สารผสมเพิ่ม - ภาค วิชา วิศวกรรม โยธา

Download Report

Transcript สารผสมเพิ่ม - ภาค วิชา วิศวกรรม โยธา

by
น.ส. อัมพิกา ภู่พนั ธ์ตระกูล
5110110703
Present
อาจารย์สทิ ธิชยั พิรยิ คุณธร
สารผสมเพิม่ หมายถึงสารที่ใส่ลงไปใน
ส่วนผสมคอนกรีต ไม่ว่าจะก่อนหรือในขณะผสม
เพือ่ ช่วยปรับปรุงให้คอนกรีตสดหรือคอนกรีตที่
แข็งตัวแล้ว ให้มีคุณสมบัติหรือคุณภาพตาม
วัตถุประสงค์ท่ีตอ้ งการ
คุณสมบัติและคุณภาพต่างๆ ที่สามารถปรับปรุงได้ มีดงั นี้
1. ลดปริมาณนา้ ที่ใช้ผสมคอนกรีตให้นอ้ ยลง
2. เร่งการแข็งตัว ทาให้คอนกรีตรับแรงได้เร็วกว่าปกติ
3. หน่วงการแข็งตัว ทาให้คอนกรีตแข็งตัวช้ากว่าปกติ
4. ทาให้คอนกรีตสดมีความเหลว ไหลลืน่ ดี สามารถเทลงแบบหล่อ
ได้ง่ายขึ้น
5. เพิม่ ปริมาณฟองอากาศในคอนกรีต
6. ลดการเยิ้มหรือคายนา้ ของคอนกรีตสด
7. ช่วยขับนา้ หรือป้องกันการไหลซึมของนา้ ผ่านคอนกรีต
8. ทาให้คอนกรีตมีความคงทนต่อซัลเฟต มากขึ้น
Air-entraining Admixtures for
Concrete (ASTM C 260)
สารผสมเพิม่ ประเภทนี้ใช้กนั มานานแล้วประมาณกว่า 60 ปี
โดยใช้กนั อย่างแพร่หลายในสหราชอาณาจักร
ประเภทของ
สารผสมเพิม่
สารผสมเพิม่ อืน่ ๆ
เป็ นสารผสมเพิ่มทีย่ งั ไม่มี
มาตรฐานรับรอง
แต่มีการผลิตออกมาใช้งาน
หลายชนิด
สารผสมเพิม่ ตามมาตรฐาน ASTM C 494
เป็ นสารผสมเพิม่ ประเภทสารเคมี เป็ นของเหลวละลายนา้
ได้
Air-entraining Admixtures for Concrete
(ASTM C 260)
สารผสมเพิ่มชนิดนี้ ในคอนกรีต ทาให้เกิดฟองอากาศขนาดเล็ก เส้นผ่าน
ศูนย์กลาง ~0.05 มม. กระจายไปในเนื้ อคอนกรีต ทาให้คอนกรีตมีความ
เหลวและไหลลื่น (Workability) เพิ่มขึน้ เทลงแบบหล่อได้ง่าย ช่วยให้
คอนกรีตไม่เป็ นโพรงมีความทนทานต่อสภาพอากาศเย็นจัดจนเป็ น
น้าแข็ง เช่น พืน้ ห้องเย็น (Cold storage) หรือคอนกรีตในประเทศหนาว
โดยฟองอากาศเล็กๆ เหล่านี้ ทาให้น้าในคอนกรีตสามารถขยายตัวได้ ไม่
เกิดแรงดันจนคอนกรีตแตกร้าวเสียหาย ควรหลีกเลีย่ งการใช้สารกัก
กระจายฟองอากาศในงานทีต
่ องการความเรี
ยบของผิวคอนกรีต
้
ดัชนีความคงทน
กาลังอัดมาตรฐาน
20
300
15
200
10
100
5
0
5
10
15
20
25
ปริมาณอากาศ(% โดยปริมาตร)
ผลของการกักกระจายฟองอากาศตอก
่ าลังและความคงทน
