อนจากปฏิกิริยาไฮเดรชัน่
สูงขึ้น เพิ่มความต้านทานต่อการขัดสี ส่ วนของเสี ย คือ ลดความ
ต้านทานต่อการกัดกร่ อนของสารซัลเฟต ทาให้คอนกรี ตมีการหดตัว
เพิ่มขึ้นและอาจทาให้เหล็กเสริ มเป็ นสนิมได้ ดังนั้น ในกรณี ของงาน
คอนกรี ตอัดแรงให้ใช้สารผสมเพิ่มประเภทอื่นที่ไม่มีคลอไรด์
3. Type C Accelerating Admixtures ( สารเร่ งการก่อตัว ) (ต่อ)
สารเร่ งเวลาการก่อตัวและแข็งตัว เป็ นสารที่เร่ งปฏิกิริยา
ไฮเดรชัน่ ส่ งผลเร่ งการก่อตัว และการพัฒนากาลังอัดของ
คอนกรี ตในช่วงต้น โดยทัว่ ไปจะใช้สาหรับงานดังต่อไปนี้
งานก่อสร้างเร่ งด่วน เช่น งานที่ตอ้ งการถอดไม้แบบเร็ ว งาน
ซ่อมแซมต่างๆ
ใงานหล่อชิ้นส่ วนคอนกรี ตในโรงงาน เพื่อจะให้การหมุนเวียน
แบบหล่อทาได้อย่างรวดเร็ ว
..งานคอนกรี ตในฤดูหนาว สาหรับในประเทศที่มีอากาศหนาว
เย็นจัด
สารเร่ งการก่ อตัว (Accelerators)
สารผสมเพิ่มชนิดนี้จะแตกต่างจากสารที่ทาให้เกิดการก่อ
ตัวอย่างกะทันหัน ( Set Accelerating Admixture )ซึ่งจะก่อตัว
ภายใน 2 – 3 นาที และเหมาะในงาน Shotcrete สาหรับอุดรู รั่ว
ภายใต้ความดันของน้ า หรื อการซ่อมแซมอย่างกะทันหัน
สารเร่ งการก่ อตัว (Accelerators)
สารเร่ งเวลาการก่อตัวส่ วนใหญ่จะประกอบด้วยสารเคมีดงั นี้
 Calcium Chloride
 Calcium Formate
 Calcium Nitrate
แคลเซียมคลอไรด์เป็ นสารเคมีที่ถูกนามาใช้เร่ งการก่อตัวของ
คอนกรี ตอย่างกว้างขวางด้วยเหตุผลที่สาคัญ 2 ประการ คือ ราคา
ไม่แพง และ หาได้ง่าย แต่ปัจจุบนั ได้พบว่าแคลเซียมคลอไรด์จะ
ก่อให้เกิดกัดกร่ อนเหล็กเสริ มคอนกรี ต
สารเร่ งการก่ อตัว (Accelerators)
สารเร่ งเวลาการก่อตัวของคอนกรี ตทาหน้าที่เสมือนตัวเร่ ง
ปฏิกิริยาเคมี ( Catalyst ) ระหว่างซีเมนต์กบั น้ า ผลก็คือ จะเร่ ง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไฮเดรชัน่ ก่อให้เกิดความร้อนขึ้นและกาลัง
อัดจะเพิ่มขึ้นในเวลาอันรวดเร็ ว
4.Type D Water-Reducing and Retarding Admixtures
สารผสมเพิม่ ประเภทนี้ มีคุณสมบัติลดน้ าที่ใช้ในการผสม
คอนกรี ต และขณะเดียวกันจะหน่วงปฏิกิริยา Hydration ด้วย
สารผสมเพิ่มเหล่านี้ได้แก่ เกลือของกรด LSN หรื อเกลือของกรด
HCA ซึ่งมีคุณสมบัติในการลดน้ าและหน่วงปฏิกิริยาด้วย
5.Type E Water Reducing and Accelerating Admixtures
สารผสมเพิ่มประเภทนี้มีคุณสมบัติในการลดน้ าที่ใช้ในการผสม