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อการกระจายฟองอากาศ
๑.วัสดุผสมคอนกรีตและสัดส่วนเพิม่
ส่วนละเอียด เช่น ทรายละเอียด ทีเ่ พิ่มขึ้นจะยับยัง้ การเกิดฟองอากาศ
ปริมาณของฟองอากาศจะเพิ่มขึ้นโดยลดขนาดของหิน
สัดส่วนของทราย ทรายทีไ่ ด้จากการบดหินจะยับยัง้ การเกิดฟองอากาศ
การใช้สว่ นผสมอืน่ ๆ ร่วมกับการกักกระจายฟองอากาศจะต้องทาอย่างระมัดระวัง
๒. การผสมและการจี้เขย่า ถ้าจี้เขย่ามากเกินไปจะส่งผลให้ปริมาณฟองอากาศลดลง
- คอนกรีตทีม่ ีความสามรถเทได้ตา่ มากจะก่อให้เกิดฟองอากาศได้ยากมากและปริมาณ
ฟองอากาศเพิ่มขึ้นเมื่อความสามารถในการเทได้ มากขึ้น
๓. สภาพแวดล้อม
- ปริมาตรฟองอากาศในคอนกรีตจะผกผันกับอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิสูงจาก 10oc เป็ น
32 oc ปริมาณฟองอากาศลดลงประมาณ 50 %
Type A Water
Reducing
Admixtures
Type B
Retarding
Admixtures
ประเภทสารผสม
เพิ่มตามมาตรฐาน
ASTM C 494
Type G High
Range Water
Reducing and
Retarding
Admixtures
Type F High
Range Water
Reducing
Admixtures
Type C
Accelerating
Admixtures
Type D WaterReducing
and Retarding
Admixtures
Type E Water
Reducing and
Accelerating
Admixtures
Type A Water Reducing Admixtures
ใช้สาหรับลดปริมาณน้าในการผสมคอนกรีต โดยความข้นเหลวยังคง
เดิม มีผลให้คอนกรีตแข็งแรงเพิ่มขึน้ กลับกันถ้าให้ปริมาณน้าคงเดิม
จะมีผลให้คอนกรีตสดมีความข้นเหลวเพิ่มขึน้ ทาให้การเทคอนกรีต
ลงแบบได้ดีขึน้ เพื่อ
1. เพื่อให้ได้กาลังคอนกรีตเพิ่มขึน
้ จากการลด w/c ratio
2. เพิ่มความข้นเหลวแก่คอนกรีตสด ทาให้การเท การหล่อคอนกรีต
ง่ายขึน้
3. ลดปริมาณการใช้ปน
ู ซีเมนต์ เนื่ องจากเราสามารถเพิ่มปริมาณ
หิน-ทรายได้ โดยความข้นเหลวยังคงเดิม
สารผสมเพิ่มนี้ ทาให้ลดการใช้น้าลง ~ 5% - 15% กาลังคอนกรีต
เพิ่มขึน้ ~ 10%-20% ส่วนใหญ่ผลิตจากกรดหรือเกลือ
Lignosulphonic (LSN) หรือ เป็ นเกลือของกรด Hydroxylated
carboxylic acid (HCA)
ผิวหน้าที่นา้ เยิ้มขึ้นมา
คอนกรีตที่ใช้ปริมาณนา้ มากเกินไป
นา้ ส่วนเกิน ถ้ามีมากเกินไปจะผลเสียต่อคอนกรีต คือ
๑.
เกิดการเยิ้มของนา้ ขึ้นมาที่ผวิ หน้ามาก
๒. เกิดการแยกตัว
๓.
กาลังอัดตา่ ลง
๔.
เกิดการหดตัว
๕.
ทาให้เกิดรูพรุน มีผลทาให้คอนกรีตขาดความทนทาน
Type B Retarding Admixtures
เป็ นสารผสมเพิม่ สาหรับใช้ หน่ วงปฏิกริ ิยา Hydration ทาให้ คอนกรีตสดก่ อตัวและ
แข็งตัวช้ าลง จุดประสงค์ เพือ่
1. สาหรับงานเทคอนกรีตในสภาพอากาศร้ อน
2. ต้ องส่ งคอนกรีตผสมเสร็จไปยังงานก่ อสร้ างทีอ่ ยู่ไกล หรือต้ องใช้ เวลานานในการขนส่ ง
3. เทคอนกรีตปริมาณมากๆ ซึ่งจะช่ วยลดความร้ อนจากปฏิกริ ิยา เพือ่ ให้ ความร้ อนมีเวลา
ระบายออกก่ อนคอนกรีตแข็งตัว หรือต้ องการให้ การเทคอนกรีตต่ อเนื่องเป็ นเนื้อเดียวกัน
4. สาหรับกรณีลาเลียงคอนกรีตด้ วยเครื่องปัมพ์
สารผสมเพิม่ เหล่ านีไ้ ด้ แก่ เกลือของกรด LSN หรือเกลือของกรด HCA ซึ่งสารเหล่ านีม้ ี
คุณสมบัติในการลดนา้ ด้ วย
ความรู้เพิม่ เติม..................
Concrete Pump
ปั๊มคอนกรีต คือ อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการลาเลียงคอนกรีตชนิดหนึ่ง โดยใน
ปัจจุบนั ได้ มบี ทบาทในการลาเลียงคอนกรีต โดยเข้ ามาทดแทนรถเข็น ลิฟท์
สายพานลาเลียงและวิธีการลาเลียงอืน่ ๆ ทั้งนีเ้ นื่องจากปั๊ มคอนกรีตสามารถ
ตอบสนองความต้ องในการเทคอนกรีตในทีส่ ู งหรือในทีท่ มี่ อี ุปสรรค ยาก
ต่ อการเทคอนกรีตโดยวิธีอนื่ รวมทั้งยังให้ ความสะดวกรวดเร็วในการเท
คอนกรีตเมือ่ เทียบกะวิธีอนื่ ด้ วย
Type C Accelerating Admixtures
เป็ นสารทีเ่ ร่ งปฏิกริ ิยา Hydration ทาให้ คอนกรีตสดแข็งตัวเร็วขึน้
จุดประสงค์ ของการให้ คอนกรีตแข็งตัวเร็วขึน้ เพือ่
1. สาหรับงานเร่ งด่ วน เพือ่ สามารถเปิ ดใช้ งานได้ ทันเวลา
2. สาหรับคอนกรีตทีต่ ้ องการถอดแบบเร็ว
3. สาหรับงานหล่ อคอนกรีตในประเทศทีม่ อี ุณหภูมติ ่า ซึ่งปฏิกริ ิยา Hydration
จะช้ ามาก
สารผสมเพิม่ ประเภทนี้ ได้ แก่ แคลเซียมคลอไรด์ อลูมเิ นียมคลอไรด์ โปตัสเซียม
คาร์ บอเนต โซเดียมฟลูออไรด์ โซเดียมอลูมเิ นต และโซเดียมซิลเิ กต
สารผสมเพิม่ ประเภทคลอไรด์ เป็ นสารผสมเพิม่ ทีห่ าง่ ายและราคาถูก ทาให้
คอนกรีตแข็งตัวเร็ว เพิม่ ความต้ านทานต่ อการขัดสี ส่ วนข้ อเสี ย คือ ลดความ
ต้ านทานต่ อการกัดกร่ อนของสารซัลเฟต ทาให้ คอนกรีตมีการหดตัวเพิ่มขึน้ และ
อาจทาให้ เหล็กเสริมเป็ นสนิมได้
Type D Water-Reducing and Retarding Admixtures
สารผสมเพิม่ ประเภทนี้ มีคุณสมบัติลดน้ าที่ใช้ในการผสม
คอนกรี ต และขณะเดียวกันจะหน่วงปฏิกิริยา Hydration
ด้วย
สารผสมเพิ่มเหล่านี้ได้แก่ เกลือของกรด LSN หรื อเกลือ