คอนกรี ต และขณะเดียวกันจะเร่ งปฏิกิริยา Hydration ด้วย
6.Type F High Range Water Reducing Admixtures
เป็ นสารผสมเพิ่มชนิดลดน้ าปริ มาณมาก โดยสามารถลดปริ มาณน้ า
ในการผสมคอนกรี ตลงได้ ~ 15% - 30% ทาให้คอนกรี ตมีกาลังเพิ่มขึ้น
~ 20% - 40% แต่ระยะเวลาการก่อตัวและแข็งตัวเร็ วมาก (30 - 60 นาที)
ดังนั้นจะต้องวางแผนงานในการเทและแต่งผิวให้ทนั เวลา
7.Type G High Range Water Reducing and Retarding Admixtures
เป็ นสารผสมเพิ่มเช่นเดียวกับ Type F แต่มีคุณสมบัติในการหน่วง
ปฏิกิริยา Hydration ด้วย เป็ นสารเคมีประเภท naphthalene sulphonate
สารประกอบแร่ ธาตุผสมเพิม่ (Mineral Admixture) ASTM C 618
สารผสมเพิม่ ชนิดนี้มกั จะเป็ นผงละเอียด ซึ่งใส่ รวมใน
คอนกรี ต เพื่อปรับปรุ งความสามารถในการใช้งานคอนกรี ต
เหลวและเพิม่ ความทนทานของคอนกรี ตที่แข็งตัวแล้ว มีดงั นี้
1.วัสดุทมี่ ีความไวต่ อปฏิกริ ิยาต่าหรือวัสดุเฉื่อย
สารผสมเพิ่มชนิดนี้ใช้เพื่อช่วยเพิ่มความสามารถในการเทได้
ของคอนกรี ตเหลว โดยเฉพาะในคอนกรี ตที่ขาดอนุภาคขนาดเล็ก
เช่น คอนกรี ตที่ทาจากทรายหยาบ หรื อที่มีปริ มาณซีเมนต์อยูน่ อ้ ย
2.วัสดุชนิด Pozzolana
Pozzolana คือ วัสดุประเภทซิลิกา้ ซึ่งสามารถทาปฎิกิริยากับ
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ และเกิดตัวเชื่อมประสานหรื อ Calcium
Silicate-Hydrate เพิ่มขึ้น
การใช้สาร Pozzolana มักจะมีผลทาให้กาลังอัดของคอนกรี ตต่าใน
ระยะแรก แต่กาลังจะสูงขึ้นเมื่อคอนกรี ตมีอายุมากขึ้นและจะสูงกว่า
คอนกรี ตธรรมดาที่อายุมากกว่า 28 วัน
อ้างอิง : http://www.thaicivil.tht.in/pagetemplateHTM24.html
สารผสมเพิม่ อืน่ ๆ
 สารป้องกันซึม (Waterproofing)
 สารช่ วยปั้มง่ ายขึน้ (Pumping Aids)
 สารอุดประสานสารลดปฏิกริ ิยาเคมีของปูนกับหิน
(Grouting Material)
 สารเพิม่ การขยายตัว (Alkali Aggregate Reducing)
 สารลดการกัดกร่ อนเหล็กเสริม (Corrosion Inhibitor)
 สารป้ องกันการเกิดเชื้อรา
 สารทาให้ เกิดฟองอากาศ (Gas Formers)
 สารเชื่อมประสาน(Bonding Agents)
สารผสมเพิม่ อืน่ ๆ
สารผสมเพิม่ ประเภทนี้ ผลิตขึ้นเพือ่ ใช้ในงานจาเพาะเจาะจงบางอย่าง เช่น
- สารป้ องกันซึม (Waterproofing)
ใช้ป้องกันการซึมของน้ าผ่านคอนกรี ตที่มีรูพรุ นมากส่ วนใหญ่ทามา