ของกรด HCA ซึ่งมีคุณสมบัติในการลดน้ าและหน่วง
ปฏิกิริยาด้วย
Type E Water Reducing and Accelerating
Admixtures
สารผสมเพิม่ ประเภทนี้ มีคุณสมบัตใิ นการ
ลดนา้ ที่ใช้ ในการผสมคอนกรีต และขณะเดียวกัน
จะเร่ งปฏิกริ ิยา Hydration ด้ วย
Type F High Range Water Reducing Admixtures (Super plasticizer)
เป็ นสารผสมเพิม่ ชนิดลดนา้ ปริมาณมาก โดยสามารถลดปริมาณนา้
ในการผสมคอนกรีตลงได้ ~ 15% - 30% ทาให้ คอนกรีตมีกาลังเพิม่ ขึน้ ~
20% - 40% แต่ ระยะเวลาการก่อตัวและแข็งตัวเร็วมาก (30 - 60 นาที) ดังนั้น
จะต้ องวางแผนงานในการเทและแต่ งผิวให้ ทนั เวลา
สารผสมเพิม่ ชนิดนี้ ได้ แก่ สารประกอบของเกลือ Sulphonated
melamine formaldehyde condensates หรือ สารประกอบของเกลือ
Sulphonated naphthalene formaldehyde condensates
Type G High Range Water Reducing and Retarding Admixtures
(Super plasticizer)
เป็ นสารผสมเพิม่ เช่ นเดียวกับ Type F แต่ มคี ุณสมบัตใิ นการ
หน่ วงปฏิกริ ิยา Hydration ด้ วย เป็ นสารเคมีประเภท naphthalene
sulphonate ปัจจุบันเป็ นทีน่ ิยมใช้ กนั อย่ างแพร่ หลาย โดยเฉพาะอย่างยิง่
ในงานคอนกรีตกาลังสู ง (HSC)
ความรูเ้ พิม่ เติม....
ศักยภาพของการใช้ MK ในงานซ่อมแซมและงานคอนกรีตกาลังสูง
สาหรับคอนกรีตผสม MK จากการศึกษานี้เมื่อเปรียบเทียบโดยพิจารณา W/B และปริมาณการ
แทนที่ การแทนที่ดว้ ยปริมาณ MK 20% ให้ผลดีที่สดุ ในด้านกาลังดังในรูปที่ 2 แต่เมื่อพิจารณาใน
ด้านความต้านทานการซึมผ่านของคลอไรด์ MK คอนกรีตทุกปริมาณการแทนที่ให้ค่าอยู่ในช่วงตา่ กว่า
ถึงตา่ มากซึง่ แสดงถึงประสิทธิภาพของ MK ในการปรับปรุงโครงสร้างภายในที่ทึบแน่นมากขึ้นเมื่อเทียบ
กับคอนกรีตผสมซิลกิ า้ ฟูมและคอนกรีตกาลังสูงซึง่ ใช้สารลดนา้ ปริมาณสูงตามเกณฑ์ปกติซงึ่ จัดอยู่ในระดับ
ปานกลาง และระดับสูง ดังจะเห็นได้จากภาพถ่ายซึง่ ไม่ปรากฏระดับการซึมของคลอไรด์ของ MK
คอนกรีตเมื่อเทียบกับคอนกรีตปกติดงั ในรูปที่ 2
เนื่องจากสารผสมเพิม่ ประเภท ASTM C 494 นีเ้ ป็ น
สารอินทรีย์เคมี จึงมีอายุการใช้ งาน ดังนั้น ผู้ทจี่ ะนาไปใช้ จึงควร
ตรวจสอบว่ าสารผสมเพิม่ นั้นหมดอายุหรือเสื่ อมคุณภาพหรือไม่ และ
ก่ อนใช้ งานจริงจะต้ องทดลองผสมดูปริมาณของสารผสมเพิม่ ทีใ่ ช้ ว่า
เหมาะสมเพียงไร
ตารางที่ 5.1 ข้อกาหนดของสารผสมเพิม่ ตามมาตรฐาน ASTM C 494
คุณสมบัติ
Type A
น้ ำ ร้อยละของปริมำณน้ ำ
ที่ควบคุม
สูงสุด
ระยะเวลาการก่อตัว
เทียบกับที่ควบคุม
การก่อตัวระยะต้น
อย่ำงน้อย (นำที)
แต่ไม่เกิน (นำที)
การก่อตัวระยะปลาย
อย่ำงน้อย (นำที)
แต่ไม่เกิน (นำที)
ความต้านแรงอัด
ร้อยละของที่ควบคุม
ไม่นอ้ ยกว่ำ
เมื่ออำยุ
1 วัน
Type B
Type of Chemical Admixtures
Type C
Type D
Type E
95
ช้ำลง 60
เร็วขึ้ น 60
หรือ
ช้ำลง 90
210
--เร็วขึ้ น 60 ช้ำลง 210
หรือ
ช้ำลง 90
Type F
Type G
95
95
88
88
เร็วขึ้ น 60
ช้ำลง 60
เร็วขึ้ น 60
--
ช้ำลง 60
210
210
210
เร็วขึ้ น 60
หรือ
ช้ำลง 90
210
เร็วขึ้ น 60
--
-ช้ำลง 210
เร็วขึ้ น 60
--
--เร็วขึ้ น 60 ช้ำลง 210
หรือ
ช้ำลง 90
--
--
--
--
--
140
125
3 วัน
110
90
125
110
125
125
125
7 วัน
110
90
100
110
110
115
115
28 วัน
110
90
100
110
110
110
110
ความต้านแรงดัด
ร้อยละของที่ควบคุม
ไม่นอ้ ยกว่ำ
เมื่ออำยุ
3 วัน
100
90
110
100
110
110
110
7 วัน
100
90
100
100
100
100
100
28 วัน
100
90
90
100
100
100
100
สารผสมเพิม่ ตามมาตรฐาน ASTM C 618
เป็ นสารผสมเพิม่ ประเภทแร่ธาตุ (Mineral Admixture) ชนิดหนึ่ง เป็ น
สารประกอบออกไซด์ของซิลกิ อน (SiO2) ซึง่ เป็ นขี้เถ้าที่เกิดจากการเผาเชื้อเพลิง เช่น เถ้า
ถ่านหิน เถ้าภูเขาไฟ หรือได้จากการเผาดินเหนียวหรือดินดาน สารผสมเพิม่ ชนิดนี้มีชอื่ เรียกว่า
Pozzolan วัสดุผสม ปอซโซลานจะทาปฏิกริ ิยากับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ที่อยู่ใน
ซีเมนต์เพสต์ เกิดเป็ นสารประกอบใหม่ที่มีคุณสมบัติในการเชือ่ มประสาน ดังสมการ
2C3S + 6H
2C2S + 4H
3Ca(OH)2 + 2SiO2
C3S2H3 + 3Ca(OH)2
C3S2H3 + Ca(OH)2
3CaO.2SiO2.3H2O
สารปอซโซลานถูกนามาใช้เป็ นสารผสมเพิม่ เพือ่ ลดความร้อนจากปฏิกริ ิยา
Hydration เนื่องจากเป็ นตัวหน่วงปฏิกริ ิยากับนา้ จึงทาให้ความร้อนออกมาน้อย กาลัง
ในช่วงต้นตา่ แต่กาลังในระยะหลังจะมากกว่าปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา นอกจากนี้ ยังมี
คุณสมบัติทนทานต่อการกัดกร่อนของสารซัลเฟตได้ดอี กี ด้วย
Gas
Forming
Admixtures
Silica Fume
or Microsilica
Non-Shrink
Admixture
สารผสมอืน่ ๆ
Floor
Hardener
Floor
Hardener
Pumping
Aid
Gas Forming Admixtures
เป็ นสารผสมเพิม่ ที่ทาให้เกิดฟองอากาศขนาดใหญ่ข้ นึ ในเนื้อ
คอนกรีต จุดประสงค์เพือ่ ผลิตคอนกรีตนา้ หนักเบา หรือคอนกรีตที่
เป็ นฉนวนความร้อน สารผสมเพิม่ ที่ใช้ได้แก่ ผงสังกะสี หรือ ผง
อลูมิเนียม ซึง่ จะให้กา๊ ซไฮโดรเจนเมื่อทาปฏิกริ ยิ ากับแคลเซียม