จากวัสดุประเภทสบู่หรื อน้ ามัน
- สารกันชื้น
เป็ นพวกกรดไขมันหรื อผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมปิ โตรเลียม
อาจจะทาให้น้ าไม่จบั ที่ผวิ คอนกรี ต แต่จะไม่สามารถทนน้ าที่มีแรงดัน
มากได้
สารผสมเพิม่ อืน่ ๆ (ต่ อ)
- สารเพิม่ การขยายตัว (Alkali Aggregate Reducing)
มีสารเคมีหลัก คือ Calcium Sulpho-Aluminate จะทาให้ซีเมนต์ธรรมดา
เป็ นแบบขยายตัว เพือ่ ใช้ทดแทนการหดตัวของคอนกรี ตในการก่อสร้าง
ทัว่ ๆไป
- สารลดการกัดกร่ อนเหล็กเสริม (Corrosion Inhibitor)
เป็ นเกลือของสารเคมีที่มีประจุที่เกิดออกไซด์ได้
- สารเชื่อมประสาน (Bonding Agents)
ส่ วนใหญ่ทามาจาก Polymer Latex ใช้เพิม่ เสริ มาการยึดเกาะตัวระหว่าง
คอนกรี ตเก่าและคอนกรี ตใหม่หรื อระหว่างคอนกรี ตกับเหล็กเสริ ม
สารผสมเพิม่ อืน่ ๆ (ต่ อ)
- สารอุดประสานหรือสารกรอกฉีด (Grouting Material)
ใช้ผสมกับปูนซีเมนต์ เพือ่ การฉี ดเข้าไปในซอกหรื อบริ เวณแคบๆ โดย
ป้ องกันการแยกตัว การเยิม้ รวมทั้งเพิม่ การยึดเกาะ เพือ่ ให้ปั๊มได้สะดวก
เหมาะที่จะนาไปใช้กบั งาน Stabilize ฐานราก อุดรอยร้าว อุดช่องว่างใน
งานคอนกรี ตอัดแรงระบบ Bonding เป็ นต้น
- สารช่ วยให้ ปั๊มง่ าย (Pumping Aids)
ช่วยให้คอนกรี ตยึดเกาะตัวกัน เคลื่อนผ่านท่อปั๊ มไปได้ถึง แม้วา่
คอนกรี ตนั้นจะมีปริ มาณซีเมนต์ต่า
ข้ อควรระวังในการใช้ งาน
1. สารผสมเพิ่มที่จะนามาใช้ควรคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน เช่น ของ
ประเทศไทยควรเป็ นไปตาม มอก. 733-2530 มีดงั นี้
 ผลของสารผสมเพิม่ ต่อคอนกรี ต
 อิทธิพลอื่นๆที่สารผสมเพิม่ มีต่อคอนกรี ตไม่วา่ จะเป็ นทาง
ที่เป็ นประโยชน์หรื อเป็ นผลเสี ย
 คุณสมบัติทางกายภาพของสารผสมเพิ่ม
 วิธีการเก็บและอายุการใช้งาน
 ผลเสี ยต่อผูใ้ ช้ท้ งั ระยะสั้นและระยะยาว
 PH
ข้ อควรระวังในการใช้ งาน
2. ควรใช้สารผสมเพิ่มในปริ มาณที่ผผู ้ ลิตแนะนาพร้อมกับตรวจดูผล
ว่าเป็ นไปตามที่ตอ้ งการหรื อไม่
3. ควรใช้วิธีการวัดปริ มาณสารผสมเพิ่มที่แน่นอน ซึ่งสาคัญมากใน
กรณี ของสารกักกระจายฟองอากาศและสารผสมเพิม่ เคมี
4. ผลของสารผสมเพิ่มต่อคุณสมบัติอื่นๆ ของคอนกรี ตสารผสมเพิ่ม
ทัว่ ๆ ไป มักมีผลต่อคุณสมบัติของคอนกรี ตหลายอย่างพร้อมๆกัน
อ้างอิง : http://www.coe.or.th/e_engineers/knc_detail.php?id=31