ไฮดรอกไซด์ในซีเมนต์เพสต์ ทาให้เกิดฟองอากาศขึ้นในเนื้อคอนกรีต
2 Al + 3Ca(OH)2
Al2O3 + 3CaO + 3H2
2 Zn + 3Ca(OH)2
Zn2O3 + 3CaO + 3H2
ซิลกิ ้ าฟูม หรือ ไมโครซิลกิ ้ า (Silica Fume or Micro-silica)
เป็ นสารผสมเพิม่ แบบแร่ ธาตุ (Mineral admixture) ได้ จากกระบวนการผลิต Silicon
metal หรือ Ferrosilicon alloy ลักษณะเป็ นผงมีความละเอียดสู งมาก ขนาดเล็กกว่ าปูนซิเมนต์
~ 70-100 เท่ า ผลของการใช้ สารผสมเพิม่ ชนิดนี้ คือ
1. ลดการเยิม้ (Bleeding) และการแยกตัว (Segregation) ของคอนกรีตสด
2.เพิม่ กาลังอัดของคอนกรีตทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
3.เพิม่ ความหนาแน่ นให้ คอนกรีต ทาให้ คอนกรีตมีความทนทานมากขึน้ และเพิม่ ความทึบนา้
ของคอนกรีต
ผู้ใช้ สามารถใช้ สารผสมเพิม่ ซิลกิ ้าฟูมผสมคอนกรีตได้ 2 ลักษณะ คือ
1. ใช้ ซิลกิ ้าฟูมในลักษณะทีเ่ ป็ นของแข็งใส่ ลงไปในขณะทีผ่ สมคอนกรีต
2.ใช้ ซิลกิ ้าฟูมในลักษณะทีเ่ ป็ นของเหลว โดยนาไปละลายกับนา้ ทีใ่ ช้ ผสมคอนกรีต
ในอัตราส่ วน 50 : 50 ปริมาณการใช้ ซิลกิ ้าฟูมอยู่ระหว่ าง 7 - 10 % โดยนา้ หนักของปูนซีเมนต์
ซิลกิ ้ าฟูมสาเร็จรูป
ซิ ลิกา้ ฟูม
ข้ อควรระวังในการใช้ สารผสมเพิม่ ซิลกิ ้ าฟูม
1.คอนกรีตทีใ่ ส่ สารผสมเพิม่ ซิลกิ ้ าฟูม จะสู ญเสี ยความสามารถเทได้ ไปมาก ดังนั้น
จึงจาเป็ นทีจ่ ะต้ องใช้ ควบคู่กบั สารผสมเพิม่ Super plasticizer เพือ่ เพิม่ ความข้ น
เหลวของคอนกรีตสด
2.คอนกรีตทีใ่ ส่ สารผสมเพิม่ ซิลกิ ้ าฟูม มีแนวโน้ มจะเกิดการแตกร้ าวเนื่องจากการ
หดตัวมากกว่ าคอนกรีตปกติ ดังนั้นจึงควรหาวิธีป้องกัน ด้ วยการใช้ เส้ นใย
บางอย่ าง เช่ น Polypropylene, PP หรือ ใยเหล็ก (Steel fibers) ซึ่งจะช่ วยให้
คอนกรีตมีความต้ านทานต่ อแรงดึงดีขนึ้ ลดการแตกร้ าวเนื่องจาก Plastic
shrinkage ได้
3. สารกันซึม (Water Proofing Admixture) เป็ นสารผสมเพิม่ ทีช่ ่ วยให้ คอนกรีตมี
ความทึบนา้ ป้ องกันการไหลซึมของนา้ ผ่ านคอนกรีต เหมาะสาหรับงานโครงสร้ าง
คอนกรีตกักเก็บนา้ หรือป้ องกันนา้ เช่ น ถังเก็บนา้ สระนา้ อุโมงค์ ห้ องใต้ ดนิ
ดาดฟ้า ฯลฯ
สารไม่ หดตัว (Non-Shrink Admixture)
เป็ นสารผสมเพิม่ ทีใ่ ช้ เพือ่ ลดการหดตัวของซีเมนต์
เพสต์ ส่ วนใหญ่ ใช้ เป็ นวัสดุอุดช่ องว่ างเรียกว่ า Nonshrink grouting materials ตัวอย่ างเช่ น
ใช้ อดั หรือฉีดเข้ าในรอยร้ าวของเนือ้ หินใต้ ฐานเขือ่ น
ใช้ อุดซ่ อมรู โพรงในเนือ้ คอนกรีต
ใช้ อุดช่ องว่ างระหว่ างฐานคอนกรีตกับแท่ นเครื่องจักร
ใช้ อุดรู ยดึ น๊ อตเครื่องจักรกับฐานคอนกรีต
สารเพิม่ ความแข็งให้ ผวิ คอนกรีต (Floor Hardener)
เป็ นสารทีใ่ ช้ โรยบนผิวหน้ าคอนกรีตสดในขั้นตอนทีท่ า
การแต่ งผิวหน้ าเพือ่ ให้ ผวิ หน้ าคอนกรีตมีความแข็งต่ อการ
ขัดสี จากการใช้ งานหนัก เหมาะสาหรับพืน้ คอนกรี ต
โรงงาน โรงซ่ อมเครื่องจักร คลังสิ นค้ า ฯลฯ
สารเพิม่ ความแข็งให้ ผวิ คอนกรีต (Floor Hardener)
เป็ นสารผสมเพิม่ ทีช่ ่ วยให้ การยึดเกาะระหว่ างคอนกรีต
เก่ าและคอนกรีตใหม่ หรือระหว่ างคอนกรีตกับเหล็ก
เสริม หรือระหว่ างคอนกรีตเก่ ากับคอนกรีตเก่ า สารชนิด
นีส้ ่ วนใหญ่ ทามาจาก Polymer latex
สารช่ วยการลาเลียงคอนกรีตด้ วยปั๊ม (Pumping Aid)
เป็ นสารผสมเพิม่ ทีช่ ่ วยให้ คอนกรีตสด ไหลผ่ านเครื่อง
ปั๊มและท่ อส่ งได้ ง่ายและไม่ เกิดการแยกตัวของซีเมนต์
เพสต์ สารชนิดนีจ้ ะมีลกั ษณะเป็ นผงที่ละลายนา้ ได้
เป็ นสารทีเ่ รียกว่ า polyethylene oxide polymer
ข้ อควรระวังในการใช้ สารผสมเพิม่
ได้ แก่
1 สามารถปรับปรุงส่ วนผสมคอนกรีตธรรมดาให้ ได้
คุณสมบัตติ ามทีต่ ้ องการได้ หรือไม่
2 สามารถใช้ ปูนซีเมนต์ พเิ ศษทีผ่ ลิตขายในท้ องตลาดมาผลิต
คอนกรีตเพือ่ ให้ ได้ คุณสมบัตติ ามที่ต้องการได้ หรือไม่
กรณีทจี่ าเป็ นต้ องใช้ สารผสมเพิม่ ช่ วยปรับปรุ งคุณสมบัติ
ของคอนกรีต ผู้ใช้ จะต้ องเตรียมการต่ างๆ ดังต่ อไปนี้
1. ศึกษาคู่มือทีผ่ ู้ผลิตแนะนาวิธีการใช้ เพือ่ ทราบผลข้ างเคียง
จากการใช้ สารผสมเพิม่ นั้น
2. ตรวจสอบว่ าสารผสมเพิม่ นั้นเสื่ อมคุณภาพหรือหมดอายุ
ใช้ งานหรือไม่
3. ปริมาณหรือความเข้ มข้ นของสารผสมเพิม่ ที่ใช้ ในการ
ผสมคอนกรีต
4. ทดลองทาการผสมคอนกรีตและหาสั ดส่ วนที่เหมาะสม
เพือ่ ให้ ได้ คอนกรีตทีม่ ีคุณสมบัตติ ามวัตถุประสงค์ ที่ต้องการ
อ่างอิง
http://www.rdi.ku.ac.th/Techno_ku60/res83/index83.html : สุวิมล สัจจวาณิชย์ เจริญวุฒิ ปั ญญานุสรณ์กจิ และ จิรวัฒน์ สุวรรณพฤกษ์
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
http://www.highpump.co.th/index.php?lay=show&ac
=article&Ntype=4&Id=539007271 ข้อมูลจากศูนย์วิชาการคอนกรีตซีแพค
http://www.ce.eng.psu.ac.th/civil/filedownload_Sitich
ai.php
เอกสารสาหรับ นักศึกษา . อาจารย์ สิทธิชยั พิรยิ คุณธร ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์